พบผลลัพธ์ทั้งหมด 713 รายการ
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 1720/2512 เวอร์ชัน 3 คำพิพากษาฎีกานี้ มีเนื้อหาจากเว็บทางการหลายรูปแบบ
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
เช็คขีดคร่อมปฏิเสธการจ่ายเงิน ธนาคารมีสิทธิปฏิเสธ ผู้ทรงเช็คเป็นผู้เสียหายมีอำนาจร้องทุกข์
เช็คขีดคร่อมที่ผู้ทรงจะต้องนำเข้าบัญชีที่ตนมีบัญชีฝากเงินในธนาคารเพื่อเรียกเก็บเงินนั้น เป็นทางปฏิบัติของธนาคารอันเป็นรายละเอียด เมื่อผู้ทรงนำเช็คขึ้นเงินและธนาคารได้ปฏิเสธการจ่ายเงินเช็คพิพาท เพราะจำเลยผู้สั่งจ่ายมีเงินฝากในบัญชีน้อยกว่าจำนวนเงินที่ จำเลยสั่งจ่ายในเช็คพิพาท ก็ถือเป็นความผิดตามพระราชบัญญัติว่าด้วยความผิดอันเกิดจากการใช้เช็ค ฯ แล้ว
จำเลยได้ออกเช็คพิพาทให้ผู้มีชื่อ เพื่อใช้หนี้เงินยืม ผู้มีชื่อจึงเป็นผู้ทรงเช็คพิพาทตามกฎหมายการที่ผู้มีชื่อนำเช็คพิพาทไปรับเงินจากธนาคาร ธนาคารปฏิเสธกรจ่าย เงินตามเช็คนั้นผู้มีชื่อที่รับเช็คไว้จึงเป็นผู้เสียหายตามกฎหมายและมีอำนาจร้องทุกข์ต่อพนักงานสอบสวน
จำเลยได้ออกเช็คพิพาทให้ผู้มีชื่อ เพื่อใช้หนี้เงินยืม ผู้มีชื่อจึงเป็นผู้ทรงเช็คพิพาทตามกฎหมายการที่ผู้มีชื่อนำเช็คพิพาทไปรับเงินจากธนาคาร ธนาคารปฏิเสธกรจ่าย เงินตามเช็คนั้นผู้มีชื่อที่รับเช็คไว้จึงเป็นผู้เสียหายตามกฎหมายและมีอำนาจร้องทุกข์ต่อพนักงานสอบสวน
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 1720/2512
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
เช็คขีดคร่อม & ผู้เสียหาย: การปฏิเสธจ่ายเช็คเนื่องจากเงินไม่พอ & สิทธิร้องทุกข์ของผู้ทรงเช็ค
เช็คขีดคร่อมที่ผู้ทรงจะต้องนำเข้าบัญชีที่ตนมีบัญชีฝากเงินในธนาคาร เพื่อเรียกเก็บเงินนั้น. เป็นทางปฏิบัติของธนาคารอันเป็นรายละเอียด. เมื่อผู้ทรงนำเช็คขึ้นเงินและธนาคารได้ปฏิเสธการจ่ายเงินเช็คพิพาท เพราะจำเลยผู้สั่งจ่ายมีเงินฝากในบัญชีน้อยกว่าจำนวนเงินที่จำเลยสั่งจ่ายในเช็คพิพาท. ก็ถือเป็นความผิดตามพระราชบัญญัติว่าด้วยความผิดอันเกิดจากการใช้เช็คฯ แล้ว.
จำเลยได้ออกเช็คพิพาทให้ผู้มีชื่อ เพื่อใช้หนี้เงินยืม. ผู้มีชื่อจึงเป็นผู้ทรงเช็คพิพาทตามกฎหมาย. การที่ผู้มีชื่อนำเช็คพิพาทไปรับเงินจากธนาคาร ธนาคารปฏิเสธการจ่ายเงินตามเช็คนั้น. ผู้มีชื่อที่รับเช็คไว้นั้นจึงเป็นผู้เสียหายตามกฎหมายและมีอำนาจร้องทุกข์ต่อพนักงานสอบสวน.
จำเลยได้ออกเช็คพิพาทให้ผู้มีชื่อ เพื่อใช้หนี้เงินยืม. ผู้มีชื่อจึงเป็นผู้ทรงเช็คพิพาทตามกฎหมาย. การที่ผู้มีชื่อนำเช็คพิพาทไปรับเงินจากธนาคาร ธนาคารปฏิเสธการจ่ายเงินตามเช็คนั้น. ผู้มีชื่อที่รับเช็คไว้นั้นจึงเป็นผู้เสียหายตามกฎหมายและมีอำนาจร้องทุกข์ต่อพนักงานสอบสวน.
