พบผลลัพธ์ทั้งหมด 301 รายการ
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 926/2510 เวอร์ชัน 2 คำพิพากษาฎีกานี้ มีเนื้อหาจากเว็บทางการหลายรูปแบบ
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
วันเวลาในคำฟ้องไม่เป็นสาระสำคัญ หากจำเลยไม่หลงข้อต่อสู้ ศาลลงโทษตามข้อเท็จจริงได้
โจทก์ฟ้องว่า จำเลยกระทำผิดฐานรับของโจร ในวันที่ 20 ตุลาคม 2508 เวลากลางคืนก่อนเที่ยง แต่ทางพิจารณาฟังได้ว่าจำเลยได้กระทำผิดเมื่อวันที่ 21 ตุลาคม 2508 เวลา 3 นาฬิกาเศษ วันเวลาตามที่ปรากฏในทางพิจารณาจึงแตกต่างกับเวลาดังที่กล่าวในฟ้อง ดังนี้ วันเวลาในคำฟ้องไม่เป็นสารสำคัญของคำฟ้อง เป็นแต่รายละเอียดเพื่อให้จำเลยเข้าใจข้อหาเท่านั้น เมื่อจำเลยมิได้หลงข้อต่อสู้ ศาลย่อมลงโทษจำเลยตามข้อเท็จจริงที่ได้ความดังกล่าวได้
(ประชุมใหญ่ครั้งที่ 4/2510)
(ประชุมใหญ่ครั้งที่ 4/2510)
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 910-920/2510
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
อำนาจเจ้าหน้าที่สั่งรื้ออาคาร: ศาลมีอำนาจวินิจฉัยหากไม่มีกฎหมายให้อำนาจเด็ดขาด และคำสั่งต้องมีเหตุผลตามกฎหมาย
ไม่ปรากฏว่ามีกฎหมายบัญญัติให้อำนาจแก่เจ้าหน้าที่ท้องถิ่นให้มีอำนาจสั่งแก่เจ้าของหรือผู้ครอบครองอาคารรื้อถอนอาคารที่โจทก์เช่าอยู่อาศัยได้โดยเด็ดขาด เป็นที่สุดฉะนั้น ศาลจึงย่อมมีอำนาจวินิจฉัยข้อพิพาทในคดีพิพาทระหว่างผู้เช่าอาคารกับเจ้าหน้าที่ท้องถิ่นได้
ตามพระราชบัญญัติควบคุมการก่อสร้างอาคาร ฯลฯ มิได้ถือเอาสภาพอันเป็นที่น่ารังเกียจของอาคารพิพาทเป็นลักษณะสำคัญอันเป็นที่ตั้งแห่งการวินิจฉัยที่จะให้อำนาจเจ้าหน้าที่ท้องถิ่นสั่งรื้อถอนอาคารพิพาท
คำว่า "ไม่มั่นคงแข็งแรงไม่ปลอดภัย อันอาจเป็นอันตรายต่อชีวิต ร่างกายและทรัพย์สิน" คำว่า "อาจ" ไม่มี ความหมายตรงกันกับคำว่า "น่า" เพราะโอกาสที่จะเป็นอันตราย ฯลฯ ตามความหมายแห่งถ้อยคำทั้งสองดังกล่าวนั้นต่างกัน กล่าวคือ ตามพจนานุกรมคำว่า "น่า" แปลว่า"ควร ฯลฯ " ซึ่งมีความหมายแน่นอนกว่า "อาจ" ซึ่งแปลงเพียงว่า " เป็นได้ ฯลฯ" เท่านั้น ฉะนั้น เมื่อคดีได้ความว่า อาคารพิพาทอยู่ใน สภาพมั่นคงพอที่อยู่อาศัยได้ตามปกติโดยปลอดภัย คำสั่งของจำเลย ซึ่งเป็นเจ้าหน้าที่ท้องถิ่นให้รื้อถอนอาคารพิพาทจึงมิได้ตั้งอยู่บนเหตุผล และไม่มีมูลฐานตามกฎหมาย
