พบผลลัพธ์ทั้งหมด 18 รายการ
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 1277/2503 เวอร์ชัน 2 คำพิพากษาฎีกานี้ มีเนื้อหาจากเว็บทางการหลายรูปแบบ
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
อำนาจหน้าที่ดูแลรักษาที่สาธารณประโยชน์: กรมการอำเภอและอธิบดีกรมที่ดิน
พระราชบัญญัติให้ใช้ประมวลกฎหมายที่ดิน พ.ศ. 2497 มาตรา 4 มิได้ยกเลิก พ.ร.บ. ลักษณะปกครองท้องที่ พ.ศ. 2457 มาตรา 117, 122 บัญญัติให้กรมการอำเภอดูแลรักษาที่อันเป็นสาธารณประโยชน์ และว่าจะขัดกับประมวลกฎหมายที่ดิน พ.ศ. 2497 มาตรา 4 (15) ก็ไม่ได้เพราะ ประมวลกฎหมายที่ดิน พ.ศ. 2497 มาตรา 8 ให้อธิบดีกรมที่ดินทีอำนาจหน้าที่ดูแลรักษาและดำเนินการคุ้มครองป้องกันที่ดิน ทั้งหลายอันเป็นสาธารณสมบัติของแผ่นดิน ในเมื่อไม่มีกฎหมายกำหนดไว้เป็นอย่างอื่น
พ.ร.บ. ลักษณะปกครองท้องที่ พ.ศ. 2457 มาตรา 117 บัญญัติให้เป็นหน้าที่กรมการอำเภอจะต้องระวังรักษาดูแลที่ดินเป็นสาธารณประโยชน์ของรัฐบาล ไม่ให้ผู้ใดทำให้เสียหายและ พ.ร.บ. ระเบียบราชการบริหารแผ่นดิน พ.ศ. 2495 มาตรา 40 วรรคสุดท้ายได้บัญญัติให้นายอำเภอมีหน้าที่เกี่ยวกับราชการอันเป็นอำนาจของกรรมการอำเภอ ฉะนั้น นายอำเภอจึงมีอำนาจดูแลรักษาและสั่งห้ามไม่ให้ผู้ใดทำให้ที่สาธารณประโยชน์เสียหาย
พ.ร.บ. ลักษณะปกครองท้องที่ พ.ศ. 2457 มาตรา 117 บัญญัติให้เป็นหน้าที่กรมการอำเภอจะต้องระวังรักษาดูแลที่ดินเป็นสาธารณประโยชน์ของรัฐบาล ไม่ให้ผู้ใดทำให้เสียหายและ พ.ร.บ. ระเบียบราชการบริหารแผ่นดิน พ.ศ. 2495 มาตรา 40 วรรคสุดท้ายได้บัญญัติให้นายอำเภอมีหน้าที่เกี่ยวกับราชการอันเป็นอำนาจของกรรมการอำเภอ ฉะนั้น นายอำเภอจึงมีอำนาจดูแลรักษาและสั่งห้ามไม่ให้ผู้ใดทำให้ที่สาธารณประโยชน์เสียหาย
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 1277/2503
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
อำนาจหน้าที่ดูแลรักษาที่สาธารณประโยชน์: นายอำเภอ vs กรมที่ดิน
พระราชบัญญัติให้ใช้ประมวลกฎหมายที่ดิน พ.ศ.2497 มาตรา 4มิได้ยกเลิกพระราชบัญญัติลักษณะปกครองท้องที่ พ.ศ.2457 และพระราชบัญญัติลักษณะปกครองท้องที่ พ.ศ.2457 มาตรา 117,122บัญญัติให้กรมการอำเภอดูแลรักษาที่อันเป็นสาธารณประโยชน์ และจะว่าขัดกับประมวลกฎหมายที่ดินอันจะต้องยกเลิกไป ตามพระราชบัญญัติให้ใช้ประมวลกฎหมายที่ดิน พ.ศ.2497 มาตรา 4(15)ก็ไม่ได้ เพราะประมวลกฎหมายที่ดิน พ.ศ.2497 มาตรา 8 ให้อธิบดีกรมที่ดินมีอำนาจหน้าที่ดูแลรักษาและดำเนินการคุ้มครองป้องกันที่ดินทั้งหลายอันเป็นสาธารณสมบัติของแผ่นดิน ในเมื่อไม่มีกฎหมายกำหนดไว้เป็นอย่างอื่น