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 1690/2512
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
สินค้าสำเร็จรูป-ไม่สำเร็จรูปตามประมวลรัษฎากร และอำนาจฟ้องกรณีอัตรากำไรมาตรฐาน
สินค้าสำเร็จรูปตามความหมายแห่งประมวลรัษฎากร มาตรา 77.หมายถึงสิ่งใดๆ ซึ่งอาจใช้อุปโภคหรือบริโภคได้ทันทีโดยไม่ต้องเอาสิ่งนั้นไปปรุงแต่งเปลี่ยนแปลงหรือผสมกับสิ่งใดอีก. การพิจารณาว่าสิ่งใดอาจใช้สอยได้ทันทีหรือไม่ต้องพิจารณาจากการใช้ในสภาพปกติ. เพราะวัตถุไม่สำเร็จรูปก็อาจใช้ได้ทันทีเหมือนกัน. หากเป็นการใช้ในสภาพของวัตถุไม่สำเร็จรูป โดยต้องมีการเปลี่ยนแปลงหรือผสมกับสิ่งอื่นเสียก่อนจนเปลี่ยนจากสภาพปกติหรือสภาพเดิม. ย่อมถือไม่ได้ว่าเป็นสินค้าสำเร็จรูป.
หัวน้ำหอม ซึ่งสั่งจากต่างประเทศเพื่อใช้แต่งกลิ่นวัตถุอื่น ตามสภาพไม่อาจใช้อุปโภคบริโภคได้ทันที. การใช้ทาผิวหนังเกิดโทษ อาจเป็นผื่นคันระคายแก่ผิวหนัง. การใช้อบวัตถุก็มีความระเหยเร็ว ไม่ได้ประโยชน์เท่าที่ควร.ดังนี้ย่อมไม่เป็นสินค้าสำเร็จรูป.
ชั้นชี้สองสถานศาลชั้นต้นกำหนดประเด็นว่า ในเรื่องอัตรากำไรมาตรฐาน. โจทก์ได้อุทธรณ์คัดค้านการประเมินต่อคณะกรรมการพิจารณาอุทธรณ์หรือไม่ โจทก์มีอำนาจฟ้องในประเด็นข้อนี้หรือไม่. แล้วมีคำสั่งว่าจำเลยให้การรับตามฟ้องของโจทก์แล้วว่า โจทก์ได้อุทธรณ์คัดค้านการประเมินแล้ว.โจทก์จึงมีอำนาจฟ้อง ยุติไม่ต้องสืบพยานในข้อนี้. คำสั่งศาลชั้นต้นดังกล่าวเป็นคำสั่งระหว่างพิจารณาตามประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความแพ่ง มาตรา 226. เพราะศาลชั้นต้นถือว่า จำเลยรับข้อเท็จจริงตามฟ้องไม่จำต้องสืบพยาน มิใช่คำสั่งชี้ขาดเบื้องต้นในปัญหาข้อกฎหมายตาม มาตรา 24ซึ่งอยู่ในบังคับแห่งมาตรา 228 ดังนั้นเมื่อจำเลยมิได้แถลงโต้แย้งไว้ย่อมไม่มีสิทธิยกประเด็นข้อนี้ขึ้นอุทธรณ์ฎีกา.
หัวน้ำหอมผสมโดยสภาพมีกลิ่นหอม นับได้ว่าเป็นเครื่องหอมชนิดหนึ่งจึงต้องใช้อัตรากำไรมาตรฐานคำนวณรายรับเพื่อเสียภาษีการค้าอย่างเดียวกับหัวน้ำหอมหรือเครื่องหอม ตามบัญชีอัตรากำไรมาตรฐานฯท้ายประกาศอธิบดีกรมสรรพากรเกี่ยวกับภาษีการค้าฉบับที่ 4 ซึ่งแก้ไขเพิ่มเติมโดยฉบับที่ 5 ข้อ 12.
หัวน้ำหอม ซึ่งสั่งจากต่างประเทศเพื่อใช้แต่งกลิ่นวัตถุอื่น ตามสภาพไม่อาจใช้อุปโภคบริโภคได้ทันที. การใช้ทาผิวหนังเกิดโทษ อาจเป็นผื่นคันระคายแก่ผิวหนัง. การใช้อบวัตถุก็มีความระเหยเร็ว ไม่ได้ประโยชน์เท่าที่ควร.ดังนี้ย่อมไม่เป็นสินค้าสำเร็จรูป.