คำสั่งของจำเลยที่ 891/2506 สั่งให้บริษัท น. รื้อถอนอาคารของบริษัท น. ที่โจทก์เช่าอยู่ มิได้บังคับโจทก์อย่างใด จึงไม่มีข้อพิพาทเกี่ยวแก่คำสั่งนี้กับโจทก์ฉะนั้นโจทก์จะยกขึ้นอ้างเป็นมูลฟ้องหาได้ไม่ ส่วนคำสั่งของจำเลยที่ 3643/2506 ได้อ้างถึงคำสั่งของเจ้าหน้าที่ท้องถิ่นที่ 762/1 และสั่งให้โจทก์ผู้ครอบครองอาคารเลิกใช้อาคาร กับให้จัดการขนย้าย ฯลฯ โจทก์จึงมีสิทธิยกขึ้นเป็นมูลฟ้องได้
คดีมีปัญหาโต้แย้งกันขึ้นว่า จำเลยซึ่งเป็นเจ้าหน้าที่ท้องถิ่น มีอำนาจสั่งให้รื้อถอนอาคารพิพาทหรือไม่ และคำสั่งของจำเลยเป็นคำสั่งที่ชอบด้วยกฎหมายหรือไม่ซึ่งเกี่ยวกับสิทธิและหน้าที่ของจำเลย ดังนี้ โจทก์มีอำนาจฟ้องให้เพิกถอนคำสั่งของจำเลยได้
ตามพระราชบัญญัติควบคุมการก่อสร้างอาคาร ฯลฯ มิได้ถือเอาสภาพอันเป็นที่น่ารังเกียจของอาคารพิพาทเป็นลักษณะสำคัญอันเป็นที่ตั้งแห่งการวินิจฉัยที่จะให้อำนาจเจ้าหน้าที่ท้องถิ่นสั่งรื้อถอนอาคารพิพาท
คำว่า "ไม่มั่นคงแข็งแรงไม่ปลอดภัย อันอาจเป็นอันตรายต่อชีวิต ร่างกายและทรัพย์สิน" คำว่า "อาจ" ไม่มี ความหมายตรงกันกับคำว่า "น่า" เพราะโอกาสที่จะเป็นอันตราย ฯลฯ ตามความหมายแห่งถ้อยคำทั้งสองดังกล่าวนั้นต่างกัน กล่าวคือ ตามพจนานุกรมคำว่า "น่า" แปลว่า"ควร ฯลฯ " ซึ่งมีความหมายแน่นอนกว่า "อาจ" ซึ่งแปลงเพียงว่า " เป็นได้ ฯลฯ" เท่านั้น ฉะนั้น เมื่อคดีได้ความว่า อาคารพิพาทอยู่ใน สภาพมั่นคงพอที่อยู่อาศัยได้ตามปกติโดยปลอดภัย คำสั่งของจำเลย ซึ่งเป็นเจ้าหน้าที่ท้องถิ่นให้รื้อถอนอาคารพิพาทจึงมิได้ตั้งอยู่บนเหตุผล และไม่มีมูลฐานตามกฎหมาย
คำสั่งของจำเลยที่ 891/2506 สั่งให้บริษัท น. รื้อถอนอาคารของบริษัท น. ที่โจทก์เช่าอยู่ มิได้บังคับโจทก์อย่างใด จึงไม่มีข้อพิพาทเกี่ยวแก่คำสั่งนี้กับโจทก์ฉะนั้นโจทก์จะยกขึ้นอ้างเป็นมูลฟ้องหาได้ไม่ ส่วนคำสั่งของจำเลยที่ 3643/2506 ได้อ้างถึงคำสั่งของเจ้าหน้าที่ท้องถิ่นที่ 762/1 และสั่งให้โจทก์ผู้ครอบครองอาคารเลิกใช้อาคาร กับให้จัดการขนย้าย ฯลฯ โจทก์จึงมีสิทธิยกขึ้นเป็นมูลฟ้องได้
คดีมีปัญหาโต้แย้งกันขึ้นว่า จำเลยซึ่งเป็นเจ้าหน้าที่ท้องถิ่น มีอำนาจสั่งให้รื้อถอนอาคารพิพาทหรือไม่ และคำสั่งของจำเลยเป็นคำสั่งที่ชอบด้วยกฎหมายหรือไม่ซึ่งเกี่ยวกับสิทธิและหน้าที่ของจำเลย ดังนี้ โจทก์มีอำนาจฟ้องให้เพิกถอนคำสั่งของจำเลยได้
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 910-920/2510 เวอร์ชัน 2 คำพิพากษาฎีกานี้ มีเนื้อหาจากเว็บทางการหลายรูปแบบ