พระราชบัญญัติลักษณะปกครองท้องที่ พ.ศ.2457 มาตรา 117บัญญัติให้เป็นหน้าที่กรมการอำเภอจะต้องระวังรักษาดูแลที่ดินเป็นสาธารณประโยชน์ของรัฐบาล ไม่ให้ผู้ใดทำให้เสียหายและพระราชบัญญัติระเบียบบริหารราชการแผ่นดิน พ.ศ.2495 มาตรา 40 วรรคสุดท้ายได้บัญญัติให้นายอำเภอมีอำนาจหน้าที่เกี่ยวกับราชการอันเป็นอำนาจของกรมการอำเภอ ฉะนั้น นายอำเภอจึงมีอำนาจดูแลรักษาและสั่งห้ามไม่ให้ผู้ใดทำให้ที่สาธารณประโยชน์เสียหาย
พระราชบัญญัติลักษณะปกครองท้องที่ พ.ศ.2457 มาตรา 117บัญญัติให้เป็นหน้าที่กรมการอำเภอจะต้องระวังรักษาดูแลที่ดินเป็นสาธารณประโยชน์ของรัฐบาล ไม่ให้ผู้ใดทำให้เสียหายและพระราชบัญญัติระเบียบบริหารราชการแผ่นดิน พ.ศ.2495 มาตรา 40 วรรคสุดท้ายได้บัญญัติให้นายอำเภอมีอำนาจหน้าที่เกี่ยวกับราชการอันเป็นอำนาจของกรมการอำเภอ ฉะนั้น นายอำเภอจึงมีอำนาจดูแลรักษาและสั่งห้ามไม่ให้ผู้ใดทำให้ที่สาธารณประโยชน์เสียหาย
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 1061/2503 เวอร์ชัน 2 คำพิพากษาฎีกานี้ มีเนื้อหาจากเว็บทางการหลายรูปแบบ
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
การครอบครองที่ดินหลัง พ.ร.บ.ประมวลกฎหมายที่ดิน: การเพิกถอนสิทธิการจับจองและอำนาจของเจ้าพนักงาน
ผู้ยื่นคำร้องขอจับจองที่ดินในระหว่างระยะเวลาที่พระราชบัญญัติออกโฉนดที่ดิน (ฉบับที่ 6) พ.ศ. 2479 บังคับไว้ เมื่อมีพระราชบัญญัติให้ใช้ ประมวลกฎหมายที่ดินประกาศใช้ ผู้นั้นก็มิได้ยื่นคำร้องต่อพนักงานเจ้าหน้าที่เพื่อให้คำรับรองว่าที่ดินได้ทำประโยชน์แล้วในกำหนด 180 วันนับแต่ประมวลกฎหมายที่ดิน ใช้บังคับตามมาตรา 7 วรรค 2 ถือว่า ที่ดินนั้นปลอดจากการจับจอง ผู้นั้นเข้าครอบครองที่ดินโดยไม่ได้รับอนุญาตจากพนักงาน เจ้าหน้าที่โดยชอบ ซึ่งตามพระราชบัญญัติออกโฉนด ที่ ดิน (ฉบับที่ 6) พ.ศ. 2479 มาตรา 15 ก็ดี ประมวลกฎหมายที่ดินมาตรา 32 ก็ดี ย่อมให้อำนาจพนักงานเจ้าหน้าที่พิจารณาออกคำสั่งบังคับให้ผู้ครอบครองที่ดินนั้น ออกไปจากที่ดินได้อยู่
นายอำเภอได้ออกคำสั่ง โดยอาศัยอำนาจ ตามพระราชบัญญัติลักษณะปกครองท้องที่มาตรา 122 และพระราชบัญญัติระเบียบราชการบริหารแผ่นดิน พ.ศ. 2495 มาตรา 40 ให้ผู้ที่เข้าครอบครองที่ สาธารณะสมบัติของแผ่นดินออกไปจากที่ดินได้
