พบผลลัพธ์ทั้งหมด 205 รายการ
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 1366/2508
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
การแบ่งทรัพย์สินระหว่างสามีภริยาที่ไม่จดทะเบียนสมรสเมื่อถูกยึดทรัพย์ชำระหนี้
แม้ผู้ร้องขัดทรัพย์จะร้องขอให้ปล่อยทรัพย์ที่โจทก์นำยึดทั้งหมด และแม้ศาลจะยกคำร้องขัดทรัพย์ แต่เมื่อศาลฟังว่าผู้ร้องเป็นภริยาจำเลยแต่ไม่ชอบด้วยกฎหมาย ศาลก็มีอำนาจวินิจฉัยว่าทรัพย์ที่โจทก์นำยึดเป็นของจำเลย และผู้ร้องคนละครึ่งได้ตามประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความแพ่ง มาตรา 142(2)
ในกรณีเช่นนี้ เมื่อเจ้าพนักงานบังคับคดีขายทรัพย์ที่ยึดแล้วก็หักเงินที่ขายให้แก่ผู้ร้องได้ครึ่งหนึ่ง
ในกรณีเช่นนี้ เมื่อเจ้าพนักงานบังคับคดีขายทรัพย์ที่ยึดแล้วก็หักเงินที่ขายให้แก่ผู้ร้องได้ครึ่งหนึ่ง
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 1354/2508 เวอร์ชัน 2 คำพิพากษาฎีกานี้ มีเนื้อหาจากเว็บทางการหลายรูปแบบ
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
ข้อจำกัดการอุทธรณ์ฎีกา, อายุความละเมิด, ความสามารถในการฟ้อง, และความรับผิดกรรมการสหกรณ์
ข้อเท็จจริงหรือข้อกฎหมายที่จะยกขึ้นอ้างอิงในฎีกา จะต้องกล่าวไว้โดยชัดแจ้งในฎีกา และต้องเป็นข้อที่ได้ยกขึ้นว่ากันมาแล้วในชั้นอุทธรณ์ มิฉะนั้นจะเป็นฎีกาที่ไม่ชอบด้วยกฎหมาย
สิทธิเรียกร้องค่าเสียหายอันเกิดแต่มูลละเมิดขาดอายุความเมื่อพ้นปีหนึงนับแต่วันที่ผู้ต้องเสียหายรู้ถึงการละเมิดและรู้ตัวผู้จะพึงต้องใช้ค่าสินไหมทดแทน ฯลฯผู้เสียหายมีสิทธิฟ้องผู้ละเมิดภายใน 1 ปีนับแต่วันรู้ถึงการละเมิดและรู้ตัวผู้จะพึงต้องใช้ค่าสินไหมทดแทน
เมื่อจำเลยมิได้คัดค้านการที่โจทก์ไม่มีหนังสืออนุญาตของสามีให้โจทก์ฟ้องคดีมาแสดงในระหว่างการพิจารณาของศาลชั้นต้น จำเลยจะอ้างเหตุที่โจทก์ไม่มีหนังสืออนุญาตดังกล่าวมาอุทธรณ์ฎีกาขอให้ยกฟ้องโจทก์มิได้ และจำเลยก็จะยกข้อบกพร่องของโจทก์เช่นนี้ขึ้นมาเป็นเหตุขอให้ยกฟ้องหาได้ไม่ นอกจากจะร้องขอให้ศาลสอบสวนและมีคำสั่งให้โจทก์แก้ไขข้อบกพร่องเสียให้บริบูรณ์เท่านั้น
ในชั้นพิจารณาของศาลฎีกา โจทก์ซึ่งเป็นหญิงมีสามีได้ยื่นหนังสืออนุญาตของสามีโจทก์ต่อศาล ศาลรับไว้ถือว่าโจทก์ได้แก้ไขข้อบกพร่องในเรื่องความสามารถของโจทก์แล้ว จำเลยจะอ้างว่าทำให้จำเลยเสียเปรียบไม่ได้