ชั้นชี้สองสถานศาลชั้นต้นกำหนดประเด็นว่า ในเรื่องอัตรากำไรมาตรฐาน. โจทก์ได้อุทธรณ์คัดค้านการประเมินต่อคณะกรรมการพิจารณาอุทธรณ์หรือไม่ โจทก์มีอำนาจฟ้องในประเด็นข้อนี้หรือไม่. แล้วมีคำสั่งว่าจำเลยให้การรับตามฟ้องของโจทก์แล้วว่า โจทก์ได้อุทธรณ์คัดค้านการประเมินแล้ว.โจทก์จึงมีอำนาจฟ้อง ยุติไม่ต้องสืบพยานในข้อนี้. คำสั่งศาลชั้นต้นดังกล่าวเป็นคำสั่งระหว่างพิจารณาตามประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความแพ่ง มาตรา 226. เพราะศาลชั้นต้นถือว่า จำเลยรับข้อเท็จจริงตามฟ้องไม่จำต้องสืบพยาน มิใช่คำสั่งชี้ขาดเบื้องต้นในปัญหาข้อกฎหมายตาม มาตรา 24ซึ่งอยู่ในบังคับแห่งมาตรา 228 ดังนั้นเมื่อจำเลยมิได้แถลงโต้แย้งไว้ย่อมไม่มีสิทธิยกประเด็นข้อนี้ขึ้นอุทธรณ์ฎีกา.
หัวน้ำหอมผสมโดยสภาพมีกลิ่นหอม นับได้ว่าเป็นเครื่องหอมชนิดหนึ่งจึงต้องใช้อัตรากำไรมาตรฐานคำนวณรายรับเพื่อเสียภาษีการค้าอย่างเดียวกับหัวน้ำหอมหรือเครื่องหอม ตามบัญชีอัตรากำไรมาตรฐานฯท้ายประกาศอธิบดีกรมสรรพากรเกี่ยวกับภาษีการค้าฉบับที่ 4 ซึ่งแก้ไขเพิ่มเติมโดยฉบับที่ 5 ข้อ 12.
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 1690/2512 เวอร์ชัน 2 คำพิพากษาฎีกานี้ มีเนื้อหาจากเว็บทางการหลายรูปแบบ
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
สินค้าสำเร็จรูปตามประมวลรัษฎากร: หัวน้ำมันหอมผสมไม่ใช่สินค้าสำเร็จรูป แต่เป็นเครื่องหอมที่ต้องใช้อัตรากำไรมาตรฐาน
สินค้าสำเร็จรูปตามความหมายแห่งประมวลรัษฎากร มาตรา 77หมายถึงสิ่งใดๆ ซึ่งอาจใช้อุปโภคหรือบริโภคได้ทันทีโดยไม่ต้องเอาสิ่งนั้นไปปรุงแต่งเปลี่ยนแปลงหรือผสมกับสิ่งใดอีก การพิจารณาว่าสิ่งใดอาจใช้สอยได้ทันทีหรือไม่ต้องพิจารณาจากการใช้ในสภาพปกติ เพราะวัตถุไม่สำเร็จรูปก็อาจใช้ได้ทันทีเหมือนกัน หากเป็นการใช้ในสภาพของวัตถุไม่สำเร็จรูป โดยต้องมีการเปลี่ยนแปลงหรือผสมกับสิ่งอื่นเสียก่อนจนเปลี่ยนจากสภาพปกติหรือสภาพเดิม ย่อมถือไม่ได้ว่าเป็นสินค้าสำเร็จรูป
หัวน้ำหอม ซึ่งสั่งจากต่างประเทศเพื่อใช้แต่งกลิ่นวัตถุอื่น ตามสภาพไม่อาจใช้อุปโภคบริโภคได้ทันที การใช้ทาผิวหนังเกิดโทษ อาจเป็นผื่นคันระคายแก่ผิวหนัง การใช้อบวัตถุก็มีความระเหยเร็ว ไม่ได้ประโยชน์เท่าที่ควร ดังนี้ย่อมไม่เป็นสินค้าสำเร็จรูป
ชั้นชี้สองสถานศาลชั้นต้นกำหนดประเด็นว่า ในเรื่องอัตรากำไรมาตรฐาน โจทก์ได้อุทธรณ์คัดค้านการประเมินต่อคณะกรรมการพิจารณาอุทธรณ์หรือไม่ โจทก์มีอำนาจฟ้องในประเด็นข้อนี้หรือไม่ แล้วมีคำสั่งว่าจำเลยให้การรับตามฟ้องของโจทก์แล้วว่า โจทก์ได้อุทธรณ์คัดค้านการประเมินแล้ว โจทก์จึงมีอำนาจฟ้อง ยุติไม่ต้องสืบพยานในข้อนี้ คำสั่งศาลชั้นต้นดังกล่าวเป็นคำสั่งระหว่างพิจารณาตามประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความแพ่ง มาตรา 226 เพราะศาลชั้นต้นถือว่า จำเลยรับข้อเท็จจริงตามฟ้องไม่จำต้องสืบพยาน มิใช่คำสั่งชี้ขาดเบื้องต้นในปัญหาข้อกฎหมายตาม มาตรา 24 ซึ่งอยู่ในบังคับแห่งมาตรา 228 ดังนั้นเมื่อจำเลยมิได้แถลงโต้แย้งไว้ย่อมไม่มีสิทธิยกประเด็นข้อนี้ขึ้นอุทธรณ์ฎีกา
