พบผลลัพธ์ทั้งหมด 333 รายการ
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 1590/2511 เวอร์ชัน 2 คำพิพากษาฎีกานี้ มีเนื้อหาจากเว็บทางการหลายรูปแบบ
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
การได้มาซึ่งภารจำยอมโดยการครอบครองปรปักษ์ ต้องมีเจตนาเป็นเจ้าของและครอบครองโดยสงบ เปิดเผย
โจทก์ปลูกบ้านเรือนอาศัยอยู่ในที่ดินของ ส.ถือได้ว่าโจทก์ครอบครองที่ดินแทน ส. ต่อมาส.ขายที่ดินให้แก่จำเลย ดังนี้แม้โจทก์จะเคยใช้ทางเดินในที่ดินที่ขายให้จำเลยเดินผ่านออกสู่ถนนตลอดมาก็ตาม ก็เรียกไม่ได้ว่าโจทก์ครอบครองใช้ที่ดินดังกล่าวโดยความสงบและเปิดเผยด้วยเจตนาเป็นเจ้าของ จึงมิใช่เป็นการครอบครองปรปักษ์อายุความได้สิทธิทางภารจำยอมจะเริ่มนับได้ตั้งแต่ ส.ขายที่ดินแปลงนี้ให้แก่จำเลย ซึ่งตามกฎหมายมีกำหนดเวลา 10 ปี
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 1590/2511
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
การได้มาซึ่งภารจำยอมโดยการครอบครองปรปักษ์และอายุความ การครอบครองแทนเจ้าของไม่ถือเป็นการครอบครองปรปักษ์
โจทก์ปลูกบ้านเรือนอาศัยอยู่ในที่ดินของ ส.ถือได้ว่าโจทก์ครอบครองที่ดินแทน ส..ต่อมาส.ขายที่ดินให้แก่จำเลย. ดังนี้แม้โจทก์จะเคยใช้ทางเดินในที่ดินที่ขายให้จำเลยเดินผ่านออกสู่ถนนตลอดมาก็ตาม. ก็เรียกไม่ได้ว่าโจทก์ครอบครองใช้ที่ดินดังกล่าวโดยความสงบและเปิดเผยด้วยเจตนาเป็นเจ้าของ. จึงมิใช่เป็นการครอบครองปรปักษ์.อายุความได้สิทธิทางภารจำยอมจะเริ่มนับได้ตั้งแต่ ส.ขายที่ดินแปลงนี้ให้แก่จำเลย ซึ่งตามกฎหมายมีกำหนดเวลา 10 ปี.
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 1570/2511
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
ข้อจำกัดการตกลงกันในคดีอาญา: ศาลต้องวินิจฉัยเฉพาะประเด็นตามฟ้องเท่านั้น
ประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความอาญามิได้มีบทบัญญัติให้สิทธิแก่คู่ความในอันที่จะตกลงกันหรือที่เรียกว่าท้ากัน ขอให้ศาลวินิจฉัยประเด็นข้อหนึ่งข้อใดโดยเฉพาะแล้วให้ศาลพิพากษาชี้ขาดไปตามประเด็นข้อที่ตกลงหรือท้ากันนั้นได้. และในการนี้จะนำประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความแพ่ง มาตรา 138,182 ที่บัญญัติเกี่ยวกับการตกลงหรือท้ากันในคดีแพ่งมาใช้กับคดีอาญาโดยอนุโลม ตามประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความอาญา มาตรา 15 ก็ไม่ได้. เพราะประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความอาญา มาตรา 192 บัญญัติบังคับห้ามมิให้ศาลพิพากษาหรือสั่งเกินคำขอหรือที่มิได้กล่าวในฟ้อง.
โจทก์บรรยายฟ้องว่าจำเลยได้กระทำผิดฐานเก็บหาของป่าหวงห้ามในป่าโดยไม่ได้รับอนุญาตและเสียค่าภาคหลวง.จำเลยมิได้ให้การรับสารภาพในข้อหานี้แต่รับสารภาพในข้ออื่นที่โจทก์มิได้ฟ้อง. เมื่อโจทก์ไม่สืบพยาน.ข้อเท็จจริงตามที่โจทก์ฟ้องจึงฟังไม่ได้.