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
อำนาจเจ้าหน้าที่สั่งรื้ออาคาร, เหตุผลทางกฎหมาย, สิทธิผู้เช่า, คำสั่งไม่ชอบด้วยกฎหมาย
ไม่ปรากฏว่ามีกฎหมายบัญญัติให้อำนาจแก่เจ้าหน้าที่ท้องถิ่นให้มีอำนาจสั่งแก่เจ้าของหรือผู้ครอบครองอาคารรื้อถอนอาคารที่โจทก์เช่าอยู่อาศัยได้โดยเด็ดขาด เป็นที่สุดฉะนั้น ศาลจึงย่อมมีอำนาจวินิจฉัยข้อพิพาทในคดีพิพาทระหว่างผู้เช่าอาคารกับเจ้าหน้าที่ท้องถิ่นได้
ตามพระราชบัญญัติควมคุมการก่อสร้างอาคาร ฯลฯ มิได้ถือเอาสภาพอันเป็นที่น่ารังเกียจของอาคารพิพาทเป็นลักษณะสำคัญ อันเป็นที่ตั้งแห่งการวินิจฉัยที่จะให้อำนาจเจ้าหน้าที่ท้องถิ่นสั่งรื้อถอนอาคารพิพาท
คำว่า " ไม่มั่นคงแข็งแรงไม่ปลอดภัย อันอาจเป็นอันตรายต่อชีวิต ร่างกายและทรัพย์สิน" คำว่า "อาจ" ไม่มีความหมายตรงกันกับคำว่า "น่า" เพราะโอกาสที่จะเป็นอันตราย ฯลฯ ตามความหมายแห่งถ้อยคำทั้งสองดังกล่าวนั้นต่างกัน กล่าวคือ ตามพจนานุกรมคำว่า "น่า" แปล-ว่า "ควร ฯลฯ" ซึ่งมีความหมายแน่นอนกว่า "อาจ" ซึ่งแปลงเพียงว่า"เป็นได้ ฯลฯ" เท่านั้น ฉะนั้น เมื่อคดีได้ความว่า อาคารพิพาทอยู่ในสภาพมั่นคงพอที่อยู่อาศัยได้ตามปกติโดยปลอดภัย คำสั่งของจำเลยซึ่งเป็นเจ้าหน้าที่ท้องถิ่นให้รื้อถอนอาคารพิพาทจึงมิได้ตั้งอยู่บนเหตุผลและไม่มีมูลฐานตามกฎหมาย
คำสั่งของจำเลยที่ 891/2506 สั่งให้บริษัท น. รื้อถอนอาคารของบริษัท น. ที่โจทก์เช่าอยู่ มิได้บังคับโจทก์อย่างใด จึงไม่มีข้อพิพาทเกี่ยวแก่คำสั่งนี้กับโจทก์ ฉะนั้นโจทก์จะยกขึ้นอ้างเป็นมูลฟ้องหาได้ไม่ ส่วนคำสั่งของจำเลยที่ 3643/2506 ได้อ้างถึงคำสั่งของเจ้าหน้าที่ท้องถิ่นที่ 762/1 และสั่งให้โจทก์ผู้ครอบครองอาคารเลิกใช้อาคาร กับให้จัดการขนย้าย ฯลฯ โจทก์จึงมีสิทธิยกขึ้นเป็นมูลฟ้องได้
คดีมีปัญหาโต้แย้งกันขึ้นว่า จำเลยซึ่งเป็นเจ้าหน้าที่ท้องถิ่น มีอำนาจสั่งให้รื้อถอนอาคารพิพาทหรือไม่ และคำสั่งของจำเลยเป็นคำสั่งที่ชอบด้วยกฎหมายหรือไม่ซึ่งเกี่ยวกับสิทธิและหน้าที่ของจำเลย ดังนี้ โจทก์มีอำนาจฟ้องให้เพิกถอนคำสั่งของจำเลยได้
ตามพระราชบัญญัติควมคุมการก่อสร้างอาคาร ฯลฯ มิได้ถือเอาสภาพอันเป็นที่น่ารังเกียจของอาคารพิพาทเป็นลักษณะสำคัญ อันเป็นที่ตั้งแห่งการวินิจฉัยที่จะให้อำนาจเจ้าหน้าที่ท้องถิ่นสั่งรื้อถอนอาคารพิพาท