หัวน้ำหอมผสมโดยสภาพมีกลิ่นหอม นับได้ว่าเป็นเครื่องหอมชนิดหนึ่งจึงต้องใช้อัตรากำไรมาตรฐานคำนวณรายรับเพื่อเสียภาษีการค้าอย่างเดียวกับหัวน้ำหอมหรือเครื่องหอม ตามบัญชีอัตรากำไรมาตรฐานฯท้ายประกาศอธิบดีกรมสรรพากรเกี่ยวกับภาษีการค้าฉบับที่ 4 ซึ่งแก้ไขเพิ่มเติมโดยฉบับที่ 5 ข้อ 12
หัวน้ำหอม ซึ่งสั่งจากต่างประเทศเพื่อใช้แต่งกลิ่นวัตถุอื่น ตามสภาพไม่อาจใช้อุปโภคบริโภคได้ทันที การใช้ทาผิวหนังเกิดโทษ อาจเป็นผื่นคันระคายแก่ผิวหนัง การใช้อบวัตถุก็มีความระเหยเร็ว ไม่ได้ประโยชน์เท่าที่ควร ดังนี้ย่อมไม่เป็นสินค้าสำเร็จรูป
ชั้นชี้สองสถานศาลชั้นต้นกำหนดประเด็นว่า ในเรื่องอัตรากำไรมาตรฐาน โจทก์ได้อุทธรณ์คัดค้านการประเมินต่อคณะกรรมการพิจารณาอุทธรณ์หรือไม่ โจทก์มีอำนาจฟ้องในประเด็นข้อนี้หรือไม่ แล้วมีคำสั่งว่าจำเลยให้การรับตามฟ้องของโจทก์แล้วว่า โจทก์ได้อุทธรณ์คัดค้านการประเมินแล้ว โจทก์จึงมีอำนาจฟ้อง ยุติไม่ต้องสืบพยานในข้อนี้ คำสั่งศาลชั้นต้นดังกล่าวเป็นคำสั่งระหว่างพิจารณาตามประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความแพ่ง มาตรา 226 เพราะศาลชั้นต้นถือว่า จำเลยรับข้อเท็จจริงตามฟ้องไม่จำต้องสืบพยาน มิใช่คำสั่งชี้ขาดเบื้องต้นในปัญหาข้อกฎหมายตาม มาตรา 24 ซึ่งอยู่ในบังคับแห่งมาตรา 228 ดังนั้นเมื่อจำเลยมิได้แถลงโต้แย้งไว้ย่อมไม่มีสิทธิยกประเด็นข้อนี้ขึ้นอุทธรณ์ฎีกา
หัวน้ำหอมผสมโดยสภาพมีกลิ่นหอม นับได้ว่าเป็นเครื่องหอมชนิดหนึ่งจึงต้องใช้อัตรากำไรมาตรฐานคำนวณรายรับเพื่อเสียภาษีการค้าอย่างเดียวกับหัวน้ำหอมหรือเครื่องหอม ตามบัญชีอัตรากำไรมาตรฐานฯท้ายประกาศอธิบดีกรมสรรพากรเกี่ยวกับภาษีการค้าฉบับที่ 4 ซึ่งแก้ไขเพิ่มเติมโดยฉบับที่ 5 ข้อ 12
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 1686/2512
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
การตีความเจตนาการแบ่งที่ดิน ต้องพิจารณาสภาพที่ดินและเจตนาที่แท้จริงของผู้แบ่ง มากกว่าถ้อยคำที่ใช้
การตีความแสดงเจตนานั้น กฎหมายให้เพ่งเล็งถึงเจตนาอันแท้จริงยิ่งกว่าถ้อยคำสำนวนตามตัวอักษร. ในการแบ่งที่ดินระหว่างเจ้าของรวมซึ่งมีกรรมสิทธิ์คนละส่วนเท่าๆ กัน. แม้ฝ่ายหนึ่งจะตกลงให้อีกฝ่ายหนึ่งเลือกเอาก่อน โดยมิได้กำหนดวิธีการรังวัดแบ่งแยกไว้ชัดแจ้ง. ก็มิได้หมายความว่า ฝ่ายที่มีสิทธิเลือก จะเลือกชี้แบ่งเอาได้ตามใจชอบ.เมื่อมีปัญหาว่าจะแบ่งอย่างไรจึงจะถูกต้องตรงตามเจตนาศาลย่อมต้องพิเคราะห์ถึงสภาพของที่ดินประกอบ เพื่อหยั่งทราบถึงเจตนาอันแท้จริง.