โจทก์บรรยายฟ้องว่าจำเลยได้กระทำผิดฐานเก็บหาของป่าหวงห้ามในป่าโดยไม่ได้รับอนุญาตและเสียค่าภาคหลวง.จำเลยมิได้ให้การรับสารภาพในข้อหานี้แต่รับสารภาพในข้ออื่นที่โจทก์มิได้ฟ้อง. เมื่อโจทก์ไม่สืบพยาน.ข้อเท็จจริงตามที่โจทก์ฟ้องจึงฟังไม่ได้.
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 1570/2511 เวอร์ชัน 3 คำพิพากษาฎีกานี้ มีเนื้อหาจากเว็บทางการหลายรูปแบบ
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
การกำหนดประเด็นข้อพิพาทนอกฟ้องในคดีอาญา ศาลไม่ผูกพันตามข้อตกลง
ประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความอาญามิได้มีบทบัญญัติให้สิทธิแก่คู่ความในอันที่จะตกลงกันหรือที่เรียกว่าท้ากัน ขอให้ศาลวินิจฉัยประเด็นข้อหนึ่งข้อใดโดยเฉพาะแล้วให้ศาลพิพากษาชี้ขาดไปตามประเด็นข้อที่ตกลงหรือท้ากันนั้นได้ และในการนี้จะนำประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความแพ่ง มาตรา 138,182 ที่บัญญัติเกี่ยวกับการตกลงหรือท้ากันในคดีแพ่งมาใช้กับคดีอาญาโดยอนุโลม ตามประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความอาญา มาตรา 15 ก็ไม่ได้ เพราะประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความอาญา มาตรา 192 บัญญัติบังคับห้ามมิให้ศาลพิพากษาหรือสั่งเกินคำขอหรือที่มิได้กล่าวในฟ้อง
โจทก์บรรยายฟ้องว่าจำเลยได้กระทำผิดฐานเก็บหาของป่าหวงห้ามในป่าโดยไม่ได้รับอนุญาตและเสียค่าภาคหลวงจำเลยมิได้ให้การรับสารภาพในข้อหานี้แต่รับสารภาพในข้ออื่นที่โจทก์มิได้ฟ้อง เมื่อโจทก์ไม่สืบพยาน.ข้อเท็จจริงตามที่โจทก์ฟ้องจึงฟังไม่ได้
โจทก์บรรยายฟ้องว่าจำเลยได้กระทำผิดฐานเก็บหาของป่าหวงห้ามในป่าโดยไม่ได้รับอนุญาตและเสียค่าภาคหลวงจำเลยมิได้ให้การรับสารภาพในข้อหานี้แต่รับสารภาพในข้ออื่นที่โจทก์มิได้ฟ้อง เมื่อโจทก์ไม่สืบพยาน.ข้อเท็จจริงตามที่โจทก์ฟ้องจึงฟังไม่ได้
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 1570/2511 เวอร์ชัน 2 คำพิพากษาฎีกานี้ มีเนื้อหาจากเว็บทางการหลายรูปแบบ
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
ข้อจำกัดการตกลงประเด็นนอกฟ้องในคดีอาญา ศาลต้องวินิจฉัยตามฟ้องเท่านั้น
ประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความอาญามิได้มีบทบัญญัติให้สิทธิแก่คู่ความในอันที่จะตกลงกันหรือที่เรียกว่าท้ากัน ขอให้ศาลวินิจฉัยประเด็นข้อหนึ่งข้อใดโดยเฉพาะแล้วให้ศาลพิพากษาชี้ขาดไปตามประเด็นข้อที่ตกลงหรือท้ากันนั้นได้ และในการนี้จะนำประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความแพ่ง มาตรา 138,182 ที่บัญญัติเกี่ยวกับการตกลงหรือท้ากันในคดีแพ่งมาใช้กับคดีอาญาโดยอนุโลม ตามประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความอาญา มาตรา 15 ก็ไม่ได้ เพราะประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความอาญา มาตรา 192 บัญญัติบังคับห้ามมิให้ศาลพิพากษาหรือสั่งเกินคำขอหรือที่มิได้กล่าวในฟ้อง
โจทก์บรรยายฟ้องว่าจำเลยได้กระทำผิดฐานเก็บหาของป่าหวงห้ามในป่าโดยไม่ได้รับอนุญาตและเสียค่าภาคหลวงจำเลยมิได้ให้การรับสารภาพในข้อหานี้แต่รับสารภาพในข้ออื่นที่โจทก์มิได้ฟ้อง เมื่อโจทก์ไม่สืบพยานข้อเท็จจริงตามที่โจทก์ฟ้องจึงฟังไม่ได้
โจทก์บรรยายฟ้องว่าจำเลยได้กระทำผิดฐานเก็บหาของป่าหวงห้ามในป่าโดยไม่ได้รับอนุญาตและเสียค่าภาคหลวงจำเลยมิได้ให้การรับสารภาพในข้อหานี้แต่รับสารภาพในข้ออื่นที่โจทก์มิได้ฟ้อง เมื่อโจทก์ไม่สืบพยานข้อเท็จจริงตามที่โจทก์ฟ้องจึงฟังไม่ได้
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 1529/2511 เวอร์ชัน 2 คำพิพากษาฎีกานี้ มีเนื้อหาจากเว็บทางการหลายรูปแบบ
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
ประเด็นคำท้าสืบพยานพินัยกรรมชอบด้วยกฎหมายหรือไม่ การวินิจฉัยพยานหลักฐานต้องพิจารณาความแท้จริงของลายมือชื่อ
โจทก์บรรยายฟ้องว่า ก่อนเจ้ามรดกถึงแก่กรรม เจ้ามรดกมิได้ทำพินัยกรรมเกี่ยวกับทรัพย์สินใดๆ ไว้ หากจำเลยจะมีพินัยกรรมของเจ้ามรดก พินัยกรรมก็ปลอม เมื่อจำเลยยื่นคำให้การ ได้เสนอสำเนาพินัยกรรมมาท้ายคำให้การ โจทก์ยื่นคำร้องขอให้จำเลยส่งต้นฉบับต่อศาลก่อนวันชี้สองสถานเพื่อโจทก์จะได้ตรวจดู โจทก์แถลงว่า ต้องสอบลายมือในพินัยกรรมจากผู้รู้ลายมือของผู้ทำพินัยกรรม แล้วคู่ความเลื่อนวันชี้สองสถานไป พอถึงวันชี้สองสถานครั้งที่ 2 คู่ความแถลงต่อศาลว่า คู่ความตกลงกันสืบประเด็นเดียวว่า พินัยกรรมตามที่จำเลยอ้างเป็นพินัยกรรมที่ชอบด้วยกฎหมายหรือไม่ ดังนี้ ที่ว่า "พินัยกรรมชอบด้วยกฎหมายหรือไม่" ตามที่คู่ความตกลงกันหรือท้ากันสืบนี้ หมายความถึงประเด็นที่คู่ความโต้เถียงกันก่อนว่าเจ้ามรดกได้ทำพินัยกรรมหรือไม่นั่นเอง ถ้านายอ่อนได้ทำพินัยกรรมฉบับนี้จริงโจทก์ก็แพ้คดีตามคำท้า แต่ถ้านายอ่อนไม่ได้ทำพินัยกรรมฉบับนี้ จำเลยก็แพ้คดีตามคำท้า ดังนั้นที่คู่ความนำสืบพยานหลักฐานในประเด็นที่ว่า นายอ่อนเจ้ามรดกทำพินัยกรรมหมายล.1หรือไม่ จึงอยู่ในประเด็นคำท้าที่คู่ความพิพาทโต้เถียงกัน หาใช่เป็นการนำสืบนอกประเด็นคำท้าไม่ และที่ศาลชั้นต้นวินิจฉัยพยานหลักฐานของคู่ความในประเด็นข้อนี้ ก็ถือได้ว่าเป็นการวินิจฉัยตามประเด็นคำท้า มิใช่นอกประเด็นคำท้าเช่นเดียวกันการที่คู่ความแถลงท้ากันศาลจดประเด็นคำท้า ใช้คำว่า"พินัยกรรมชอบด้วยกฎหมายหรือไม่" นั้น ไม่ทำให้ประเด็นคำท้าที่คู่ความพิพาทโต้เถียงกันมาก่อนเปลี่ยนแปลงไปเป็นอย่างอื่น เพราะคำว่า "ชอบด้วยกฎหมาย"นี้ มีความหมายกว้างมาก การใดที่กฎหมายห้ามมิให้กระทำแต่ผู้ใดฝ่าฝืนไปกระทำการนั้นเข้า ต้องถือว่าการกระทำนั้นไม่ชอบด้วยกฎหมาย ประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ มาตรา1656 ได้บัญญัติถึงแบบของพินัยกรรมธรรมดาไว้ว่าผู้ทำพินัยกรรมจะต้องลงลายมือชื่อในพินัยกรรม ถ้าผู้อื่นปลอมลายมือชื่อผู้ทำพินัยกรรมลงในพินัยกรรม ย่อมเป็นการฝ่าฝืนกฎหมาย พินัยกรรมถือว่าทำขึ้นผิดแบบ จึงเป็นพินัยกรรมที่ไม่ชอบด้วยกฎหมาย การที่พิเคราะห์ดูแต่ตัวพินัยกรรมอย่างเดียว โดยไม่ฟังคำพยานหลักฐานที่คู่ความนำสืบ จะไม่มีทางทราบได้เลยว่าลายมือชื่อผู้ทำพินัยกรรมในพินัยกรรมนั้นปลอมหรือไม่
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 1529/2511 เวอร์ชัน 3 คำพิพากษาฎีกานี้ มีเนื้อหาจากเว็บทางการหลายรูปแบบ
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
ประเด็นคำท้าการสืบพยานในคดีพินัยกรรม: การพิเคราะห์พยานหลักฐานเพื่อพิสูจน์ความชอบด้วยกฎหมายของพินัยกรรม
โจทก์บรรยายฟ้องว่า ก่อนเจ้ามรดกถึงแก่กรรม เจ้ามรดกมิได้ทำพินัยกรรมเกี่ยวกับทรัพย์สินใดๆ ไว้ หากจำเลยจะมีพินัยกรรมของเจ้ามรดก พินัยกรรมก็ปลอม เมื่อจำเลยยื่นคำให้การ ได้เสนอสำเนาพินัยกรรมมาท้ายคำให้การ โจทก์ยื่นคำร้องขอให้จำเลยส่งต้นฉบับต่อศาลก่อนวันชี้สองสถานเพื่อโจทก์จะได้ตรวจดู โจทก์แถลงว่า ต้องสอบลายมือในพินัยกรรมจากผู้รู้ลายมือของผู้ทำพินัยกรรม แล้วคู่ความเลื่อนวันชี้สองสถานไป พอถึงวันชี้สองสถานครั้งที่ 2 คู่ความแถลงต่อศาลว่า คู่ความตกลงกันสืบประเด็นเดียวว่า พินัยกรรมตามที่จำเลยอ้างเป็นพินัยกรรมที่ชอบด้วยกฎหมายหรือไม่ ดังนี้ ที่ว่า 'พินัยกรรมชอบด้วยกฎหมายหรือไม่' ตามที่คู่ความตกลงกันหรือท้ากันสืบนี้ หมายความถึงประเด็นที่คู่ความโต้เถียงกันก่อนว่าเจ้ามรดกได้ทำพินัยกรรมหรือไม่นั่นเอง ถ้านายอ่อนได้ทำพินัยกรรมฉบับนี้จริงโจทก์ก็แพ้คดีตามคำท้า แต่ถ้านายอ่อนไม่ได้ทำพินัยกรรมฉบับนี้ จำเลยก็แพ้คดีตามคำท้า ดังนั้นที่คู่ความนำสืบพยานหลักฐานในประเด็นที่ว่า นายอ่อนเจ้ามรดกทำพินัยกรรมหมาย ล.1หรือไม่ จึงอยู่ในประเด็นคำท้าที่คู่ความพิพาทโต้เถียงกัน หาใช่เป็นการนำสืบนอกประเด็นคำท้าไม่ และที่ศาลชั้นต้นวินิจฉัยพยานหลักฐานของคู่ความในประเด็นข้อนี้ ก็ถือได้ว่าเป็นการวินิจฉัยตามประเด็นคำท้า มิใช่นอกประเด็นคำท้าเช่นเดียวกัน.