คำว่า " ไม่มั่นคงแข็งแรงไม่ปลอดภัย อันอาจเป็นอันตรายต่อชีวิต ร่างกายและทรัพย์สิน" คำว่า "อาจ" ไม่มีความหมายตรงกันกับคำว่า "น่า" เพราะโอกาสที่จะเป็นอันตราย ฯลฯ ตามความหมายแห่งถ้อยคำทั้งสองดังกล่าวนั้นต่างกัน กล่าวคือ ตามพจนานุกรมคำว่า "น่า" แปล-ว่า "ควร ฯลฯ" ซึ่งมีความหมายแน่นอนกว่า "อาจ" ซึ่งแปลงเพียงว่า"เป็นได้ ฯลฯ" เท่านั้น ฉะนั้น เมื่อคดีได้ความว่า อาคารพิพาทอยู่ในสภาพมั่นคงพอที่อยู่อาศัยได้ตามปกติโดยปลอดภัย คำสั่งของจำเลยซึ่งเป็นเจ้าหน้าที่ท้องถิ่นให้รื้อถอนอาคารพิพาทจึงมิได้ตั้งอยู่บนเหตุผลและไม่มีมูลฐานตามกฎหมาย
คำสั่งของจำเลยที่ 891/2506 สั่งให้บริษัท น. รื้อถอนอาคารของบริษัท น. ที่โจทก์เช่าอยู่ มิได้บังคับโจทก์อย่างใด จึงไม่มีข้อพิพาทเกี่ยวแก่คำสั่งนี้กับโจทก์ ฉะนั้นโจทก์จะยกขึ้นอ้างเป็นมูลฟ้องหาได้ไม่ ส่วนคำสั่งของจำเลยที่ 3643/2506 ได้อ้างถึงคำสั่งของเจ้าหน้าที่ท้องถิ่นที่ 762/1 และสั่งให้โจทก์ผู้ครอบครองอาคารเลิกใช้อาคาร กับให้จัดการขนย้าย ฯลฯ โจทก์จึงมีสิทธิยกขึ้นเป็นมูลฟ้องได้
คดีมีปัญหาโต้แย้งกันขึ้นว่า จำเลยซึ่งเป็นเจ้าหน้าที่ท้องถิ่น มีอำนาจสั่งให้รื้อถอนอาคารพิพาทหรือไม่ และคำสั่งของจำเลยเป็นคำสั่งที่ชอบด้วยกฎหมายหรือไม่ซึ่งเกี่ยวกับสิทธิและหน้าที่ของจำเลย ดังนี้ โจทก์มีอำนาจฟ้องให้เพิกถอนคำสั่งของจำเลยได้
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 909/2510 เวอร์ชัน 2 คำพิพากษาฎีกานี้ มีเนื้อหาจากเว็บทางการหลายรูปแบบ
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
การโอนการครอบครองที่ดินหลังสัญญาซื้อขายเป็นโมฆะ ทำให้ผู้ซื้อได้สิทธิครอบครอง
โจทก์ฟ้องว่า เดิมที่พิพาทเป็นที่ป่าเป็นของจำเลย จำเลยให้โจทก์บุกเบิกแล้วจำเลยได้ขายที่พิพาทนั้นให้แก่โจทก์
โจทก์ใช้สิทธิครอบครองทำประโยชน์ ต่อมาจำเลยบุกรุกที่พิพาท ขอให้แสดงว่าที่พิพาทเป็นของโจทก์ ห้ามจำเลยและบริวารเกี่ยวข้อง ดังนี้ คำฟ้องโจทก์มีสภาพแห่งข้อหาว่าโจทก์ใช้สิทธิครอบครองทำประโยชน์ในที่พิพาท ข้ออ้างที่อาศัยเป็นหลักแห่งข้อหามีว่า จำเลยขายที่พิพาทให้โจทก์ แล้วโจทก์ได้ครอบครอง เมื่อจำเลยให้การปฏิเสธข้อกล่าวอ้างเหล่านี้ จึงเป็นประเด็นที่จะต้องวินิจฉัย ส่วนที่ว่าเดิมที่พิพาทเป็นที่ป่าหรือไม่ ไม่เกี่ยวกับประเด็นแห่งคดี และไม่ทำให้ผลของคดีเปลี่ยนแปลง