นายอำเภอได้ออกคำสั่ง โดยอาศัยอำนาจ ตามพระราชบัญญัติลักษณะปกครองท้องที่มาตรา 122 และพระราชบัญญัติระเบียบราชการบริหารแผ่นดิน พ.ศ. 2495 มาตรา 40 ให้ผู้ที่เข้าครอบครองที่ สาธารณะสมบัติของแผ่นดินออกไปจากที่ดินได้
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 1061/2503
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
การครอบครองที่ดินหลัง พ.ร.บ.ประมวลกฎหมายที่ดินมีผลบังคับใช้ และอำนาจสั่งขับไล่ของพนักงานเจ้าหน้าที่
ผู้ยื่นคำร้องขอจับจองที่ดินในระหว่างระยะเวลาที่พระราชบัญญัติออกโฉนดที่ดิน (ฉบับที่ 6) พ.ศ.2479 บังคับไว้ เมื่อมีพระราชบัญญัติให้ใช้ประมวลกฎหมายที่ดินประกาศใช้ ผู้นั้นก็มิได้ยื่นคำร้องต่อพนักงานเจ้าหน้าที่ เพื่อให้คำรับรองว่าที่ดินได้ทำประโยชน์แล้วในกำหนด 180 วันนับแต่ประมวลกฎหมายที่ดินใช้บังคับตามมาตรา 7 วรรคสองถือว่าที่ดินนั้นปลอดจากการจับจอง ผู้นั้นเข้าครอบครองที่ดินโดยไม่ได้รับอนุญาตจากพนักงานเจ้าหน้าที่โดยชอบ ซึ่งตามพระราชบัญญัติออกโฉนดที่ดิน (ฉบับที่ 6) พ.ศ.2479 มาตรา 15 ก็ดีประมวลกฎหมายที่ดินมาตรา 32 ก็ดี ย่อมให้อำนาจพนักงานเจ้าหน้าที่พิจารณาออกคำสั่งบังคับให้ผู้ครอบครองที่ดินนั้นออกไปจากที่ดินได้อยู่
นายอำเภอได้ออกคำสั่งโดยอาศัยอำนาจตามพระราชบัญญัติลักษณะปกครองท้องที่มาตรา 122และพระราชบัญญัติระเบียบบริหารราชการแผ่นดินพ.ศ.2495 มาตรา 40 ให้ผู้ที่เข้าครอบครองที่สาธารณสมบัติของแผ่นดินออกไปจากที่ดินได้
นายอำเภอได้ออกคำสั่งโดยอาศัยอำนาจตามพระราชบัญญัติลักษณะปกครองท้องที่มาตรา 122และพระราชบัญญัติระเบียบบริหารราชการแผ่นดินพ.ศ.2495 มาตรา 40 ให้ผู้ที่เข้าครอบครองที่สาธารณสมบัติของแผ่นดินออกไปจากที่ดินได้
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 421/2501
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
อำนาจฟ้องนายอำเภอและการละเมิดสิทธิในทรัพย์สิน: นายอำเภอถูกฟ้องได้ในฐานะบุคคลธรรมดา แม้คณะกรรมการอำเภอไม่ใช่ นิติบุคคล
แม้คณะกรมการอำเภอไม่ใช่นิติบุคคลนายอำเภอก็อาจฟ้องหรือถูกฟ้องได้เหมือนบุคคลธรรมดา
เมื่อโจทก์ฟ้องว่าจำเลยในฐานะนายอำเภอกระทำละเมิดสิทธิโจทก์ในที่พิพาทจำเลยต่อสู้ว่าที่พิพาทเป็นที่สาธารณะสมบัติแผ่นดินและตาม พระราชบัญญัติปกครองท้องที่ พ.ศ.2457มาตรา 122 กำหนดให้นายอำเภอควบคุมดูแลที่สาธารณะสมบัติของแผ่นดินดังนั้นโจทก์จึงมีสิทธิฟ้องขอให้ศาลห้ามจำเลยมิให้สอดเข้าเกี่ยวข้องในที่ดินของโจทก์ต่อไปได้