การที่คู่ความแถลงท้ากันศาลจดประเด็นคำท้า ใช้คำว่า'พินัยกรรมชอบด้วยกฎหมายหรือไม่' นั้น ไม่ทำให้ประเด็นคำท้าที่คู่ความพิพาทโต้เถียงกันมาก่อนเปลี่ยนแปลงไปเป็นอย่างอื่น เพราะคำว่า 'ชอบด้วยกฎหมาย'นี้ มีความหมายกว้างมาก การใดที่กฎหมายห้ามมิให้กระทำแต่ผู้ใดฝ่าฝืนไปกระทำการนั้นเข้า ต้องถือว่าการกระทำนั้นไม่ชอบด้วยกฎหมาย ประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ มาตรา1656 ได้บัญญัติถึงแบบของพินัยกรรมธรรมดาไว้ว่าผู้ทำพินัยกรรมจะต้องลงลายมือชื่อในพินัยกรรม ถ้าผู้อื่นปลอมลายมือชื่อผู้ทำพินัยกรรมลงในพินัยกรรม ย่อมเป็นการฝ่าฝืนกฎหมาย พินัยกรรมถือว่าทำขึ้นผิดแบบ จึงเป็นพินัยกรรมที่ไม่ชอบด้วยกฎหมาย การที่พิเคราะห์ดูแต่ตัวพินัยกรรมอย่างเดียว โดยไม่ฟังคำพยานหลักฐานที่คู่ความนำสืบ จะไม่มีทางทราบได้เลยว่าลายมือชื่อผู้ทำพินัยกรรมในพินัยกรรมนั้นปลอมหรือไม่
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 1529/2511
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
ประเด็นคำท้าการพิสูจน์พินัยกรรมชอบด้วยกฎหมายหรือไม่ การนำสืบพยานหลักฐานต้องอยู่ในประเด็นคำท้า
โจทก์บรรยายฟ้องว่า ก่อนเจ้ามรดกถึงแก่กรรม เจ้ามรดกมิได้ทำพินัยกรรมเกี่ยวกับทรัพย์สินใดๆ ไว้. หากจำเลยจะมีพินัยกรรมของเจ้ามรดก พินัยกรรมก็ปลอม. เมื่อจำเลยยื่นคำให้การ ได้เสนอสำเนาพินัยกรรมมาท้ายคำให้การ. โจทก์ยื่นคำร้องขอให้จำเลยส่งต้นฉบับต่อศาลก่อนวันชี้สองสถานเพื่อโจทก์จะได้ตรวจดู. โจทก์แถลงว่า ต้องสอบลายมือในพินัยกรรมจากผู้รู้ลายมือของผู้ทำพินัยกรรม. แล้วคู่ความเลื่อนวันชี้สองสถานไป. พอถึงวันชี้สองสถานครั้งที่ 2คู่ความแถลงต่อศาลว่า คู่ความตกลงกันสืบประเด็นเดียวว่า. พินัยกรรมตามที่จำเลยอ้างเป็นพินัยกรรมที่ชอบด้วยกฎหมายหรือไม่. ดังนี้ ที่ว่า 'พินัยกรรมชอบด้วยกฎหมายหรือไม่' ตามที่คู่ความตกลงกันหรือท้ากันสืบนี้. หมายความถึงประเด็นที่คู่ความโต้เถียงกันก่อนว่าเจ้ามรดกได้ทำพินัยกรรมหรือไม่นั่นเอง. ถ้านายอ่อนได้ทำพินัยกรรมฉบับนี้จริงโจทก์ก็แพ้คดีตามคำท้า. แต่ถ้านายอ่อนไม่ได้ทำพินัยกรรมฉบับนี้ จำเลยก็แพ้คดีตามคำท้า. ดังนั้นที่คู่ความนำสืบพยานหลักฐานในประเด็นที่ว่า นายอ่อนเจ้ามรดกทำพินัยกรรมหมายล.1หรือไม่. จึงอยู่ในประเด็นคำท้าที่คู่ความพิพาทโต้เถียงกัน. หาใช่เป็นการนำสืบนอกประเด็นคำท้าไม่. และที่ศาลชั้นต้นวินิจฉัยพยานหลักฐานของคู่ความในประเด็นข้อนี้ ก็ถือได้ว่าเป็นการวินิจฉัยตามประเด็นคำท้า. มิใช่นอกประเด็นคำท้าเช่นเดียวกัน.