ทำสัญญาซื้อขายที่ดินไม่มีหนังสือสำคัญสำหรับที่ดิน โดยไม่ได้จดทะเบียนต่อพนักงานเจ้าหน้าที่ แม้จะเป็นโมฆะ แต่เมื่อผู้ขายโอนการครอบครองให้ผู้ซื้อ และผู้ซื้อได้ยึดถือครอบครองที่ดินนั้นเป็นเวลากว่า 4 ปี ดังนี้ การครอบครองของผู้ขายย่อมสุดสิ้นลงตามประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ มาตรา 1377, 1378 ผู้ซื้อย่อมได้สิทธิครอบครองที่ดินนั้น
โจทก์ใช้สิทธิครอบครองทำประโยชน์ ต่อมาจำเลยบุกรุกที่พิพาท ขอให้แสดงว่าที่พิพาทเป็นของโจทก์ ห้ามจำเลยและบริวารเกี่ยวข้อง ดังนี้ คำฟ้องโจทก์มีสภาพแห่งข้อหาว่าโจทก์ใช้สิทธิครอบครองทำประโยชน์ในที่พิพาท ข้ออ้างที่อาศัยเป็นหลักแห่งข้อหามีว่า จำเลยขายที่พิพาทให้โจทก์ แล้วโจทก์ได้ครอบครอง เมื่อจำเลยให้การปฏิเสธข้อกล่าวอ้างเหล่านี้ จึงเป็นประเด็นที่จะต้องวินิจฉัย ส่วนที่ว่าเดิมที่พิพาทเป็นที่ป่าหรือไม่ ไม่เกี่ยวกับประเด็นแห่งคดี และไม่ทำให้ผลของคดีเปลี่ยนแปลง
ทำสัญญาซื้อขายที่ดินไม่มีหนังสือสำคัญสำหรับที่ดิน โดยไม่ได้จดทะเบียนต่อพนักงานเจ้าหน้าที่ แม้จะเป็นโมฆะ แต่เมื่อผู้ขายโอนการครอบครองให้ผู้ซื้อ และผู้ซื้อได้ยึดถือครอบครองที่ดินนั้นเป็นเวลากว่า 4 ปี ดังนี้ การครอบครองของผู้ขายย่อมสุดสิ้นลงตามประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ มาตรา 1377, 1378 ผู้ซื้อย่อมได้สิทธิครอบครองที่ดินนั้น
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 909/2510
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
การครอบครองปรปักษ์หลังสัญญาซื้อขายเป็นโมฆะ การโอนการครอบครองทำให้ผู้ซื้อได้สิทธิครอบครอง
โจทก์ฟ้องว่า เดิมที่พิพาทเป็นที่ป่าเป็นของจำเลยจำเลยให้โจทก์บุกเบิกแล้วจำเลยได้ขายที่พิพาทนั้นให้แก่โจทก์ โจทก์ใช้สิทธิครอบครองทำประโยชน์ ต่อมาจำเลยบุกรุกที่พิพาท ขอให้แสดงว่าที่พิพาทเป็นของโจทก์ ห้ามจำเลยและบริวารเกี่ยวข้อง ดังนี้คำฟ้องโจทก์มีสภาพแห่งข้อหาว่าโจทก์ใช้สิทธิครอบครองทำประโยชน์ในที่พิพาท ข้ออ้างที่อาศัยเป็นหลักแห่งข้อหามีว่า จำเลยขายที่พิพาทให้โจทก์แล้วโจทก์ได้ครอบครอง เมื่อจำเลยให้การปฏิเสธข้อกล่าวอ้างเหล่านี้ จึงเป็นประเด็นที่จะต้องวินิจฉัย ส่วนที่ว่าเดิมที่พิพาทเป็นที่ป่าหรือไม่ ไม่เกี่ยวกับประเด็นแห่งคดีและไม่ทำให้ผลของคดีเปลี่ยนแปลง
ทำสัญญาซื้อขายที่ดินไม่มีหนังสือสำคัญสำหรับที่ดิน โดยไม่ได้จดทะเบียนต่อพนักงานเจ้าหน้าที่ แม้จะเป็นโมฆะ แต่เมื่อผู้ขายโอนการครอบครองให้ผู้ซื้อ และผู้ซื้อได้ยึดถือครอบครองที่ดินนั้นเป็นเวลากว่า 4 ปี ดังนี้ การครอบครองของผู้ขายย่อมสุดสิ้นลงตามประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ มาตรา 1377,1378 ผู้ซื้อย่อมได้สิทธิครอบครองที่ดินนั้น