กรรมการสหกรณ์ลงมติให้กระทำการนอกขอบวัตถุประสงค์ของสหกรณ์ กรรมการก็ต้องรับผิดเป็นส่วนตัว
สิทธิเรียกร้องค่าเสียหายอันเกิดแต่มูลละเมิดขาดอายุความเมื่อพ้นปีหนึงนับแต่วันที่ผู้ต้องเสียหายรู้ถึงการละเมิดและรู้ตัวผู้จะพึงต้องใช้ค่าสินไหมทดแทน ฯลฯผู้เสียหายมีสิทธิฟ้องผู้ละเมิดภายใน 1 ปีนับแต่วันรู้ถึงการละเมิดและรู้ตัวผู้จะพึงต้องใช้ค่าสินไหมทดแทน
เมื่อจำเลยมิได้คัดค้านการที่โจทก์ไม่มีหนังสืออนุญาตของสามีให้โจทก์ฟ้องคดีมาแสดงในระหว่างการพิจารณาของศาลชั้นต้น จำเลยจะอ้างเหตุที่โจทก์ไม่มีหนังสืออนุญาตดังกล่าวมาอุทธรณ์ฎีกาขอให้ยกฟ้องโจทก์มิได้ และจำเลยก็จะยกข้อบกพร่องของโจทก์เช่นนี้ขึ้นมาเป็นเหตุขอให้ยกฟ้องหาได้ไม่ นอกจากจะร้องขอให้ศาลสอบสวนและมีคำสั่งให้โจทก์แก้ไขข้อบกพร่องเสียให้บริบูรณ์เท่านั้น
ในชั้นพิจารณาของศาลฎีกา โจทก์ซึ่งเป็นหญิงมีสามีได้ยื่นหนังสืออนุญาตของสามีโจทก์ต่อศาล ศาลรับไว้ถือว่าโจทก์ได้แก้ไขข้อบกพร่องในเรื่องความสามารถของโจทก์แล้ว จำเลยจะอ้างว่าทำให้จำเลยเสียเปรียบไม่ได้
กรรมการสหกรณ์ลงมติให้กระทำการนอกขอบวัตถุประสงค์ของสหกรณ์ กรรมการก็ต้องรับผิดเป็นส่วนตัว
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 1354/2508
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
การรับผิดของกรรมการสหกรณ์ที่ลงมติกระทำการนอกขอบวัตถุประสงค์ และประเด็นข้อจำกัดในการอ้างเหตุข้อบกพร่องของโจทก์ในชั้นฎีกา
ข้อเท็จจริงหรือข้อกฎหมายที่จะยกขึ้นอ้างอิงในฎีกา จะต้องกล่าวไว้โดยชัดแจ้งในฎีกา และต้องเป็นข้อที่ได้ยกขึ้นว่ากันมาแล้วในชั้นอุทธรณ์ มิฉะนั้นจะเป็นฎีกาที่ไม่ชอบด้วยกฎหมาย
สิทธิเรียกร้องค่าเสียหายอันเกิดแต่มูลละเมิดขาดอายุความเมื่อพ้นปีหนึ่งนับแต่วันที่ผู้ต้องเสียหายรู้ถึงการละเมิดและรู้ตัวผู้จะพึงต้องใช้ค่าสินไหมทดแทน ฯลฯ ผู้เสียหายมีสิทธิฟ้องผู้ทำละเมิดภายใน 1 ปีนับแต่วันรู้ถึงการละเมิดและรู้ตัวผู้จะพึงต้องใช้ค่าสินไหมทดแทน
เมื่อจำเลยมิได้คัดค้านการที่โจทก์ไม่มีหนังสืออนุญาตของสามีให้โจทก์ฟ้องคดีมาแสดงในระหว่างการพิจารณาของศาลชั้นต้น จำเลยจะอ้างเหตุที่โจทก์ไม่มีหนังสืออนุญาตดังกล่าวมาอุทธรณ์ฎีกาขอให้ยกฟ้องโจทก์มิได้ และจำเลยก็จะยกข้อบกพร่องของโจทก์เช่นนี้ขึ้นมาเป็นเหตุขอให้ยกฟ้องหาได้ไม่ นอกจากจะร้องขอให้ศาลสอบสวนและมีคำสั่งให้โจทก์แก้ไขข้อบกพร่องเสียให้บริบูรณ์เท่านั้น