การที่คู่ความแถลงท้ากันศาลจดประเด็นคำท้า ใช้คำว่า'พินัยกรรมชอบด้วยกฎหมายหรือไม่' นั้น. ไม่ทำให้ประเด็นคำท้าที่คู่ความพิพาทโต้เถียงกันมาก่อนเปลี่ยนแปลงไปเป็นอย่างอื่น. เพราะคำว่า 'ชอบด้วยกฎหมาย'นี้ มีความหมายกว้างมาก. การใดที่กฎหมายห้ามมิให้กระทำ.แต่ผู้ใดฝ่าฝืนไปกระทำการนั้นเข้า. ต้องถือว่าการกระทำนั้นไม่ชอบด้วยกฎหมาย. ประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ มาตรา1656 ได้บัญญัติถึงแบบของพินัยกรรมธรรมดาไว้ว่า.ผู้ทำพินัยกรรมจะต้องลงลายมือชื่อในพินัยกรรม. ถ้าผู้อื่นปลอมลายมือชื่อผู้ทำพินัยกรรมลงในพินัยกรรม ย่อมเป็นการฝ่าฝืนกฎหมาย. พินัยกรรมถือว่าทำขึ้นผิดแบบ. จึงเป็นพินัยกรรมที่ไม่ชอบด้วยกฎหมาย. การที่พิเคราะห์ดูแต่ตัวพินัยกรรมอย่างเดียว โดยไม่ฟังคำพยานหลักฐานที่คู่ความนำสืบ. จะไม่มีทางทราบได้เลยว่าลายมือชื่อผู้ทำพินัยกรรมในพินัยกรรมนั้นปลอมหรือไม่.
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 1490/2511
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
สัญญาให้ทุนการศึกษาและการผิดสัญญาชดใช้เงินทุน กรณีจำเลยไม่ทำสัญญาเพิ่มเติมและลาออก
จำเลยทำหนังสือสัญญาไว้ให้แก่โจทก์ในการที่จำเลยไปศึกษาต่อ ณ ประเทศสหรัฐอเมริกามีกำหนด 2 ปี. โดยจำเลยจะได้รับเงินเดือนและเงินเพิ่ม ฯลฯ ตลอดระยะเวลาที่ไปศึกษา. เมื่อจำเลยกลับมาจากต่างประเทศแล้ว จำเลยจะทำงานให้โจทก์ไม่ต่ำกว่า 4 ปี. ถ้าหากจำเลยผิดสัญญาจำเลยยินยอมชดใช้เงินที่ได้รับไปจนครบ. ต่อมาจำเลยขอลาศึกษาต่ออีก 2 ปี. โจทก์มีหนังสือแจ้งให้จำเลยทราบว่าอนุมัติให้ลาต่ออีก 2 ปีต่อจากที่ได้รับอนุมัติครั้งแรก ได้ส่งแบบฟอร์มสัญญากับสัญญาค้ำประกันไปให้จำเลยเพื่อกรอกข้อความและทำสัญญาไว้เป็นหลักฐานให้แก่โจทก์.จำเลยไม่ยอมเซ็นสัญญา. ผลจึงมีว่าจำเลยคงได้รับอนุญาตให้ลาไปศึกษามีกำหนด 2 ปีในตอนแรกเท่านั้น. ต่อมาปรากฏว่าจำเลยยื่นหนังสือขอลาออกจากตำแหน่งหน้าที่ตั้งแต่หมดกำหนดวันลา. และโจทก์มีหนังสือแจ้งให้จำเลยไปพบกับเลขาอนุกรรมการทำการสอบสวนฐานจำเลยขัดคำสั่ง ฯลฯ. แต่จำเลยไม่มาตามกำหนด. โจทก์จึงมีคำสั่งปลดจำเลยจึงเห็นได้ว่าโจทก์สั่งปลดจำเลยภายหลังที่จำเลยยื่นใบลาออกแล้ว. ดังนี้ แม้จำเลยจะไม่ได้รับหนังสือของโจทก์.ซึ่งมีความว่า ไม่อนุมัติให้จำเลยลาออก. การที่จำเลยขอลาออกเช่นนี้ แสดงให้เห็นว่าจำเลยเองเป็นฝ่ายผิดสัญญา. จำเลยจึงต้องรับผิดใช้เงินให้โจทก์ตามสัญญา.