ทำสัญญาซื้อขายที่ดินไม่มีหนังสือสำคัญสำหรับที่ดิน โดยไม่ได้จดทะเบียนต่อพนักงานเจ้าหน้าที่ แม้จะเป็นโมฆะ แต่เมื่อผู้ขายโอนการครอบครองให้ผู้ซื้อ และผู้ซื้อได้ยึดถือครอบครองที่ดินนั้นเป็นเวลากว่า 4 ปี ดังนี้ การครอบครองของผู้ขายย่อมสุดสิ้นลงตามประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ มาตรา 1377,1378 ผู้ซื้อย่อมได้สิทธิครอบครองที่ดินนั้น
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 890/2510 เวอร์ชัน 2 คำพิพากษาฎีกานี้ มีเนื้อหาจากเว็บทางการหลายรูปแบบ
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
ความรับผิดในสัญญาเช่า: การไม่จัดการบรรเทาความเสียหายหลังศาลพิพากษาถึงที่สุด ทำให้สิทธิเรียกร้องค่าเสียหายสิ้นสุดลง
จำเลยทำสัญญาเช่าอสังหาริมทรัพย์จากโจทก์มีกำหนด 10 ปี โดยจดทะเบียนต่อพนักงานเจ้าหน้าที่ ก่อนครบกำหนดตามสัญญาเช่า จำเลยไม่ประสงค์จเช่าต่อไป แต่จำเลยไม่ได้ติดต่อเลิกการเช่ากับโจทก์ ทำให้โจทก์เข้าใจว่าสัญญาเช่ายังผูกพันอยู่ จำเลยย่อมจะต้องรับผิดใช้ค่าเสียหายให้แก่โจทก์ ต่อมาโจทก์ฟ้องจำเลยให้ชำระค่าเช่าที่ค้าง ศาลพิพากษาว่าจำเลยผิดสัญญา คดีถึงที่สุด โจทก์ก็มีทางดำเนินการเพื่อเลิกการเช่าเพื่อบรรเทาความเสียหายที่จะเกิดขึ้นแก่โจทก์ ถ้าโจทก์ไม่จัดการดังกล่าวถือว่าโจทก์มีส่วนผิดในความเสียหายอันเกิดแก่ตน ฉะนั้น นับแต่นั้นมาโจทก์ไม่มีสิทธิเรียกค่าเสียหายจากจำเลย
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 890/2510
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
การเลิกสัญญาเช่าก่อนกำหนด ความรับผิดในค่าเสียหาย และการบรรเทาความเสียหายของผู้ให้เช่า
จำเลยทำสัญญาเช่าอสังหาริมทรัพย์จากโจทก์มีกำหนด 10 ปีโดยจดทะเบียนต่อพนักงานเจ้าหน้าที่ ก่อนครบกำหนดตามสัญญาเช่า
จำเลยไม่ประสงค์จะเช่าต่อไป แต่จำเลยไม่ได้ติดต่อเลิกการเช่ากับโจทก์ ทำให้โจทก์เข้าใจว่าสัญญาเช่ายังผูกพันอยู่ จำเลยย่อมจะต้องรับผิดใช้ค่าเสียหายให้แก่โจทก์ ต่อมาโจทก์ฟ้องจำเลยให้ชำระค่าเช่าที่ค้าง ศาลพิพากษาว่าจำเลยผิดสัญญา คดีถึงที่สุด โจทก์ก็มีทางดำเนินการเพื่อเลิกการเช่าเพื่อบรรเทาความเสียหายที่จะเกิดขึ้นแก่โจทก์ ถ้าโจทก์ไม่จัดการดังกล่าวถือว่าโจทก์มีส่วนผิดในความเสียหายอันเกิดแก่ตน ฉะนั้น นับแต่นั้นมาโจทก์ไม่มีสิทธิเรียกค่าเสียหายจากจำเลย
