พบผลลัพธ์ทั้งหมด 301 รายการ
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 751/2511
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
สัญญาค้ำประกัน - หน้าที่แจ้งการยึดทรัพย์ - ความรับผิดของผู้ค้ำประกัน
ตามสัญญาเช่าซื้อและสัญญาค้ำประกันที่ทำไว้ ไม่ได้กำหนดว่า เมื่อผู้เช่าซื้อผิดนัดไม่ใช้เงินค่าเช่าซื้อ หรือเมื่อผู้ให้เช่าซื้อเลิกสัญญายึดทรัพย์ที่เช่าซื้อคืน.ผู้ให้เช่าซื้อจะต้องแจ้งให้ผู้ค้ำประกันทราบก่อน.ผู้ให้เช่าซื้อจึงไม่มีหน้าที่ตามกฎหมายที่จะต้องแจ้งให้ผู้ค้ำประกันทราบ.
ฎีกาซึ่งมิได้ยกข้อเท็จจริงหรือข้อกฎหมายขึ้นโต้แย้งคัดค้านคำพิพากษาศาลอุทธรณ์แต่ประการใด เป็นฎีกาที่ไม่ชอบด้วยกฎหมาย แม้ศาลชั้นต้นสั่งรับฎีกามา ศาลฎีกาก็ไม่รับวินิจฉัย.
ฎีกาซึ่งมิได้ยกข้อเท็จจริงหรือข้อกฎหมายขึ้นโต้แย้งคัดค้านคำพิพากษาศาลอุทธรณ์แต่ประการใด เป็นฎีกาที่ไม่ชอบด้วยกฎหมาย แม้ศาลชั้นต้นสั่งรับฎีกามา ศาลฎีกาก็ไม่รับวินิจฉัย.
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 751/2511 เวอร์ชัน 3 คำพิพากษาฎีกานี้ มีเนื้อหาจากเว็บทางการหลายรูปแบบ
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
สัญญาค้ำประกันเช่าซื้อ: ผู้ให้เช่าซื้อไม่มีหน้าที่แจ้งผู้ค้ำประกันก่อนยึดทรัพย์ และผู้ค้ำประกันไม่หลุดพ้นความรับผิด
ตามสัญญาเช่าซื้อและสัญญาค้ำประกันที่ทำไว้ ไม่ได้กำหนดว่า เมื่อผู้เช่าซื้อผิดนัดไม่ใช้เงินค่าเช่าซื้อ หรือเมื่อผู้ให้เช่าซื้อเลิกสัญญายึดทรัพย์ที่เช่าซื้อคืนผู้ให้เช่าซื้อจะต้องแจ้งให้ผู้ค้ำประกันทราบก่อน ผู้ให้เช่าซื้อจึงไม่มีหน้าที่ตามกฎหมายที่จะต้องแจ้งให้ผู้ค้ำประกันทราบ
ฎีกาซึ่งมิได้ยกข้อเท็จจริงหรือข้อกฎหมายขึ้นโต้แย้งคัดค้านคำพิพากษาศาลอุทธรณ์แต่ประการใด เป็นฎีกาที่ไม่ชอบด้วยกฎหมาย แม้ศาลชั้นต้นสั่งรับฎีกามา ศาลฎีกาก็ไม่รับวินิจฉัย
ฎีกาซึ่งมิได้ยกข้อเท็จจริงหรือข้อกฎหมายขึ้นโต้แย้งคัดค้านคำพิพากษาศาลอุทธรณ์แต่ประการใด เป็นฎีกาที่ไม่ชอบด้วยกฎหมาย แม้ศาลชั้นต้นสั่งรับฎีกามา ศาลฎีกาก็ไม่รับวินิจฉัย
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 655/2511 เวอร์ชัน 2 คำพิพากษาฎีกานี้ มีเนื้อหาจากเว็บทางการหลายรูปแบบ
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
สิทธิเรียกร้องค่าชดใช้ค่าซ่อมแซมสถานที่เช่าเมื่อผู้เช่าผิดสัญญา และผู้ให้เช่าบอกเลิกสัญญา