ป.พ.พ.มาตรา 165(9) เป็นบทบัญญัติในเรื่องคนงาน ฯลฯเรียกเอาค่าจ้างและเงินอื่นอันได้ตกลงกันว่าจะจ่ายให้แทนหรือให้เป็นส่วนหนึ่งของเงินจ้าง รวมทั้งค่าที่ได้ออกเงินทดรองไป. กับนายจ้างเรียกเอาเงินเช่นว่านั้นอันตนได้จ่ายล่วงหน้าไปแล้วนั้นก็ด้วยเหมือนกัน. ส่วนมาตรา166 เป็นเรื่องการเรียกเอาเงินค้างจ่ายคือเงินปีเงินเดือน ฯลฯ. โจทก์ฟ้องเรียกเงินจากจำเลยฐานผิดสัญญาที่จำเลยทำให้โจทก์ไว้ซึ่งไม่ใช่เงินเดือนหรือเงินจ้างที่โจทก์ทดรองให้จำเลยไป. ฟ้องโจทก์จึงไม่ต้องด้วยบทบัญญัติดังกล่าว.
ป.พ.พ.มาตรา 165(9) เป็นบทบัญญัติในเรื่องคนงาน ฯลฯเรียกเอาค่าจ้างและเงินอื่นอันได้ตกลงกันว่าจะจ่ายให้แทนหรือให้เป็นส่วนหนึ่งของเงินจ้าง รวมทั้งค่าที่ได้ออกเงินทดรองไป. กับนายจ้างเรียกเอาเงินเช่นว่านั้นอันตนได้จ่ายล่วงหน้าไปแล้วนั้นก็ด้วยเหมือนกัน. ส่วนมาตรา166 เป็นเรื่องการเรียกเอาเงินค้างจ่ายคือเงินปีเงินเดือน ฯลฯ. โจทก์ฟ้องเรียกเงินจากจำเลยฐานผิดสัญญาที่จำเลยทำให้โจทก์ไว้ซึ่งไม่ใช่เงินเดือนหรือเงินจ้างที่โจทก์ทดรองให้จำเลยไป. ฟ้องโจทก์จึงไม่ต้องด้วยบทบัญญัติดังกล่าว.