ในชั้นพิจารณาของศาลฎีกา โจทก์ซึ่งเป็นหญิงมีสามีได้ยื่นหนังสืออนุญาตของสามีโจทก์ต่อศาล ศาลรับไว้ถือว่าโจทก์ได้แก้ไขข้อบกพร่องในเรื่องความสามารถของโจทก์แล้วจำเลยจะอ้างว่าทำให้จำเลยเสียเปรียบไม่ได้
กรรมการสหกรณ์ลงมติให้กระทำการนอกขอบวัตถุประสงค์ของสหกรณ์ กรรมการก็ต้องรับผิดเป็นส่วนตัว
สิทธิเรียกร้องค่าเสียหายอันเกิดแต่มูลละเมิดขาดอายุความเมื่อพ้นปีหนึ่งนับแต่วันที่ผู้ต้องเสียหายรู้ถึงการละเมิดและรู้ตัวผู้จะพึงต้องใช้ค่าสินไหมทดแทน ฯลฯ ผู้เสียหายมีสิทธิฟ้องผู้ทำละเมิดภายใน 1 ปีนับแต่วันรู้ถึงการละเมิดและรู้ตัวผู้จะพึงต้องใช้ค่าสินไหมทดแทน
เมื่อจำเลยมิได้คัดค้านการที่โจทก์ไม่มีหนังสืออนุญาตของสามีให้โจทก์ฟ้องคดีมาแสดงในระหว่างการพิจารณาของศาลชั้นต้น จำเลยจะอ้างเหตุที่โจทก์ไม่มีหนังสืออนุญาตดังกล่าวมาอุทธรณ์ฎีกาขอให้ยกฟ้องโจทก์มิได้ และจำเลยก็จะยกข้อบกพร่องของโจทก์เช่นนี้ขึ้นมาเป็นเหตุขอให้ยกฟ้องหาได้ไม่ นอกจากจะร้องขอให้ศาลสอบสวนและมีคำสั่งให้โจทก์แก้ไขข้อบกพร่องเสียให้บริบูรณ์เท่านั้น
ในชั้นพิจารณาของศาลฎีกา โจทก์ซึ่งเป็นหญิงมีสามีได้ยื่นหนังสืออนุญาตของสามีโจทก์ต่อศาล ศาลรับไว้ถือว่าโจทก์ได้แก้ไขข้อบกพร่องในเรื่องความสามารถของโจทก์แล้วจำเลยจะอ้างว่าทำให้จำเลยเสียเปรียบไม่ได้
กรรมการสหกรณ์ลงมติให้กระทำการนอกขอบวัตถุประสงค์ของสหกรณ์ กรรมการก็ต้องรับผิดเป็นส่วนตัว
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 1288/2508
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
การตีความคำว่า 'แซง' ใน พ.ร.บ.จราจรทางบก: การกระทำที่เบียดเสียดหรือเฉียดไป แม้จะเป็นการสวนกัน ก็อาจเข้าข่ายได้
ฟ้องกล่าวว่า จำเลยบังอาจขับรถแซงรถเมล์โดยฝ่าฝืนป้ายห้ามแซงของเจ้าพนักงานที่ติดตั้งไว้ เป็นเหตุให้ชนรถเมล์เสียหายและหมุดคอสะพานเสียหาย ทางพิจารณาได้ความว่าจำเลยขับรถสวนกับรถเมล์เหลืองแล้วเกิดชนกันเสียหาย ดังนี้ เมื่อตามพระราชบัญญัติจราจรทางบกฯ ไม่มีบทวิเคราะห์ศัพท์คำว่า "แซง" ไว้ ตามพจนานุกรมฉบับราชบัณฑิตยสถาน พ.ศ.2493 คำว่า "แซง" หมายความถึงกิริยาที่แทรกหรือเสียด ซึ่งหมายความว่า เบียดเข้าไป หรือเฉียดไป เมื่อไม่มีบทกฎหมายบัญญัติความหมายไว้เป็นพิเศษโดยเฉพาะ ก็ต้องตีความตามความหมายธรรมดาคือหมายถึงกิริยาแทรกหรือเสียดคือเบียดเข้าไปหรือเฉียดไป ตามฟ้องของโจทก์จึงมีความหมายไปในทางที่ว่า ขับรถเสียดหรือแทรกรถเมล์ได้ ซึ่งอาจจะเป็นไปในทางที่แล่นขึ้นหน้าหรือสวนกัน จะตีความหมายว่า แซง หมายถึงขับรถขึ้นหน้าแต่อย่างเดียวดังที่จำเลยโต้เถียงขึ้นมาหาได้ไม่และตามฟ้องที่บรรยายมาก็แสดงให้เห็นอยู่ว่า รถทั้งสองคันมุ่งหน้าไปคนละทางจะสวนกัน ข้อเท็จจริงในการพิจารณายังเรียกไม่ได้ว่าแตกต่างกับฟ้อง
