คำพิพากษาที่เกี่ยวข้องกับผู้พิพากษา
ลออง จุลกะเศียน

พบผลลัพธ์ทั้งหมด 301 รายการ

คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 390/2511 เวอร์ชัน 3 คำพิพากษาฎีกานี้ มีเนื้อหาจากเว็บทางการหลายรูปแบบ

ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้ อำนาจฟ้องกรมสรรพากร และการเสียอากรแสตมป์ในเอกสารรับของที่ไม่ใช่ใบรับของตามกฎหมาย
หนังสือที่สั่งให้โจทก์นำเงินอากรและเงินเพิ่มอากรไปชำระ ลงสถานที่กรมสรรพากร ผู้ลงนามเป็นเจ้าหน้าที่กรมสรรพากร คณะกรรมการพิจารณาอุทธรณ์มีอธิบดีกรมสรรพากรเป็นประธาน ประกอบกับประมวลรัษฎากรมาตรา 5 บัญญัติกว่า ภาษีอากรฝ่ายสรรพากรเป็นประธาน ประกอบกับประมวลรัษฎากรมาตรา 5 บัญญัติว่า ภาษีอากรฝ่ายสรรพากรอยู่ในอำนาจหน้าที่และควบคุมของกรมสรรพากร เห็นได้ชัดว่าเจ้าหน้าที่เหล่านี้ได้กระทำไปในนามของกรมสรรพากร เมื่อโจทก์เห็นว่าการปฏิบัติงานของเจ้าหน้าที่ดังกล่าวไม่ถูกต้อง โจทก์ย่อมฟ้องกรมสรรพากรเป็นจำเลยด้วยได้
ข้อความในเอกสาร "ข้าพเจ้า (โจทก์) ขอรับผิดชอบในการที่จะจัดส่งสิ่งของที่ระบุไว้ข้างล่างนี้ไปยังจุดหมายปลายทางโดยมิให้มีการสูญหรือเสียหายเกิดขึ้นเลย" เป็นเพียงข้อสัญญาที่โจทก์ให้ไว้ว่าจะจัดส่งสิ่งของไปยังจุดหมายปลายทางโดยความปลอดภัย มิให้สิ่งของเหล่านั้นสูญหรือเสียหาย ซึ่งถ้าเกิดสูญหรือเสียหาย โจทก์ยอมรับใช้ค่าเสียหายเอกสารดังกล่าวมิได้มีข้อความว่า โจทก์ได้รับสินค้าไป และออกใบรับของให้ เอกสารดังกล่าวจึงถือไม่ได้ว่าเป็นใบรับของตามความหมายในข้อ 16 แห่งบัญชีอัตราอากรแสตมป์ตามประมวลรัษฎากร โจทก์ไม่มีหน้าที่จะต้องเสียอากรแสตมป์

คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 390/2511

ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้ อำนาจฟ้องกรมสรรพากร และการเสียอากรแสตมป์ในเอกสารรับของที่ไม่ใช่ใบรับของตามกฎหมาย
หนังสือที่สั่งให้โจทก์นำเงินอากรและเงินเพิ่มอากรไปชำระ ลงสถานที่กรมสรรพากร. ผู้ลงนามเป็นเจ้าหน้าที่กรมสรรพากร. คณะกรรมการพิจารณาอุทธรณ์มีอธิบดีกรมสรรพากรเป็นประธานประกอบกับประมวลรัษฎากร มาตรา 5 บัญญัติว่า. ภาษีอากรฝ่ายสรรพากรอยู่ในอำนาจหน้าที่และควบคุมของกรมสรรพากร.เห็นได้ชัดว่าเจ้าหน้าที่เหล่านี้ได้กระทำไปในนามของกรมสรรพากร. เมื่อโจทก์เห็นว่าการปฏิบัติงานของเจ้าหน้าที่ดังกล่าวไม่ถูกต้อง. โจทก์ย่อมฟ้องกรมสรรพากรเป็นจำเลยด้วยได้.
ข้อความในเอกสาร 'ข้าพเจ้า(โจทก์)ขอรับผิดชอบในการที่จะจัดส่งสิ่งของที่ระบุไว้ข้างล่างนี้ไปยังจุดหมายปลายทางโดยมิให้มีการสูญหรือเสียหายเกิดขึ้นเลย'. เป็นเพียงข้อสัญญาที่โจทก์ให้ไว้ว่าจะจัดส่งสิ่งของไปยังจุดหมายปลายทางโดยความปลอดภัยมิให้สิ่งของเหล่านั้นสูญหรือเสียหาย. ซึ่งถ้าเกิดสูญหรือเสียหาย. โจทก์ยอมรับใช้ค่าเสียหายเอกสารดังกล่าวมิได้มีข้อความว่า. โจทก์ได้รับสินค้าไป และออกใบรับของให้. เอกสารดังกล่าวจึงถือไม่ได้ว่าเป็นใบรับของตามความหมายในข้อ 16 แห่งบัญชีอัตราอากรแสตมป์ตามประมวลรัษฎากร. โจทก์ไม่มีหน้าที่จะต้องเสียอากรแสตมป์.

คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 390/2511 เวอร์ชัน 2 คำพิพากษาฎีกานี้ มีเนื้อหาจากเว็บทางการหลายรูปแบบ

ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้ อำนาจฟ้องกรมสรรพากร และการเสียอากรแสตมป์จากเอกสารรับรองการขนส่ง
หนังสือที่สั่งให้โจทก์นำเงินอากรและเงินเพิ่มอากรไปชำระลงสถานที่กรมสรรพากร ผู้ลงนามเป็นเจ้าหน้าที่กรมสรรพากร คณะกรรมการพิจารณาอุทธรณ์มีอธิบดีกรมสรรพากรเป็นประธานประกอบกับประมวลรัษฎากร มาตรา 5 บัญญัติว่า ภาษีอากรฝ่ายสรรพากรอยู่ในอำนาจหน้าที่และควบคุมของกรมสรรพากรเห็นได้ชัดว่าเจ้าหน้าที่เหล่านี้ได้กระทำไปในนามของกรมสรรพากร เมื่อโจทก์เห็นว่าการปฏิบัติงานของเจ้าหน้าที่ดังกล่าวไม่ถูกต้อง โจทก์ย่อมฟ้องกรมสรรพากรเป็นจำเลยด้วยได้
ข้อความในเอกสาร 'ข้าพเจ้า(โจทก์)ขอรับผิดชอบในการที่จะจัดส่งสิ่งของที่ระบุไว้ข้างล่างนี้ไปยังจุดหมายปลายทางโดยมิให้มีการสูญหรือเสียหายเกิดขึ้นเลย' เป็นเพียงข้อสัญญาที่โจทก์ให้ไว้ว่าจะจัดส่งสิ่งของไปยังจุดหมายปลายทางโดยความปลอดภัยมิให้สิ่งของเหล่านั้นสูญหรือเสียหาย ซึ่งถ้าเกิดสูญหรือเสียหาย โจทก์ยอมรับใช้ค่าเสียหายเอกสารดังกล่าวมิได้มีข้อความว่า โจทก์ได้รับสินค้าไป และออกใบรับของให้เอกสารดังกล่าวจึงถือไม่ได้ว่าเป็นใบรับของตามความหมายในข้อ 16 แห่งบัญชีอัตราอากรแสตมป์ตามประมวลรัษฎากร โจทก์ไม่มีหน้าที่จะต้องเสียอากรแสตมป์

คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 374/2511

ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้ มูลหนี้เช็คหลังวันพิทักษ์ทรัพย์ คำขอรับชำระหนี้ต้องห้ามตาม พ.ร.บ.ล้มละลาย
เอาเช็คของลูกหนี้มาขอรับชำระหนี้ เช็คนั้นลงวันที่หลังวันพิทักษ์ทรัพย์. เมื่อผู้ร้องขอรับชำระหนี้สืบไม่ได้.ตามที่อ้างว่าลูกหนี้ออกเช็คให้เป็นการชำระราคาผ้าซึ่งลูกหนี้ซื้อจากผู้ร้องก่อนวันพิทักษ์ทรัพย์. ต้องถือว่ามูลหนี้เกิดในวันที่ลงในเช็ค คำขอรับชำระหนี้ต้องห้ามตามมาตรา94 นี้.

คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 374/2511 เวอร์ชัน 2 คำพิพากษาฎีกานี้ มีเนื้อหาจากเว็บทางการหลายรูปแบบ

ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้ หนี้เช็คหลังพิทักษ์ทรัพย์: คำขอรับชำระหนี้ถูกจำกัดตามกฎหมายล้มละลาย
เอาเช็คของลูกหนี้มาขอรับชำระหนี้ เช็คนั้นลงวันที่หลังวันพิทักษ์ทรัพย์ เมื่อผู้ร้องขอรับชำระหนี้สืบไม่ได้ตามที่อ้างว่าลูกหนี้ออกเช็คให้เป็นการชำระราคาผ้าซึ่งลูกหนี้ซื้อจากผู้ร้องก่อนวันพิทักษ์ทรัพย์ ต้องถือว่ามูลหนี้เกิดในวันที่ลงในเช็ค คำขอรับชำระหนี้ต้องห้ามตามมาตรา94 นี้

คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 374/2511 เวอร์ชัน 3 คำพิพากษาฎีกานี้ มีเนื้อหาจากเว็บทางการหลายรูปแบบ

ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้ หนี้เช็คหลังพิทักษ์ทรัพย์: คำขอรับชำระหนี้เป็นไปตามกฎหมายล้มละลาย
เอาเช็คของลูกหนี้มาขอรับชำระหนี้ เช็คนั้นลงวันที่หลังวันพิทักษ์ทรัพย์ เมื่อผู้ร้องขอรับชำระหนี้สืบไม่ได้ตามที่อ้างว่าลูกหนี้ออกเช็คให้เป็นการชำระราคาผ้าซึ่งลูกหนี้ซื้อจากผู้ร้องก่อนวันพิทักษ์ทรัพย์ ต้องถือว่ามูลหนี้เกิดในวันที่ลงเช็ค คำขอรับชำระหนี้ต้องห้ามตามมาตรา 94 นี้

คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 367/2511

ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้ อายุความค้ำประกัน, ความรับผิดของผู้ค้ำประกันร่วม, การปลดหนี้เฉพาะส่วนไม่กระทบความรับผิดของผู้ค้ำประกันอื่น
ค้ำประกัน ไม่มีกฎหมายบัญญัติไว้ว่ามีกำหนดอายุความเท่าใด. จึงมีกำหนดอายุความสิบปีตามประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ มาตรา 164.
การบรรยายฟ้องที่ไม่เคลือบคลุม.
จำเลยที่ 1 ทำสัญญาเบิกเงินเกินบัญชีกับธนาคารโจทก์โดยมีจำเลยที่ 2 เป็นผู้ค้ำประกันหนี้อัตราหนึ่ง. ต่อมาจำเลยที่ 3 ได้เข้าค้ำประกันการเบิกเงินเกินบัญชีของจำเลยที่1 อีกอัตราหนึ่ง. ดังนี้ หาทำให้จำเลยที่ 2 พ้นความรับผิดต่อโจทก์ไม่.
จำเลยที่ 2 ที่ 3 มีความรับผิดต่อโจทก์ในฐานะผู้ค้ำประกันการที่จำเลยที่ 1 เบิกเงินเกินบัญชีอันเป็นบัญชีเดียวกัน. จำเลยทั้งสองจึงต้องรับผิดอยู่ตามจำนวนที่จำเลยที่ 1 เป็นลูกหนี้ภายในจำนวนที่จำเลยที่ 2 และที่ 3 ค้ำประกันไว้. แม้โจทก์ยอมรับการชำระหนี้จากจำเลยที่ 3 จำนวนหนึ่งและปลดหนี้ให้โดยการถอนฟ้องเฉพาะจำเลยที่ 3 เสียนั้น. ก็หาใช่เป็นประโยชน์แก่จำเลยที่ 2จนถึงกับให้จำเลยที่ 2 หลุดพ้นความรับผิดไปด้วยไม่.เพราะหนี้รายนี้ยังมิได้ชำระโดยสิ้นเชิง. การปลดหนี้ดังกล่าวคงเป็นประโยชน์เพียงเท่าส่วนที่ได้ปลดไปเท่านั้น.
ปัญหาว่าบริษัทจำเลยไม่มีวัตถุประสงค์ค้ำประกันหนี้. หากไปประกันหนี้จะต้องรับผิดหรือไม่. มิใช่ปัญหาข้อกฎหมายเกี่ยวด้วยความสงบเรียบร้อยของประชาชน.

คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 367/2511 เวอร์ชัน 2 คำพิพากษาฎีกานี้ มีเนื้อหาจากเว็บทางการหลายรูปแบบ

ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้ อายุความค้ำประกัน - ความรับผิดของผู้ค้ำประกันร่วม - การปลดหนี้เฉพาะบางส่วนไม่กระทบความรับผิดของผู้อื่น
ค้ำประกัน ไม่มีกฎหมายบัญญัติไว้ว่ามีกำหนดอายุความเท่าใดจึงมีกำหนดอายุความสิบปีตามประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ มาตรา 164
การบรรยายฟ้องที่ไม่เคลือบคลุม
จำเลยที่ 1 ทำสัญญาเบิกเงินเกินบัญชีกับธนาคารโจทก์โดยมี
จำเลยที่ 2 เป็นผู้ค้ำประกันหนี้อัตราหนึ่ง ต่อมาจำเลยที่ 3 ได้เข้าค้ำประกันการเบิกเงินเกินบัญชีของจำเลยที่1 อีกอัตราหนึ่งดังนี้หาทำให้จำเลยที่ 2 พ้นความรับผิดต่อโจทก์ไม่
จำเลยที่ 2 ที่ 3 มีความรับผิดต่อโจทก์ในฐานะผู้ค้ำประกันการที่จำเลยที่ 1 เบิกเงินเกินบัญชีอันเป็นบัญชีเดียวกัน จำเลยทั้งสองจึงต้องรับผิดอยู่ตามจำนวนที่จำเลยที่ 1 เป็นลูกหนี้ภายในจำนวนที่จำเลยที่ 2 และที่ 3 ค้ำประกันไว้ แม้โจทก์ยอมรับการชำระหนี้จากจำเลยที่ 3 จำนวนหนึ่งและปลดหนี้ให้โดยการถอนฟ้องเฉพาะจำเลยที่ 3 เสียนั้นก็หาใช่เป็นประโยชน์แก่จำเลยที่ 2 จนถึงกับให้จำเลยที่ 2 หลุดพ้นความรับผิดไปด้วยไม่เพราะหนี้รายนี้ยังมิได้ชำระโดยสิ้นเชิงการปลดหนี้ดังกล่าวคงเป็นประโยชน์เพียงเท่าส่วนที่ได้ปลดไปเท่านั้น
ปัญหาว่าบริษัทจำเลยไม่มีวัตถุประสงค์ค้ำประกันหนี้หากไปประกันหนี้จะต้องรับผิดหรือไม่มิใช่ปัญหาข้อกฎหมายเกี่ยวด้วยความสงบเรียบร้อยของประชาชน

คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 367/2511 เวอร์ชัน 3 คำพิพากษาฎีกานี้ มีเนื้อหาจากเว็บทางการหลายรูปแบบ

ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้ อายุความค้ำประกัน, ความรับผิดของผู้ค้ำประกันร่วม, การปลดหนี้เฉพาะส่วนไม่กระทบความรับผิดของผู้อื่น
ค้ำประกัน ไม่มีกฎหมายบัญญัติไว้ว่ามีกำหนดอายุความเท่าใด จึงมีกำหนดอายุความสิบปีตามประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ มาตรา 164
การบรรยายฟ้องที่ไม่เคลือบคลุม
จำเลยที่ 1 ทำสัญญาเบิกเงินเกินบัญชีกับธนาคารโจทก์โดยมีจำเลยที่ 2 เป็นผู้ค้ำประกันหนี้อัตราหนึ่ง ต่อมาจำเลยที่ 3 ได้เข้าค้ำประกันการเบิกเงินเกินบัญชีของจำเลยที่ 1 อีกอัตราหนึ่ง ดังนี้ หาทำให้จำเลยที่ 2 พ้นความรับผิดต่อโจทก์ไม่
จำเลยที่ 2 ที่ 3 มีความรับผิดต่อโจทก์ ในฐานะผู้ค้ำประกันการที่จำเลยที่ 1 เบิกเงินเกินบัญชีอันเป็นบัญชีเดียวกัน จำเลยทั้งสองจึงต้องรับผิดอยู่ตามจำนวนที่จำเลยที่ 1 เป็นลูกหนี้ภายในจำนวนที่จำเลยที่ 2 และที่ 3 ค้ำประกันไว้ แม้โจทก์ยอมรับการชำระหนี้จากจำเลยที่ 3 จำนวนหนึ่งและปลดหนี้ให้โดยการถอนฟ้องเฉพาะจำเลยที่ 3 เสียนั้น ก็หาใช่เป็นประโยชน์แก่จำเลยที่ 2 จนถึงกับให้จำเลยที่ 2 หลุดพ้นความรับผิดไปด้วยไม่ เพราะหนี้รายนี้ยังมิได้ชำระโดยสิ้นเชิง การปลดหนี้ดังกล่าวคงเป็นประโยชน์เพียงเท่าส่วนที่ได้ปลดไปเท่านั้น
ปัญหาว่าบริษัทจำเลยไม่มีวัตถุประสงค์ค้ำประกันหนี้ หากไปประกันหนี้จะต้องรับผิดหรือไม่ มิใช่ปัญหาข้อกฎหมายเกี่ยวด้วยความสงบเรียบร้อยของประชาชน

คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 361/2511 เวอร์ชัน 3 คำพิพากษาฎีกานี้ มีเนื้อหาจากเว็บทางการหลายรูปแบบ

ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้ กรรมสิทธิ์รถเช่าซื้อ: แม้ครอบครองเพื่อใช้ในธุรกิจ แต่ป้ายทะเบียนแสดงเจ้าของเดิม ยืนยันกรรมสิทธิ์
เมื่อทำสัญญาเช่าซื้อรถพิพาทแล้ว จำเลยเอารถมาใช้รับส่งเด็กนักเรียนของจำเลย ได้เขียนเครื่องหมายอักษรย่อชื่อโรงเรียนไว้ที่กระจกท้ายรถตลอดมา จนเจ้าพนักงานพิทักษ์ทรัพย์ไปยึดเอามา แต่ที่กระจกหน้ารถมีกระดาษวงกลมของนายทะเบียนยานพาหนะระบุชื่อผู้เป็นเจ้าของรถ และทะเบียนรถมีอยู่ที่กองทะเบียนยานพาหนะก็ลงว่าผู้ร้องเป็นเจ้าของรถ ดังนี้ แม้รถจะอยู่ในความครอบครองหรืออำนาจสั่งการในธุรกิจของจำเลยด้วยความยินยอมของผู้ร้อง ตามพฤติการณ์ยังไม่ทำให้เห็นว่าจำเลยเป็นเจ้าของรถ เพราะป้ายทะเบียนวงกลมของนายทะเบียนยานพาหนะยังแสดงให้ประจักษ์แก่คนทั้งหลายว่าผู้ร้องเป็นเจ้าของรถ ส่วนตราอักษรชื่อย่อของโรงเรียนเขียนไว้ที่กระจกด้านหลังรถก็เป็นเพียงแสดงให้รู้ว่าเป็นรถรับส่งนักเรียนโรงเรียนใดเท่านั้น ไม่ได้ระบุว่าโรงเรียนเป็นเจ้าของรถ แม้ที่รถมีทั้งป้ายวงกลมของกองทะเบียนและตราอักษรย่อชื่อโรงเรียนดังกล่าวอยู่ด้วย ผู้เห็นจะต้องเข้าใจว่าผู้ร้องเป็นเจ้าของรถมากกว่าจะคิดว่าโรงเรียนเป็นเจ้าของ และที่ผู้ร้องเป็นเจ้าของรถอันแท้จริง ยอมให้รถอยู่ในความครอบครองใช้สอยของจำเลย ก็เกิดจากสัญญาเช่าซื้อ พฤติการณ์ดังกล่าวย่อมไม่ทำให้เห็นว่าจำเลยผู้ล้มละลายเป็นเจ้าของรถพิพาท อันจะทำให้รถพิพาทตกเป็นทรัพย์สินในกองล้มละลายอันอาจแบ่งแก่เจ้าหนี้ได้ตามพระราชบัญญัติล้มละลาย พ.ศ. 2483 มาตรา 109 (3)
of 31