โจทก์ 2 คนและจำเลยทำสัญญาประนีประนอมยอมความในศาลยอมแบ่งที่ดินกันคนละส่วนเท่าๆ กัน. ที่ดินนั้นด้านตะวันออกติดทะเล และด้านตะวันตกมีทางออก ทางทิศเหนือสุดมีบ้านจำเลยปลูกอยู่ และทิศใต้สุดมีบ้านโจทก์ที่ 1 ปลูกอยู่. โจทก์ที่ 1 ได้ส่วนแบ่งของตนไปแล้ว โดยได้ที่ดินด้านทิศใต้สุดยาวจากทิศตะวันออกไปตะวันตก. ส่วนที่เหลือ โจทก์ ที่ 2 แถลงต่อศาลว่า ให้จำเลยเลือกเอาก่อนตามสภาพของที่ดิน.หากแบ่งเป็นส่วนๆ เรียงต่อจากโจทก์ที่ 1 ยาวจากทิศตะวันออกไปตะวันตก ที่ดินจะมีทางออกและติดทะเลด้วยกันทุกแปลงหากแบ่งยาวจากทิศเหนือไปใต้ แปลงที่อยู่ติดทะเลจะถูกที่ดินผู้อื่นล้อมขนาบไม่มีทางออก. ย่อมเล็งเห็นเจตนาของโจทก์ที่ 2 ได้ว่า ประสงค์ให้แบ่งที่ดินเป็น 2 ส่วน ยาวจากทิศตะวันออกไปตะวันตกเรียงกันไป และติดทะเลด้วยกันทุกแปลง. แล้วให้จำเลยเลือกเอาก่อนแปลงใดแปลงหนึ่ง ซึ่งได้เดือดร้อนด้วยกันทุกฝ่าย. จำเลยจะเลือกแบ่งให้โจทก์ที่ 2 ได้ที่ดินด้านติดทะเลแต่ถูกล้อมขนาบไม่มีทางออกหาได้ไม่.
โจทก์ 2 คนและจำเลยทำสัญญาประนีประนอมยอมความในศาลยอมแบ่งที่ดินกันคนละส่วนเท่าๆ กัน. ที่ดินนั้นด้านตะวันออกติดทะเล และด้านตะวันตกมีทางออก ทางทิศเหนือสุดมีบ้านจำเลยปลูกอยู่ และทิศใต้สุดมีบ้านโจทก์ที่ 1 ปลูกอยู่. โจทก์ที่ 1 ได้ส่วนแบ่งของตนไปแล้ว โดยได้ที่ดินด้านทิศใต้สุดยาวจากทิศตะวันออกไปตะวันตก. ส่วนที่เหลือ โจทก์ ที่ 2 แถลงต่อศาลว่า ให้จำเลยเลือกเอาก่อนตามสภาพของที่ดิน.หากแบ่งเป็นส่วนๆ เรียงต่อจากโจทก์ที่ 1 ยาวจากทิศตะวันออกไปตะวันตก ที่ดินจะมีทางออกและติดทะเลด้วยกันทุกแปลงหากแบ่งยาวจากทิศเหนือไปใต้ แปลงที่อยู่ติดทะเลจะถูกที่ดินผู้อื่นล้อมขนาบไม่มีทางออก. ย่อมเล็งเห็นเจตนาของโจทก์ที่ 2 ได้ว่า ประสงค์ให้แบ่งที่ดินเป็น 2 ส่วน ยาวจากทิศตะวันออกไปตะวันตกเรียงกันไป และติดทะเลด้วยกันทุกแปลง. แล้วให้จำเลยเลือกเอาก่อนแปลงใดแปลงหนึ่ง ซึ่งได้เดือดร้อนด้วยกันทุกฝ่าย. จำเลยจะเลือกแบ่งให้โจทก์ที่ 2 ได้ที่ดินด้านติดทะเลแต่ถูกล้อมขนาบไม่มีทางออกหาได้ไม่.