สัญญาข้อ 11 มีว่า ถ้าผู้เช่าผิดสัญญาข้อใดผู้ให้เช่ามีสิทธิเข้าครอบครองสถานที่เช่าได้โดยพลันและมีสิทธิบอกเลิกสัญญาทันทีส่วนสัญญาข้อ 12 มีว่า ถ้าผู้ให้เช่าบอกเลิกสัญญาหรือรื้อถอนหรือขายทรัพย์สินที่เช่าก่อนครบกำหนดสัญญาเช่า ผู้ให้เช่ายอมชดใช้ค่าซ่อมแซมและค่าเสียหายที่ผู้เช่าลงทุนเป็นจำนวนเงิน 25,000 บาทให้ผู้เช่า ฯลฯดังนี้เมื่อผู้เช่าผิดสัญญาไม่ชำระค่าเช่า ผู้ให้เช่าบอกเลิกสัญญาตามข้อ 11 แล้วก็ตามผู้เช่าไม่มีสิทธิเรียกร้องให้จำเลยชดใช้ค่าเสียหายค่าซ่อมแซมตามสัญญาข้อ 12
ความประสงค์หรือเจตนาของคู่สัญญาต้องแปลจากสัญญาทั้งฉบับไม่ใช่ยกเอาข้อความเฉพาะตอนใดตอนหนึ่งหรือสัญญาข้อใดข้อหนึ่งขึ้นมาแปล ฉะนั้น การแปลข้อ 12 ของสัญญา ก็จะต้องแปลรวมกับข้อ 11 อันเป็นข้อความที่กล่าวถึงสิทธิและหน้าที่ระหว่างผู้เช่ากับผู้ให้เช่าที่มีต่อกันการที่โจทก์นำ ส. ผู้เขียนเข้าเบิกความว่า ก่อนทำสัญญาโจทก์จำเลยตกลงกันว่าหากจำเลยบอกเลิกการเช่าไม่ว่าจะเป็นเพราะโจทก์ผิดสัญญาหรือไม่ก็ตาม จำเลยจะต้องชดใช้เงินให้แก่โจทก์นั้น เป็นการนำพยานบุคคลเข้าสืบเพิ่มเติมข้อความในเอกสาร เพราะในสัญญาไม่ได้เขียนไว้เลยว่าถึงแม้ผู้ให้เช่าบอกเลิกสัญญา เพราะผู้เช่าผิดสัญญา ผู้ให้เช่าก็ต้องชดใช้เงินให้แก่ผู้เช่าการสืบพยานบุคคลเพิ่มเติมข้อความในเอกสารเช่นนี้ ต้องห้าม
(ประชุมใหญ่ครั้งที่ 8/2511)
ความประสงค์หรือเจตนาของคู่สัญญาต้องแปลจากสัญญาทั้งฉบับไม่ใช่ยกเอาข้อความเฉพาะตอนใดตอนหนึ่งหรือสัญญาข้อใดข้อหนึ่งขึ้นมาแปล ฉะนั้น การแปลข้อ 12 ของสัญญา ก็จะต้องแปลรวมกับข้อ 11 อันเป็นข้อความที่กล่าวถึงสิทธิและหน้าที่ระหว่างผู้เช่ากับผู้ให้เช่าที่มีต่อกันการที่โจทก์นำ ส. ผู้เขียนเข้าเบิกความว่า ก่อนทำสัญญาโจทก์จำเลยตกลงกันว่าหากจำเลยบอกเลิกการเช่าไม่ว่าจะเป็นเพราะโจทก์ผิดสัญญาหรือไม่ก็ตาม จำเลยจะต้องชดใช้เงินให้แก่โจทก์นั้น เป็นการนำพยานบุคคลเข้าสืบเพิ่มเติมข้อความในเอกสาร เพราะในสัญญาไม่ได้เขียนไว้เลยว่าถึงแม้ผู้ให้เช่าบอกเลิกสัญญา เพราะผู้เช่าผิดสัญญา ผู้ให้เช่าก็ต้องชดใช้เงินให้แก่ผู้เช่าการสืบพยานบุคคลเพิ่มเติมข้อความในเอกสารเช่นนี้ ต้องห้าม
(ประชุมใหญ่ครั้งที่ 8/2511)
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 655/2511 เวอร์ชัน 3 คำพิพากษาฎีกานี้ มีเนื้อหาจากเว็บทางการหลายรูปแบบ
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
สัญญาเช่า: สิทธิบอกเลิกสัญญาของผู้ให้เช่าเมื่อผู้เช่าผิดสัญญา และข้อยกเว้นการชดใช้ค่าเสียหาย
สัญญาข้อ 11 มีว่า ถ้าผู้เช่าผิดสัญญาข้อใดผู้ให้เช่ามีสิทธิเข้าครอบครองสถานที่เช่าได้โดยพลัน และมีสิทธิบอกเลิกสัญญาทันที ส่วนสัญญาข้อ 12 มีว่า ถ้าผู้ให้เช่าบอกเลิกสัญญาหรือรื้อถอนหรือขายทรัพย์สินที่เช่าก่อนครบกำหนดสัญญาเช่า ผู้ให้เช่ายอมชดใช้ค่าซ่อมแซมและค่าเสียหายที่ผู้เช่าลงทุนเป็นจำนวนเงิน 25,000 บาทให้ผู้เช่า ฯลฯ ดังนี้เมื่อผู้เช่าผิดสัญญาไม่ชำระค่าเช่า ผู้ให้เช่าบอกเลิกสัญญาตามข้อ 11 แล้วก็ตาม ผู้เช่าไม่มีสิทธิเรียกร้องให้จำเลยชดใช้ค่าเสียหายค่าซ่อมแซมตามสัญญาข้อ 12