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 1490/2511 เวอร์ชัน 2 คำพิพากษาฎีกานี้ มีเนื้อหาจากเว็บทางการหลายรูปแบบ
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
ผิดสัญญาหลังได้รับอนุมัติลาศึกษาต่อ และผลของการไม่ทำสัญญาเพิ่มเติม
จำเลยทำหนังสือสัญญาไว้ให้แก่โจทก์ในการที่จำเลยไปศึกษาต่อ ณ ประเทศสหรัฐอเมริกามีกำหนด 2 ปี โดยจำเลยจะได้รับเงินเดือนและเงินเพิ่ม ฯลฯ ตลอดระยะเวลาที่ไปศึกษา เมื่อจำเลยกลับมาจากต่างประเทศแล้ว จำเลยจะทำงานให้โจทก์ไม่ต่ำกว่า 4 ปี ถ้าหากจำเลยผิดสัญญาจำเลยยินยอมชดใช้เงินที่ได้รับไปจนครบ ต่อมาจำเลยขอลาศึกษาต่ออีก 2 ปี โจทก์มีหนังสือแจ้งให้จำเลยทราบว่าอนุมัติให้ลาต่ออีก 2 ปีต่อจากที่ได้รับอนุมัติครั้งแรก ได้ส่งแบบฟอร์มสัญญากับสัญญาค้ำประกันไปให้จำเลยเพื่อกรอกข้อความและทำสัญญาไว้เป็นหลักฐานให้แก่โจทก์จำเลยไม่ยอมเซ็นสัญญา ผลจึงมีว่าจำเลยคงได้รับอนุญาตให้ลาไปศึกษามีกำหนด 2 ปีในตอนแรกเท่านั้นต่อมาปรากฏว่าจำเลยยื่นหนังสือขอลาออกจากตำแหน่งหน้าที่ตั้งแต่หมดกำหนดวันลา และโจทก์มีหนังสือแจ้งให้จำเลยไปพบกับเลขาอนุกรรมการทำการสอบสวนฐานจำเลยขัดคำสั่ง ฯลฯ แต่จำเลยไม่มาตามกำหนด โจทก์จึงมีคำสั่งปลดจำเลยจึงเห็นได้ว่าโจทก์สั่งปลดจำเลยภายหลังที่จำเลยยื่นใบลาออกแล้ว ดังนี้ แม้จำเลยจะไม่ได้รับหนังสือของโจทก์ซึ่งมีความว่า ไม่อนุมัติให้จำเลยลาออก การที่จำเลยขอลาออกเช่นนี้ แสดงให้เห็นว่าจำเลยเองเป็นฝ่ายผิดสัญญา จำเลยจึงต้องรับผิดใช้เงินให้โจทก์ตามสัญญา
ประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ มาตรา 165(9) เป็นบทบัญญัติในเรื่องคนงาน ฯลฯ เรียกเอาค่าจ้างและเงินอื่นอันได้ตกลงกันว่าจะจ่ายให้แทนหรือให้เป็นส่วนหนึ่งของเงินจ้าง รวมทั้งค่าที่ได้ออกเงินทดรองไป กับนายจ้างเรียกเอาเงินเช่นว่านั้นอันตนได้จ่ายล่วงหน้าไปแล้วนั้นก็ด้วยเหมือนกันส่วนมาตรา166 เป็นเรื่องการเรียกเอาเงินค้างจ่ายคือเงินปีเงินเดือน ฯลฯ โจทก์ฟ้องเรียกเงินจากจำเลยฐานผิดสัญญาที่จำเลยทำให้โจทก์ไว้ซึ่งไม่ใช่เงินเดือนหรือเงินจ้างที่โจทก์ทดรองให้จำเลยไป ฟ้องโจทก์จึงไม่ต้องด้วยบทบัญญัติดังกล่าว
ประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ มาตรา 165(9) เป็นบทบัญญัติในเรื่องคนงาน ฯลฯ เรียกเอาค่าจ้างและเงินอื่นอันได้ตกลงกันว่าจะจ่ายให้แทนหรือให้เป็นส่วนหนึ่งของเงินจ้าง รวมทั้งค่าที่ได้ออกเงินทดรองไป กับนายจ้างเรียกเอาเงินเช่นว่านั้นอันตนได้จ่ายล่วงหน้าไปแล้วนั้นก็ด้วยเหมือนกันส่วนมาตรา166 เป็นเรื่องการเรียกเอาเงินค้างจ่ายคือเงินปีเงินเดือน ฯลฯ โจทก์ฟ้องเรียกเงินจากจำเลยฐานผิดสัญญาที่จำเลยทำให้โจทก์ไว้ซึ่งไม่ใช่เงินเดือนหรือเงินจ้างที่โจทก์ทดรองให้จำเลยไป ฟ้องโจทก์จึงไม่ต้องด้วยบทบัญญัติดังกล่าว