จำเลยไม่ประสงค์จะเช่าต่อไป แต่จำเลยไม่ได้ติดต่อเลิกการเช่ากับโจทก์ ทำให้โจทก์เข้าใจว่าสัญญาเช่ายังผูกพันอยู่ จำเลยย่อมจะต้องรับผิดใช้ค่าเสียหายให้แก่โจทก์ ต่อมาโจทก์ฟ้องจำเลยให้ชำระค่าเช่าที่ค้าง ศาลพิพากษาว่าจำเลยผิดสัญญา คดีถึงที่สุด โจทก์ก็มีทางดำเนินการเพื่อเลิกการเช่าเพื่อบรรเทาความเสียหายที่จะเกิดขึ้นแก่โจทก์ ถ้าโจทก์ไม่จัดการดังกล่าวถือว่าโจทก์มีส่วนผิดในความเสียหายอันเกิดแก่ตน ฉะนั้น นับแต่นั้นมาโจทก์ไม่มีสิทธิเรียกค่าเสียหายจากจำเลย
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 855/2510 เวอร์ชัน 2 คำพิพากษาฎีกานี้ มีเนื้อหาจากเว็บทางการหลายรูปแบบ
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
การแก้ไขคำให้การหลังชี้สองสถาน และการผัดโอนที่ดินถือเป็นการผิดนัด
ประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความแพ่ง มาตรา 180 (2) มิได้ถือเอากำหนดเวลาที่คู่ความฝ่ายที่ขอแก้ไขคำฟ้องหรือคำให้การ อาจยื่นคำร้องได้ก่อนการชี้สองสถานหรือก่อนกำหนดเวลาชี้สองสถานเป็นเกณฑ์ แต่มาตรา 180 (2) ถือเอากำหนดที่อาจยื่นคำร้องได้ก่อนวันชี้สองสถาน เหตุนี้ ถ้าหากจำเลยทราบเหตุที่จะขอแก้คำให้การในวันชี้สองสถานนั้นเอง แม้จะทราบก่อนกำหนดเวลาที่เริ่มมีการชี้สองสถาน ก็ไม่เป็นเหตุที่จะไม่อนุญาตให้แก้
จำเลยขอผัดโอนที่ให้แก่โจทก์ไปไม่เกินวันที่ 15 โจทก์มีหนังสือตอบตกลงไปจำเลยกลับขอผัดไปหลังวันที่ 15 โจทก์มิได้ตกลงด้วย ดังนี้ ถือว่าจำเลยผิดนัดไม่โอนที่ดินให้แก่โจทก์แล้ว
จำเลยขอผัดโอนที่ให้แก่โจทก์ไปไม่เกินวันที่ 15 โจทก์มีหนังสือตอบตกลงไปจำเลยกลับขอผัดไปหลังวันที่ 15 โจทก์มิได้ตกลงด้วย ดังนี้ ถือว่าจำเลยผิดนัดไม่โอนที่ดินให้แก่โจทก์แล้ว
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 855/2510
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
การแก้ไขคำให้การหลังชี้สองสถาน และผลของการผิดนัดโอนที่ดิน
ประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความแพ่ง มาตรา 180(2) มิได้ถือเอากำหนดเวลาที่คู่ความฝ่ายที่ขอแก้ไขคำฟ้องหรือคำให้การ อาจยื่นคำร้องได้ก่อนการชี้สองสถานหรือก่อนกำหนดเวลาชี้สองสถานเป็นเกณฑ์ แต่มาตรา 180(2) ถือเอากำหนดที่อาจยื่นคำร้องได้ก่อนวันชี้สองสถาน เหตุนี้ ถ้าหากจำเลยทราบเหตุที่จะขอแก้คำให้การในวันชี้สองสถานนั้นเอง แม้จะทราบก่อนกำหนดเวลาที่เริ่มมีการชี้สองสถาน ก็ไม่เป็นเหตุ ที่จะไม่อนุญาตให้แก้