เมื่อโจทก์ฟ้องว่าจำเลยในฐานะนายอำเภอกระทำละเมิดสิทธิโจทก์ในที่พิพาทจำเลยต่อสู้ว่าที่พิพาทเป็นที่สาธารณะสมบัติแผ่นดินและตาม พระราชบัญญัติปกครองท้องที่ พ.ศ.2457มาตรา 122 กำหนดให้นายอำเภอควบคุมดูแลที่สาธารณะสมบัติของแผ่นดินดังนั้นโจทก์จึงมีสิทธิฟ้องขอให้ศาลห้ามจำเลยมิให้สอดเข้าเกี่ยวข้องในที่ดินของโจทก์ต่อไปได้
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 421/2501 เวอร์ชัน 2 คำพิพากษาฎีกานี้ มีเนื้อหาจากเว็บทางการหลายรูปแบบ
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
อำนาจฟ้องนายอำเภอในฐานะเจ้าพนักงานปกครองท้องที่และการละเมิดสิทธิในทรัพย์สิน
แม้คณะกรมการอำเภอไม่ใช่นิติบุคคล นายอำเภอก็อาจฟ้องหรือถูกฟ้องได้เหมือนบุคคลธรรมดา
เมื่อโจทก์ฟ้องว่าจำเลยในฐานะนายอำเภอกระทำละเมิดสิทธิโจทก์ในที่พิพาท จำเลยต่อสู้ว่าที่พิพาทเป็นที่สาธารณะสมบัติแผ่นดินและตาม พ.ร.บ.ปกครองท้องที่ พ.ศ. 2457 มาตรา 122 กำหนดให้นายอำเภอควบคุมดูแลที่สาธารณะสมบัติของแผ่นดิน ดังนั้นโจทก์จึงมีสิทธิฟ้องขอให้ศาลห้ามจำเลยมิให้สอดเข้าเกี่ยวข้องในที่ดินของโจทก์ต่อไปได้
เมื่อโจทก์ฟ้องว่าจำเลยในฐานะนายอำเภอกระทำละเมิดสิทธิโจทก์ในที่พิพาท จำเลยต่อสู้ว่าที่พิพาทเป็นที่สาธารณะสมบัติแผ่นดินและตาม พ.ร.บ.ปกครองท้องที่ พ.ศ. 2457 มาตรา 122 กำหนดให้นายอำเภอควบคุมดูแลที่สาธารณะสมบัติของแผ่นดิน ดังนั้นโจทก์จึงมีสิทธิฟ้องขอให้ศาลห้ามจำเลยมิให้สอดเข้าเกี่ยวข้องในที่ดินของโจทก์ต่อไปได้
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 47/2498 เวอร์ชัน 2 คำพิพากษาฎีกานี้ มีเนื้อหาจากเว็บทางการหลายรูปแบบ
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
อำนาจการออกคำสั่งของปลัดอำเภอเมื่อนายอำเภอปฏิบัติหน้าที่ได้ตามปกติ
เมื่อไม่ปรากฏว่านายอำเภอไม่อาจปฏิบัติราชการได้ตามปกติและปลัดอำเภอได้รักษาราชการแทน ปลัดอำเภอนั้นย่อมไม่มีอำนาจที่จะออกคำสั่งตาม ม. 122 พ.ร.บ.ปกครองท้องที่ได้ จำเลยขัดขืนคำสั่งปลัดอำเภอจึงไม่เป็นความผิดก.ม.อาญา ม. 334(2)
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 47/2498
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
อำนาจออกคำสั่งของปลัดอำเภอ: ปลัดอำเภอไม่มีอำนาจออกคำสั่งแทนนายอำเภอหากนายอำเภอยังปฏิบัติหน้าที่ได้ตามปกติ
เมื่อไม่ปรากฏว่านายอำเภอไม่อาจปฏิบัติราชการได้ตามปกติและปลัดอำเภอได้รักษาราชการแทนปลัดอำเภอนั้นย่อมไม่มีอำนาจที่จะออกคำสั่งตาม มาตรา122 พ.ร.บ.ปกครองท้องที่ได้จำเลยขัดขืนคำสั่งปลัดอำเภอจึงไม่เป็นความผิด กฎหมายอาญามาตรา 334(2)