คำพิพากษาที่เกี่ยวข้องกับกฎหมาย
พ.ร.บ.สาธารณสุข พ.ศ.2484 ม. 8

พบผลลัพธ์ทั้งหมด 6 รายการ

คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 1543/2511

ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้ การเร่ขายถ่านไม่ถือเป็นการสะสมถ่านตามกฎหมายสาธารณสุข โจทก์ฟ้องไม่ชัดเจน
โจทก์ฟ้องว่า จำเลยได้กระทำการขายถ่าน (ขายปลีก)โดยใช้รถเข็นบรรทุกถ่านไปขายตามสถานที่ต่างๆ เพื่อการค้า. เป็นการประกอบกิจการค้าเป็นที่น่ารังเกียจหรืออาจเป็นอันตรายต่อสุขภาพโดยไม่ได้รับอนุญาต. ขอให้ลงโทษตามพ.ร.บ.สาธารณสุข พ.ศ.2484 มาตรา 8,68. เทศบัญญัติเทศบาลนครกรุงเทพฯ เรื่องควบคุมการค้าเป็นที่น่ารังเกียจหรืออาจเป็นอันตรายแก่สุขภาพ(ฉบับที่ 3)2494 ข้อ 4(40). แต่บทกฎหมายที่โจทก์อ้างทั้งหมดรวมทั้งเทศบัญญัติที่อ้างข้อ 4(40) นั้นระบุถึง 'การสะสมถ่าน'. จึงไม่ตรงกับข้อเท็จจริงที่โจทก์บรรยายฟ้อง. จึงไม่เป็นความผิดเป็นข้อวินิจฉัยของศาลชั้นต้นเท่านั้น.

คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 1543/2511 เวอร์ชัน 2 คำพิพากษาฎีกานี้ มีเนื้อหาจากเว็บทางการหลายรูปแบบ

ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้ การตีความฟ้องคดี การเร่ขายถ่านไม่ถือเป็นการสะสมถ่านตามกฎหมายสาธารณสุข
โจทก์ฟ้องว่า จำเลยได้กระทำการขายถ่าน (ขายปลีก)โดยใช้รถเข็นบรรทุกถ่านไปขายตามสถานที่ต่างๆ เพื่อการค้า เป็นการประกอบกิจการค้าเป็นที่น่ารังเกียจหรืออาจเป็นอันตรายต่อสุขภาพโดยไม่ได้รับอนุญาต ขอให้ลงโทษตามพระราชบัญญัติสาธารณสุข พ.ศ.2484 มาตรา 8,68 เทศบัญญัติเทศบาลนครกรุงเทพฯ เรื่องควบคุมการค้าเป็นที่น่ารังเกียจหรืออาจเป็นอันตรายแก่สุขภาพ(ฉบับที่ 3)2494 ข้อ 4(40) แต่บทกฎหมายที่โจทก์อ้างทั้งหมดรวมทั้งเทศบัญญัติที่อ้างข้อ 4(40) นั้นระบุถึง "การสะสมถ่าน" จึงไม่ตรงกับข้อเท็จจริงที่โจทก์บรรยายฟ้อง จึงไม่เป็นความผิดเป็นข้อวินิจฉัยของศาลชั้นต้นเท่านั้น

คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 1543/2511 เวอร์ชัน 3 คำพิพากษาฎีกานี้ มีเนื้อหาจากเว็บทางการหลายรูปแบบ

ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้ การฟ้องอาศัยข้อเท็จจริงที่ไม่ตรงกับบทบัญญัติกฎหมาย ถือเป็นเหตุให้ยกฟ้อง
โจทก์ฟ้องว่า จำเลยได้กระทำการขายถ่าน (ขายปลีก)โดยใช้รถเข็นบรรทุกถ่านไปขายตามสถานที่ต่างๆ เพื่อการค้า เป็นการประกอบกิจการค้าเป็นที่น่ารังเกียจหรืออาจเป็นอันตรายต่อสุขภาพโดยไม่ได้รับอนุญาต ขอให้ลงโทษตามพ.ร.บ.สาธารณสุข พ.ศ.2484 มาตรา 8, 68 เทศบัญญัติเทศบาลนครกรุงเทพฯ เรื่องควบคุมการค้าเป็นที่น่ารังเกียจหรืออาจเป็นอันตรายแก่สุขภาพ(ฉบับที่ 3) 2494 ข้อ 4(40) แต่บทกฎหมายที่โจทก์อ้างทั้งหมดรวมทั้งเทศบัญญัติที่อ้างข้อ 4(40) นั้นระบุถึง 'การสะสมถ่าน' จึงไม่ตรงกับข้อเท็จจริงที่โจทก์บรรยายฟ้อง จึงไม่เป็นความผิดเป็นข้อวินิจฉัยของศาลชั้นต้นเท่านั้น

คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 620/2499 เวอร์ชัน 2 คำพิพากษาฎีกานี้ มีเนื้อหาจากเว็บทางการหลายรูปแบบ

ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้ การฟ้องจำเลยในฐานะบุคคลธรรมดา โดยไม่ได้ฟ้องบริษัท แม้จะเกี่ยวข้องกับการกระทำผิดของบริษัท
เทศบัญญัติของเทศบาลนครกรุงเทพฯ เรื่องควบคุมการค้าซึ่งเป็นที่น่ารังเกียจ ฯ (ฉบับที่ 3) 2494 ลงวันที่ 18 ม.ค.2494 ข้อ 4,5
หน้าฟ้องโจทก์ระบุชื่อจำเลยไม่ได้ระบุชื่อบริษัท ในคำบรรยายฟ้องกล่าวถึงบริษัทอยู่บ้าง แต่ก็เป็นเพียงแสดงให้ทราบว่าจำเลยผู้ที่ถูกฟ้องนั้นเป็นผู้จัดการบริษัทจึงเป็นอันว่าจากหน้าฟ้องก็ตาม จากคำบรรยายฟ้องก็ตาม โจทก์ฟ้องจำเลยเป็นส่วนตัวของจำเลย และฟ้องไม่ได้หาว่าจำเลยจัดคนให้เลื่อยไม้ เมื่อคำพยานไม่มีเลยว่าจำเลยเป็นผู้เลื่อยไม้ เช่นนี้ลงโทษจำเลยไม่ได้.

คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 625/2498

ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้ อำนาจสั่งห้ามประกอบกิจการของเทศบาล: ต้องอาศัยเทศบัญญัติและโทษปรับตามกฎหมาย
มาตรา 8 พระราชบัญญัติสาธารณสุขมิได้กำหนดให้อำนาจเทศบาลสั่งห้ามการกระทำเกี่ยวกับสุขลักษณ์โดยทั่วไปแต่ให้มีอำนาจออกเทศบัญญัติหรือข้อบังคับควบคุมได้ถ้าผู้ใดไม่ปฏิบัติตามก็ชอบที่จะขอให้ลงโทษตาม มาตรา 68 จะดำเนินคดีแพ่งอย่างเดียวขอให้ห้ามมิให้ผู้กระทำผิดกระทำการต่อไปไม่ได้
อำนาจสั่งห้ามผู้กระทำผิดมิให้กระทำต่อไปตาม มาตรา 68นั้นเป็นวิธีอุปกรณ์ของโทษปรับตาม มาตรา นั้นเท่านั้น

คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 625/2498 เวอร์ชัน 2 คำพิพากษาฎีกานี้ มีเนื้อหาจากเว็บทางการหลายรูปแบบ

ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้ อำนาจสั่งห้ามประกอบกิจการตาม พ.ร.บ.สาธารณสุข ต้องอาศัยเทศบัญญัติและโทษปรับตามกฎหมาย
ม.8 พ.ร.บ.สาธารณสุขมิได้กำหนดให้อำนาจเทศบาลสั่งห้ามการกระทำเกี่ยวกับสุขลักษณ์โดยทั่วไป แต่ให้มีอำนาจออกเทศบัญญัติหรือข้อบังคับควบคุมได้ ถ้าผู้ใดไม่ปฏิบัติตามก็ชอบที่จะขอให้ลงโทษตาม ม.68 จะดำเนินคดีแพ่งอย่างเดียวขอให้ห้ามมิให้ผู้กระทำผิดกระทำการต่อไปไม่ได้
อำนาจสั่งห้ามผู้กระทำผิดมิให้กระทำต่อไปตาม ม.68 นั้น เป็นวิธีอุปกรณ์ของโทษปรับตาม ม.นั้นเท่านั้น