ความประสงค์หรือเจตนาของคู่สัญญาต้องแปลจากสัญญาทั้งฉบับ ไม่ใช่ยกเอาข้อความเฉพาะตอนใดตอนหนึ่งหรือสัญญาข้อใดข้อหนึ่งขึ้นมาแปล ฉะนั้น การแปลข้อ 12 ของสัญญา ก็จะต้องแปลรวมกับข้อ 11 อันเป็นข้อความที่กล่าวถึงสิทธิและหน้าที่ระหว่างผู้เช่ากับผู้ให้เช่าที่มีต่อกัน การที่โจทก์นำ ส.ผู้เขียนเข้าเบิกความว่า ก่อนทำสัญญาโจทก์จำเลยตกลงกันว่าหากจำเลยบอกเลิกการเช่า ไม่ว่าจะเป็นเพราะโจทก์ผิดสัญญาหรือไม่ก็ตาม จำเลยจะต้องชดใช้เงินให้แก่โจทก์นั้น เป็นการนำพยานบุคคลเข้าสืบเพิ่มเติมข้อความในเอกสาร เพราะในสัญญาไม่ได้เขียนไว้เลยว่า ถึงแม้ผู้ให้เช่าบอกเลิกสัญญา เพราะผู้เช่าผิดสัญญา ผู้ให้เช่าก็ต้องชดใช้เงินให้แก่ผู้เช่า การสืบพยานบุคคลเพิ่มเติมข้อความในเอกสารเช่นนี้ ต้องห้าม
(ประชุมใหญ่ครั้งที่ 8/2511)
ความประสงค์หรือเจตนาของคู่สัญญาต้องแปลจากสัญญาทั้งฉบับ ไม่ใช่ยกเอาข้อความเฉพาะตอนใดตอนหนึ่งหรือสัญญาข้อใดข้อหนึ่งขึ้นมาแปล ฉะนั้น การแปลข้อ 12 ของสัญญา ก็จะต้องแปลรวมกับข้อ 11 อันเป็นข้อความที่กล่าวถึงสิทธิและหน้าที่ระหว่างผู้เช่ากับผู้ให้เช่าที่มีต่อกัน การที่โจทก์นำ ส.ผู้เขียนเข้าเบิกความว่า ก่อนทำสัญญาโจทก์จำเลยตกลงกันว่าหากจำเลยบอกเลิกการเช่า ไม่ว่าจะเป็นเพราะโจทก์ผิดสัญญาหรือไม่ก็ตาม จำเลยจะต้องชดใช้เงินให้แก่โจทก์นั้น เป็นการนำพยานบุคคลเข้าสืบเพิ่มเติมข้อความในเอกสาร เพราะในสัญญาไม่ได้เขียนไว้เลยว่า ถึงแม้ผู้ให้เช่าบอกเลิกสัญญา เพราะผู้เช่าผิดสัญญา ผู้ให้เช่าก็ต้องชดใช้เงินให้แก่ผู้เช่า การสืบพยานบุคคลเพิ่มเติมข้อความในเอกสารเช่นนี้ ต้องห้าม
(ประชุมใหญ่ครั้งที่ 8/2511)
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 655/2511
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
สัญญาเช่า: การบอกเลิกสัญญาเนื่องจากผู้เช่าผิดนัด ไม่ทำให้เกิดสิทธิเรียกร้องค่าเสียหายจากการปรับปรุงสถานที่
สัญญาข้อ 11 มีว่า ถ้าผู้เช่าผิดสัญญาข้อใดผู้ให้เช่ามีสิทธิเข้าครอบครองสถานที่เช่าได้โดยพลัน. และมีสิทธิบอกเลิกสัญญาทันที. ส่วนสัญญาข้อ 12 มีว่า ถ้าผู้ให้เช่าบอกเลิกสัญญาหรือรื้อถอนหรือขายทรัพย์สินที่เช่าก่อนครบกำหนดสัญญาเช่า. ผู้ให้เช่ายอมชดใช้ค่าซ่อมแซมและค่าเสียหายที่ผู้เช่าลงทุนเป็นจำนวนเงิน 25,000 บาทให้ผู้เช่า ฯลฯ. ดังนี้เมื่อผู้เช่าผิดสัญญาไม่ชำระค่าเช่า. ผู้ให้เช่าบอกเลิกสัญญาตามข้อ 11 แล้วก็ตาม. ผู้เช่าไม่มีสิทธิเรียกร้องให้จำเลยชดใช้ค่าเสียหายค่าซ่อมแซมตามสัญญาข้อ 12.