จำเลยขอผัดโอนที่ให้แก่โจทก์ไปไม่เกินวันที่ 15 โจทก์มีหนังสือตอบตกลงไป จำเลยกลับขอผัดไปหลังวันที่15 โจทก์มิได้ตกลงด้วย ดังนี้ ถือว่าจำเลยผิดนัดไม่โอนที่ดินให้แก่โจทก์แล้ว
จำเลยขอผัดโอนที่ให้แก่โจทก์ไปไม่เกินวันที่ 15 โจทก์มีหนังสือตอบตกลงไป จำเลยกลับขอผัดไปหลังวันที่15 โจทก์มิได้ตกลงด้วย ดังนี้ ถือว่าจำเลยผิดนัดไม่โอนที่ดินให้แก่โจทก์แล้ว
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 793/2510 เวอร์ชัน 2 คำพิพากษาฎีกานี้ มีเนื้อหาจากเว็บทางการหลายรูปแบบ
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
การพิสูจน์ฐานะบุคคลทางกฎหมายและการมอบอำนาจฟ้องคดี
ต้นฉบับเอกสารอันแท้จริงรับฟังเป็นพยานหลักฐานได้ แต่ส่วนข้อความในเอกสารจะถูกต้องตรงกับความจริงหรือไม่ เป็นข้อที่ศาลจะได้วินิจฉัยจากพยานหลักฐานในสำนวนอีกขั้นหนึ่ง
ข้อความในเอกสารซึ่งแสดงว่าบริษัทโจทก์มีสิทธิ์และหน้าที่ทำนิติกรรมมอบอำนาจได้ในนามของบริษัทโจทก์ โดยทำต่อเจ้าหน้าที่เป็นทางการ เป็นการเพียงพอจะที่จะฟังได้ว่าโจทก์มีฐานะที่จะฟ้องคดีได้ในนามของตนเอง
การพิสูจน์ฐานะบุคคลตามกฎหมายต่างประเทศ ไม่จำต้องพิสูจน์โดยวิจักษณ์พยานผู้รู้กฎหมายต่างประเทศโดยตรงแต่ทางเดียว พฤติการณ์ต่าง ๆ ที่แสดงถึงการมีฐานะใช้สิทธิ์ได้ตามกฎหมายดุจบุคคลทั่วไป ก็เป็นข้อเท็จจริงให้ศาลวินิจฉัยเช่นนั้นได้
ตามคำฟ้องปรากฏว่า โจทก์ที่ 2 ฟ้องคดีโดยการมอบอำนาจของโจทก์ที่ 1 โจทก์ที่ 2 จึงฟ้องคดีนี้เป็นส่วนตัวไม่ได้ แต่จะยกฟ้องเลยไปถึงโจทก์ที่ 1 ที่ฟ้องโดยโจทก์ที่ 2 รับมอบอำนาจด้วยไม่ได้
ข้อความในเอกสารซึ่งแสดงว่าบริษัทโจทก์มีสิทธิ์และหน้าที่ทำนิติกรรมมอบอำนาจได้ในนามของบริษัทโจทก์ โดยทำต่อเจ้าหน้าที่เป็นทางการ เป็นการเพียงพอจะที่จะฟังได้ว่าโจทก์มีฐานะที่จะฟ้องคดีได้ในนามของตนเอง
การพิสูจน์ฐานะบุคคลตามกฎหมายต่างประเทศ ไม่จำต้องพิสูจน์โดยวิจักษณ์พยานผู้รู้กฎหมายต่างประเทศโดยตรงแต่ทางเดียว พฤติการณ์ต่าง ๆ ที่แสดงถึงการมีฐานะใช้สิทธิ์ได้ตามกฎหมายดุจบุคคลทั่วไป ก็เป็นข้อเท็จจริงให้ศาลวินิจฉัยเช่นนั้นได้
ตามคำฟ้องปรากฏว่า โจทก์ที่ 2 ฟ้องคดีโดยการมอบอำนาจของโจทก์ที่ 1 โจทก์ที่ 2 จึงฟ้องคดีนี้เป็นส่วนตัวไม่ได้ แต่จะยกฟ้องเลยไปถึงโจทก์ที่ 1 ที่ฟ้องโดยโจทก์ที่ 2 รับมอบอำนาจด้วยไม่ได้