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 1686/2512 เวอร์ชัน 3 คำพิพากษาฎีกานี้ มีเนื้อหาจากเว็บทางการหลายรูปแบบ
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
การตีความเจตนาแบ่งที่ดินต้องพิจารณาสภาพที่ดินและเจตนาของผู้แบ่งเพื่อให้เกิดประโยชน์สูงสุดแก่ทุกฝ่าย
การตีความแสดงเจตนานั้น กฎหมายให้เพ่งเล็งถึงเจตนาอันแท้จริงยิ่งกว่าถ้อยคำสำนวนตามตัวอักษร ในการแบ่งที่ดินระหว่างเจ้าของรวมซึ่งมีกรรมสิทธิ์คนละส่วนเท่า ๆ กัน แม้ฝ่ายหนึ่งจะตกลงให้อีกฝ่ายหนึ่งเลือกเอาก่อน โดยมิได้กำหนดวิธีการรังวัดแบ่งแยกไว้ชัดแจ้ง ก็มิได้หมายความว่า ฝ่ายที่มีสิทธิเลือก จะเลือกชี้แบ่งเอาได้ตามใจชอบ เมื่อมีปัญหาว่าจะแบ่งอย่างไรจึงจะถูกต้องตรงตามเจตนา ศาลย่อมต้องพิเคราะห์ถึงสภาพของที่ดินประกอบ เพื่อหยั่งทราบถึงเจตนาอันแท้จริง
โจทก์ 2 คนและจำเลยทำสัญญาประนีประนอมยอมความในศาลยอมแบ่งที่ดินกันคนละส่วนเท่า ๆ กัน ที่ดินนั้นด้านตะวันออกติดทะเล และด้านตะวันตกมีทางออก ทางทิศเหนือสุดมีบ้านจำเลยปลูกอยู่ และทิศใต้สุดมีบ้านโจทก์ที่ 1 ปลูกอยู่ โจทก์ที่ 1 ได้ส่วนแบ่งของตนไปแล้ว โดยได้ที่ดินด้านทิศใต้สุดยาวจากทิศตะวันออกไปตะวันตก ส่วนที่เหลือ โจทก์ที่ 2 แถลงต่อศาลว่า ให้จำเลยเลือกเอาก่อนตามสภาพของที่ดินหากแบ่งเป็นส่วน ๆ เรียกต่อจากโจทก์ที่ 1 ยาวจากทิศตะวันออกไปตะวันตก ที่ดินจะมีทางออกและติดทะเลด้วยกันทุกแปลง หากแบ่งยาวจากทิศเหนือไปใต้ แปลงที่อยู่ติดทะเลจะถูกที่ดินอื่นล้อมขนาบไม่มีทางออก ย่อมเล็งเห็นเจตนาของโจทก์ที่ 2 ได้ว่า ประสงค์ให้แบ่งที่ดินเป็น 2 ส่วน ยาวจะทิศตะวันออกไปตะวันตกเรียงกันไป และติดทะเลด้วยกันทุกแปลง แล้วให้จำเลยเลือกเอาก่อนแปลงใดแปลงหนึ่ง ซึ่งไม่เดือดร้อนด้วยกันทุกฝ่าย จำเลยจะเลือกแบ่งให้โจทก์ที่ 2 ได้ที่ดินด้านติดทะเลแต่ถูกล้อมขนาดไม่มีทางออกหาได้ไม่
โจทก์ 2 คนและจำเลยทำสัญญาประนีประนอมยอมความในศาลยอมแบ่งที่ดินกันคนละส่วนเท่า ๆ กัน ที่ดินนั้นด้านตะวันออกติดทะเล และด้านตะวันตกมีทางออก ทางทิศเหนือสุดมีบ้านจำเลยปลูกอยู่ และทิศใต้สุดมีบ้านโจทก์ที่ 1 ปลูกอยู่ โจทก์ที่ 1 ได้ส่วนแบ่งของตนไปแล้ว โดยได้ที่ดินด้านทิศใต้สุดยาวจากทิศตะวันออกไปตะวันตก ส่วนที่เหลือ โจทก์ที่ 2 แถลงต่อศาลว่า ให้จำเลยเลือกเอาก่อนตามสภาพของที่ดินหากแบ่งเป็นส่วน ๆ เรียกต่อจากโจทก์ที่ 1 ยาวจากทิศตะวันออกไปตะวันตก ที่ดินจะมีทางออกและติดทะเลด้วยกันทุกแปลง หากแบ่งยาวจากทิศเหนือไปใต้ แปลงที่อยู่ติดทะเลจะถูกที่ดินอื่นล้อมขนาบไม่มีทางออก ย่อมเล็งเห็นเจตนาของโจทก์ที่ 2 ได้ว่า ประสงค์ให้แบ่งที่ดินเป็น 2 ส่วน ยาวจะทิศตะวันออกไปตะวันตกเรียงกันไป และติดทะเลด้วยกันทุกแปลง แล้วให้จำเลยเลือกเอาก่อนแปลงใดแปลงหนึ่ง ซึ่งไม่เดือดร้อนด้วยกันทุกฝ่าย จำเลยจะเลือกแบ่งให้โจทก์ที่ 2 ได้ที่ดินด้านติดทะเลแต่ถูกล้อมขนาดไม่มีทางออกหาได้ไม่