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 1288/2508 เวอร์ชัน 2 คำพิพากษาฎีกานี้ มีเนื้อหาจากเว็บทางการหลายรูปแบบ
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
การตีความคำว่า "แซง" ในความหมายทั่วไปตามพจนานุกรม เมื่อไม่มีนิยามเฉพาะในกฎหมายจราจร
ฟ้องกล่าวว่า จำเลยบังอาจขับรถแซงรถเมล์โดยฝ่าฝืนป้ายห้ามแซงของเจ้าพนักงานที่ติดตั้งไ้ เป็นเหตุให้ชนรถเมล์เสียหาและหมุดคอสะพานเสียหาย ทางพิจารณาได้ความว่าจำเลยขับรถสวนกับรถเมล์เหลืองแล้วเกิดชนกันเสียหาย ดังนี้ เมื่อตามพระราชบัญญัติจราจรทางบก ฯ ไม่มีบทวิเคราะห์ศัพท์คำว่า "แซง" ไว้ ตามพจนานุกรมฉบับราชบัณฑิตยสถาน พ.ศ.2493 คำว่า "แซง" หมายความถึงกิริยาที่แทรกหรือเสียด ซึ่งหมายความว่า เบียดเข้าไป หรือเฉียดไป เมื่อไม่มีบทกฎหมายบัญญัติความหมายไว้เป็นพิเศษโดยเฉพาะ ก็ต้องตีความตามความหมายธรรมดา คือ หมายถึงกิริยาแทรกหรือเสียด คือ เบียดเข้าไปหรือ เฉียดไป ตามฟ้องของโจทก์จึงมีความหมายไปในทางที่ว่า ขับรถเสียดหรือแทรกรถเมล์ได้ ซึ่งอาจจะเป็นไปในทางที่แล่นขึ้นหน้าหรือสวนกัน จะตีความหมายว่า แซง หมายถึงขับรถขึ้นหน้าแต่อย่างเดียวดังที่จำเลยโต้เถียงขึ้นมาหาได้ไม่ และตามฟ้องที่บรรยายมาก็แสดงให้เห็นอยู่ว่า รถทั้งสองคันมุ่งหน้าไปคนละทางจะสวนกันข้อเท็จจริงในการพิจารณายังเรียกไม่ได้ว่าแตกต่างกับฟ้อง
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 1284/2508
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
นิติกรรมโมฆะ ไม่คืนสถานะเดิม สิทธิเรียกร้องต้องฟ้องต่างหาก
นิติกรรมที่เป็นโมฆะมาแต่ต้น กฎหมายหาได้บัญญัติถึงการให้คู่กรณีกลับคืนฐานะเดิมเหมือนเรื่องโมฆียะกรรมที่ถูกบอกล้างแล้วไม่ ฐานะของคู่กรณีแห่งนิติกรรมที่เป็นโมฆะมาแต่ต้นมิได้มีการเปลี่ยนแปลง คู่กรณีจะมีสิทธิเรียกร้องเกี่ยวกับทรัพย์อันเป็นวัตถุแห่งนิติกรรมหรือสัญญาอย่างใดเป็นเรื่องที่จะต้องพิจารณาตามลักษณะลาภมิควรได้อีกชั้นหนึ่งซึ่งต้องฟ้องหรือฟ้องแย้งขอมา เพียงแต่สัญญาปรากฏว่าเป็นโมฆะ จะขอให้ศาลสั่งให้คืนทรัพย์หรือราคากันด้วยหาได้ไม่