คำพิพากษาที่เกี่ยวข้องกับผู้พิพากษา
ไฉน บุญยก

พบผลลัพธ์ทั้งหมด 713 รายการ

คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 1862-1863/2512 เวอร์ชัน 2 คำพิพากษาฎีกานี้ มีเนื้อหาจากเว็บทางการหลายรูปแบบ

ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้ เจตนาในการกระทำความผิดทางอาญา: การครอบครองที่ดินโดยสุจริตและพฤติการณ์ที่ทำให้เข้าใจผิด
จำเลยได้ครอบครองที่พิพาทถึง 30 ปี ได้เสียภาษีบำรุงท้องที่และได้รับ น.ส.3. ต่อมาทางราชการได้รังวัดปักหลักเขตทำเลเลี้ยงสัตว์สาธารณะ จำเลยได้ฟ้องเจ้าพนักงานเป็นคดีแพ่ง เมื่อทำสัญญาประนีประนอมยอมความกัน จำเลยยอมรับว่าที่พิพาทเป็นที่สาธารณประโยชน์ และฝ่ายเจ้าพนักงานยินยอมให้จำเลยครอบครองที่พิพาทไปก่อน โดยจะดำเนินการให้ทางราชการถอนสภาพที่พิพาทนั้น เปิดโอกาสให้จำเลยจับจองครอบครองที่พิพาท แม้จะยังมิได้มีพระราชกฤษฎีกาให้เพิกถอนที่ดินดังกล่าวก็ตาม ก็เป็นพฤติการณ์ที่ทำให้จำเลยเข้าใจโดยสุจริตว่าจำเลยเข้าครอบครองโดยชอบ หาได้จงใจฝ่าฝืนกฎหมายไม่ จึงขาดเจตนาอันเป็นองค์ประกอบความผิดทางอาญา จำเลยไม่มีความผิด (อ้างฎีกาที่ 1462/2509)

คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 1862-1863/2512 เวอร์ชัน 3 คำพิพากษาฎีกานี้ มีเนื้อหาจากเว็บทางการหลายรูปแบบ

ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้ การครอบครองที่ดินสาธารณประโยชน์โดยสุจริตและต่อเนื่อง ย่อมไม่มีความผิดอาญา
จำเลยได้ครอบครองที่พิพาทถึง 30 ปี ได้เสียภาษีบำรุงท้องที่และได้รับ น.ส.3 ต่อมาทางราชการได้รังวัดปักหลักเขตทำเลเลี้ยงสัตว์สาธารณะ จำเลยได้ฟ้องเจ้าพนักงานเป็นคดีแพ่ง เมื่อทำสัญญาประนีประนอมยอมความกัน จำเลยยอมรับว่าที่พิพาทเป็นที่สาธารณประโยชน์ และฝ่ายเจ้าพนักงานยินยอมให้จำเลยครอบครองที่พิพาทไปก่อน โดยจะดำเนินการให้ทางราชการถอนสภาพที่พิพาทนั้น เปิดโอกาสให้จำเลยจับจองครอบครองที่พิพาท แม้จะยังมิได้มีพระราชกฤษฎีกาให้เพิกถอนที่ดินดังกล่าวก็ตาม ก็เป็นพฤติการณ์ที่ทำให้จำเลยเข้าใจโดยสุจริตว่าจำเลยเข้าครอบครองโดยชอบ หาได้จงใจฝ่าฝืนกฎหมายไม่ จึงขาดเจตนาอันเป็นองค์ประกอบความผิดทางอาญา จำเลยไม่มีความผิด (อ้างฎีกาที่ 1462/2507)

คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 1862-1863/2512

ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้ เจตนาในการครอบครองที่ดินสาธารณประโยชน์ หากเข้าใจโดยสุจริต ย่อมไม่มีความผิดทางอาญา
จำเลยได้ครอบครองที่พิพาทถึง 30 ปี ได้เสียภาษีบำรุงท้องที่และได้รับ น.ส.3. ต่อมาทางราชการได้รังวัดปักหลักเขตทำเลเลี้ยงสัตว์สาธารณะ. จำเลยได้ฟ้องเจ้าพนักงานเป็นคดีแพ่ง. เมื่อทำสัญญาประนีประนอมยอมความกัน จำเลยยอมรับว่าที่พิพาทเป็นที่สาธารณประโยชน์ และฝ่ายเจ้าพนักงานยินยอมให้จำเลยครอบครองที่พิพาทไปก่อน. โดยจะดำเนินการให้ทางราชการถอนสภาพที่พิพาทนั้น เปิดโอกาสให้จำเลยจับจองครอบครองที่พิพาท. แม้จะยังมิได้มีพระราชกฤษฎีกาให้เพิกถอนที่ดินดังกล่าวก็ตาม.ก็เป็นพฤติการณ์ที่ทำให้จำเลยเข้าใจโดยสุจริตว่าจำเลยเข้าครอบครองโดยชอบ หาได้จงใจฝ่าฝืนกฎหมายไม่. จึงขาดเจตนาอันเป็นองค์ประกอบความผิดทางอาญา. จำเลยไม่มีความผิด.(อ้างฎีกาที่ 1462/2509).

คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 1805/2512 เวอร์ชัน 3 คำพิพากษาฎีกานี้ มีเนื้อหาจากเว็บทางการหลายรูปแบบ

ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้ การสมคบกันยอมความเพื่อฉ้อโกง และสิทธิในการนำสืบพยานเพื่อพิสูจน์ข้อเท็จจริง
โจทก์ฟ้องว่าจำเลยทั้งสองสมคบกันยอมความ โดยที่จำเลยที่ 1สมยอมยกที่พิพาทให้จำเลยที่ 2 ซึ่งประเด็นข้อนี้จำเลยที่ 2 ให้การปฏิเสธ ดังนี้ ข้อเท็จจริงยังไม่ยุติ โจทก์และจำเลยที่ 2 ชอบที่จะนำสืบตามประเด็นแห่งคดีให้สิ้นกระแสความได้

คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 1805/2512 เวอร์ชัน 2 คำพิพากษาฎีกานี้ มีเนื้อหาจากเว็บทางการหลายรูปแบบ

ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้ การสมคบกันยอมความเพื่อฉ้อโกง และสิทธิในการนำสืบพยานเพื่อพิสูจน์ข้อเท็จจริง
โจทก์ฟ้องว่าจำเลยทั้งสองสมคบกันยอมความ โดยจำเลยที่ 1 สมยอมยกที่พิพาทให้จำเลยที่ 2 ซึ่งประเด็นข้อนี้จำเลยที่ 2 ให้การปฏิเสธ ดังนี้ ข้อเท็จจริงยังไม่ยุติ โจทก์และจำเลยที่ 2 ชอบที่จะนำสืบตามประเด็นแห่งคดีให้สิ้นกระแสความได้

คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 1805/2512

ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้ การสมคบกันยอมความและการโอนที่ดินพิพาท โจทก์มีสิทธิขอให้ศาลสืบพยานเพื่อพิสูจน์ข้อเท็จจริงได้
โจทก์ฟ้องว่าจำเลยทั้งสองสมคบกันยอมความ โดยจำเลยที่ 1 สมยอมยกที่พิพาทให้จำเลยที่ 2 ซึ่งประเด็นข้อนี้จำเลยที่ 2 ให้การปฏิเสธ. ดังนี้ ข้อเท็จจริงยังไม่ยุติ. โจทก์และจำเลยที่ 2 ชอบที่จะนำสืบตามประเด็นแห่งคดีให้สิ้นกระแสความได้.

คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 1723/2512 เวอร์ชัน 3 คำพิพากษาฎีกานี้ มีเนื้อหาจากเว็บทางการหลายรูปแบบ

ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้ การย้ายโรงงานต้องขออนุญาตใหม่ แม้มีใบอนุญาตเดิมแล้ว การย้ายโดยไม่ได้รับอนุญาตเป็นความผิดตาม พ.ร.บ.โรงงาน
บุคคลใดได้รับอนุญาตให้ตั้งโรงงานตาม พ.ร.บ.โรงงาน พ.ศ. 2482 แล้ว หากประสงค์จะย้ายโรงงานนั้นไปสถานที่อื่น ก็ต้องขออนุญาตตั้งใหม่ จะใช้ใบอนุญาตตั้งโรงงานสำหรับสถานที่เก่าไม่ได้ มิฉะนั้นย่อมมีความผิด

คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 1723/2512 เวอร์ชัน 2 คำพิพากษาฎีกานี้ มีเนื้อหาจากเว็บทางการหลายรูปแบบ

ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้ การย้ายโรงงานต้องขออนุญาตใหม่ การใช้ใบอนุญาตเดิมสำหรับสถานที่ใหม่เป็นความผิดตาม พ.ร.บ.โรงงาน
บุคคลใดได้รับอนุญาตให้ตั้งโรงงานตามพระราชบัญญัติโรงงานพ.ศ.2482 แล้ว หากประสงค์จะย้ายโรงงานนั้นไปสถานที่อื่น ก็ต้องขออนุญาตตั้งใหม่ จะใช้ใบอนุญาตตั้งโรงงานสำหรับสถานที่เก่าไม่ได้ มิฉะนั้นย่อมมีความผิด

คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 1723/2512

ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้ การย้ายโรงงานต้องขออนุญาตใหม่ การใช้ใบอนุญาตเดิมสำหรับสถานที่ใหม่เป็นความผิดตาม พ.ร.บ.โรงงาน
บุคคลใดได้รับอนุญาตให้ตั้งโรงงานตามพระราชบัญญัติโรงงาน พ.ศ.2482 แล้ว. หากประสงค์จะย้ายโรงงานนั้นไปสถานที่อื่น ก็ต้องขออนุญาตตั้งใหม่. จะใช้ใบอนุญาตตั้งโรงงานสำหรับสถานที่เก่าไม่ได้ มิฉะนั้นย่อมมีความผิด.

คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 1720/2512 เวอร์ชัน 2 คำพิพากษาฎีกานี้ มีเนื้อหาจากเว็บทางการหลายรูปแบบ

ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้ เช็คขีดคร่อม ผู้เสียหายมีอำนาจร้องทุกข์ แม้ธนาคารปฏิเสธจ่ายเงินเนื่องจากเงินในบัญชีไม่พอ
เช็คขีดคร่อมที่ผู้ทรงจะต้องนำเข้าบัญชีที่ตนมีบัญชีฝากเงินในธนาคาร เพื่อเรียกเก็บเงินนั้น เป็นทางปฏิบัติของธนาคารอันเป็นรายละเอียด เมื่อผู้ทรงนำเช็คขึ้นเงินและธนาคารได้ปฏิเสธการจ่ายเงินเช็คพิพาท เพราะจำเลยผู้สั่งจ่ายมีเงินฝากในบัญชีน้อยกว่าจำนวนเงินที่จำเลยสั่งจ่ายในเช็คพิพาท ก็ถือเป็นความผิดตามพระราชบัญญัติว่าด้วยความผิดอันเกิดจากการใช้เช็คฯ แล้ว
จำเลยได้ออกเช็คพิพาทให้ผู้มีชื่อ เพื่อใช้หนี้เงินยืม ผู้มีชื่อจึงเป็นผู้ทรงเช็คพิพาทตามกฎหมาย การที่ผู้มีชื่อนำเช็คพิพาทไปรับเงินจากธนาคาร ธนาคารปฏิเสธการจ่ายเงินตามเช็คนั้น ผู้มีชื่อที่รับเช็คไว้นั้นจึงเป็นผู้เสียหายตามกฎหมายและมีอำนาจร้องทุกข์ต่อพนักงานสอบสวน
of 72