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 1686/2512 เวอร์ชัน 2 คำพิพากษาฎีกานี้ มีเนื้อหาจากเว็บทางการหลายรูปแบบ
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
การตีความเจตนาตามสัญญาประนีประนอมยอมความ ต้องพิจารณาจากสภาพที่ดินและเจตนาอันแท้จริงของผู้ทำสัญญา
การตีความแสดงเจตนานั้น กฎหมายให้เพ่งเล็งถึงเจตนาอันแท้จริงยิ่งกว่าถ้อยคำสำนวนตามตัวอักษร ในการแบ่งที่ดินระหว่างเจ้าของรวมซึ่งมีกรรมสิทธิ์คนละส่วนเท่าๆ กัน แม้ฝ่ายหนึ่งจะตกลงให้อีกฝ่ายหนึ่งเลือกเอาก่อน โดยมิได้กำหนดวิธีการรังวัดแบ่งแยกไว้ชัดแจ้ง ก็มิได้หมายความว่า ฝ่ายที่มีสิทธิเลือก จะเลือกชี้แบ่งเอาได้ตามใจชอบเมื่อมีปัญหาว่าจะแบ่งอย่างไรจึงจะถูกต้องตรงตามเจตนาศาลย่อมต้องพิเคราะห์ถึงสภาพของที่ดินประกอบ เพื่อหยั่งทราบถึงเจตนาอันแท้จริง
โจทก์ 2 คนและจำเลยทำสัญญาประนีประนอมยอมความในศาลยอมแบ่งที่ดินกันคนละส่วนเท่าๆ กัน ที่ดินนั้นด้านตะวันออกติดทะเล และด้านตะวันตกมีทางออก ทางทิศเหนือสุดมีบ้านจำเลยปลูกอยู่ และทิศใต้สุดมีบ้านโจทก์ที่ 1 ปลูกอยู่ โจทก์ที่ 1 ได้ส่วนแบ่งของตนไปแล้ว โดยได้ที่ดินด้านทิศใต้สุดยาวจากทิศตะวันออกไปตะวันตก ส่วนที่เหลือ โจทก์ ที่ 2 แถลงต่อศาลว่า ให้จำเลยเลือกเอาก่อนตามสภาพของที่ดิน หากแบ่งเป็นส่วนๆ เรียงต่อจากโจทก์ที่ 1 ยาวจากทิศตะวันออกไปตะวันตก ที่ดินจะมีทางออกและติดทะเลด้วยกันทุกแปลงหากแบ่งยาวจากทิศเหนือไปใต้ แปลงที่อยู่ติดทะเลจะถูกที่ดินผู้อื่นล้อมขนาบไม่มีทางออก ย่อมเล็งเห็นเจตนาของโจทก์ที่ 2 ได้ว่า ประสงค์ให้แบ่งที่ดินเป็น 2 ส่วน ยาวจากทิศตะวันออกไปตะวันตกเรียงกันไป และติดทะเลด้วยกันทุกแปลง แล้วให้จำเลยเลือกเอาก่อนแปลงใดแปลงหนึ่ง ซึ่งได้เดือดร้อนด้วยกันทุกฝ่าย จำเลยจะเลือกแบ่งให้โจทก์ที่ 2 ได้ที่ดินด้านติดทะเลแต่ถูกล้อมขนาบไม่มีทางออกหาได้ไม่
โจทก์ 2 คนและจำเลยทำสัญญาประนีประนอมยอมความในศาลยอมแบ่งที่ดินกันคนละส่วนเท่าๆ กัน ที่ดินนั้นด้านตะวันออกติดทะเล และด้านตะวันตกมีทางออก ทางทิศเหนือสุดมีบ้านจำเลยปลูกอยู่ และทิศใต้สุดมีบ้านโจทก์ที่ 1 ปลูกอยู่ โจทก์ที่ 1 ได้ส่วนแบ่งของตนไปแล้ว โดยได้ที่ดินด้านทิศใต้สุดยาวจากทิศตะวันออกไปตะวันตก ส่วนที่เหลือ โจทก์ ที่ 2 แถลงต่อศาลว่า ให้จำเลยเลือกเอาก่อนตามสภาพของที่ดิน หากแบ่งเป็นส่วนๆ เรียงต่อจากโจทก์ที่ 1 ยาวจากทิศตะวันออกไปตะวันตก ที่ดินจะมีทางออกและติดทะเลด้วยกันทุกแปลงหากแบ่งยาวจากทิศเหนือไปใต้ แปลงที่อยู่ติดทะเลจะถูกที่ดินผู้อื่นล้อมขนาบไม่มีทางออก ย่อมเล็งเห็นเจตนาของโจทก์ที่ 2 ได้ว่า ประสงค์ให้แบ่งที่ดินเป็น 2 ส่วน ยาวจากทิศตะวันออกไปตะวันตกเรียงกันไป และติดทะเลด้วยกันทุกแปลง แล้วให้จำเลยเลือกเอาก่อนแปลงใดแปลงหนึ่ง ซึ่งได้เดือดร้อนด้วยกันทุกฝ่าย จำเลยจะเลือกแบ่งให้โจทก์ที่ 2 ได้ที่ดินด้านติดทะเลแต่ถูกล้อมขนาบไม่มีทางออกหาได้ไม่
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 1663-1664/2512
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
การลงชื่อในคำฟ้องอาญา: โจทก์ต้องลงชื่อเอง ทนายความลงแทนไม่ได้
คดีอาญานั้น ประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความอาญา มาตรา 158บัญญัติว่า'ฟ้องต้องทำเป็นหนังสือ และมี ฯลฯ (7)ลายมือชื่อโจทก์ผู้เรียง ผู้เขียนหรือพิมพ์ฟ้อง'. คำว่า'โจทก์'มีบทวิเคราะห์ศัพท์ตามประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความอาญามาตรา 2(14)ว่า หมายความถึงพนักงานอัยการหรือผู้เสียหายซึ่งฟ้องคดีอาญาต่อศาล หรือทั้งคู่ในเมื่อพนักงานอัยการและผู้เสียหายเป็นโจทก์ร่วมกัน. เมื่อโจทก์มิได้ลงชื่อในฟ้อง. มีแต่ทนายความของโจทก์เป็นผู้ลงชื่อในฐานะโจทก์. คำฟ้องโจทก์จึงไม่เป็นฟ้องที่ศาลจะพึงรับไว้พิจารณา.(อ้างฎีกาที่ 618/2490).
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 1663-1664/2512 เวอร์ชัน 2 คำพิพากษาฎีกานี้ มีเนื้อหาจากเว็บทางการหลายรูปแบบ
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
การลงชื่อในคำฟ้องอาญา: โจทก์ต้องลงชื่อเอง ทนายความลงแทนไม่ได้
คดีอาญานั้น ประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความอาญา มาตรา 158บัญญัติว่า "ฟ้องต้องทำเป็นหนังสือ และมี ฯลฯ (7)ลายมือชื่อโจทก์ผู้เรียง ผู้เขียนหรือพิมพ์ฟ้อง" คำว่า"โจทก์"มีบทวิเคราะห์ศัพท์ตามประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความอาญา มาตรา 2(14)ว่า หมายความถึงพนักงานอัยการหรือผู้เสียหายซึ่งฟ้องคดีอาญาต่อศาล หรือทั้งคู่ในเมื่อพนักงานอัยการและผู้เสียหายเป็นโจทก์ร่วมกัน เมื่อโจทก์มิได้ลงชื่อในฟ้อง มีแต่ทนายความของโจทก์เป็นผู้ลงชื่อในฐานะโจทก์ คำฟ้องโจทก์จึงไม่เป็นฟ้องที่ศาลจะพึงรับไว้พิจารณา(อ้างฎีกาที่ 618/2490)
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 1663-1664/2512 เวอร์ชัน 3 คำพิพากษาฎีกานี้ มีเนื้อหาจากเว็บทางการหลายรูปแบบ
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
การลงชื่อในคำฟ้องคดีอาญา: โจทก์ต้องลงชื่อเอง ทนายความลงแทนไม่ได้
คดีอาญานั้น ประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความอาญา มาตรา 158 บัญญัติว่า "ฟ้องต้องทำเป็นหนังสือ และมี ฯลฯ (7) ลายมือชื่อโจทก์ผู้เรียง ผู้เขียนหรือพิมพ์ฟ้อง" ค่าว่า "โจทก์" มีบทวิเคราะห์ศัพท์ตาม ประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความอาญา มาตรา 2(14) ว่า หมายความถึงพนักงานอัยการหรือผู้เสียหาย ซึ่งฟ้องคดีอาญาต่อศาล หรือทั้งคู่ในเมื่อพนักงานอัยการและผู้เสียหายเป็นโจทก์ร่วมกัน เมื่อโจทก์มิได้ลงชื่อในฟ้อง มีแต่ทนายความของโจทก์เป็นผู้ลงชื่อในฐานะโจทก์ คำฟ้องโจทก์จึงไม่เป็นฟ้องที่ศาลจะพึงรับไว้พิจารณา (อ้างฎีกา 618/2490)