ความประสงค์หรือเจตนาของคู่สัญญาต้องแปลจากสัญญาทั้งฉบับ. ไม่ใช่ยกเอาข้อความเฉพาะตอนใดตอนหนึ่งหรือสัญญาข้อใดข้อหนึ่งขึ้นมาแปล. ฉะนั้น การแปลข้อ 12 ของสัญญา ก็จะต้องแปลรวมกับข้อ 11 อันเป็นข้อความที่กล่าวถึงสิทธิและหน้าที่ระหว่างผู้เช่ากับผู้ให้เช่าที่มีต่อกัน. การที่โจทก์นำส.ผู้เขียนเข้าเบิกความว่า ก่อนทำสัญญาโจทก์จำเลยตกลงกันว่าหากจำเลยบอกเลิกการเช่า. ไม่ว่าจะเป็นเพราะโจทก์ผิดสัญญาหรือไม่ก็ตาม. จำเลยจะต้องชดใช้เงินให้แก่โจทก์นั้น เป็นการนำพยานบุคคลเข้าสืบเพิ่มเติมข้อความในเอกสาร. เพราะในสัญญาไม่ได้เขียนไว้เลยว่า. ถึงแม้ผู้ให้เช่าบอกเลิกสัญญา เพราะผู้เช่าผิดสัญญา ผู้ให้เช่าก็ต้องชดใช้เงินให้แก่ผู้เช่า. การสืบพยานบุคคลเพิ่มเติมข้อความในเอกสารเช่นนี้ ต้องห้าม. (ประชุมใหญ่ครั้งที่ 8/2511).
ความประสงค์หรือเจตนาของคู่สัญญาต้องแปลจากสัญญาทั้งฉบับ. ไม่ใช่ยกเอาข้อความเฉพาะตอนใดตอนหนึ่งหรือสัญญาข้อใดข้อหนึ่งขึ้นมาแปล. ฉะนั้น การแปลข้อ 12 ของสัญญา ก็จะต้องแปลรวมกับข้อ 11 อันเป็นข้อความที่กล่าวถึงสิทธิและหน้าที่ระหว่างผู้เช่ากับผู้ให้เช่าที่มีต่อกัน. การที่โจทก์นำส.ผู้เขียนเข้าเบิกความว่า ก่อนทำสัญญาโจทก์จำเลยตกลงกันว่าหากจำเลยบอกเลิกการเช่า. ไม่ว่าจะเป็นเพราะโจทก์ผิดสัญญาหรือไม่ก็ตาม. จำเลยจะต้องชดใช้เงินให้แก่โจทก์นั้น เป็นการนำพยานบุคคลเข้าสืบเพิ่มเติมข้อความในเอกสาร. เพราะในสัญญาไม่ได้เขียนไว้เลยว่า. ถึงแม้ผู้ให้เช่าบอกเลิกสัญญา เพราะผู้เช่าผิดสัญญา ผู้ให้เช่าก็ต้องชดใช้เงินให้แก่ผู้เช่า. การสืบพยานบุคคลเพิ่มเติมข้อความในเอกสารเช่นนี้ ต้องห้าม. (ประชุมใหญ่ครั้งที่ 8/2511).
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 505/2511
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
พินัยกรรมระบุผู้รับทรัพย์ชัดเจน โจทก์มีแต่สิทธิอาศัย
ข้อความในข้อ (1) แห่งพินัยกรรม.มีว่า 'ถ้าข้าพเจ้าถึงแก่ความตายไปแล้วบรรดาทรัพย์สินของข้าพเจ้าที่ (มี)อยู่และที่จะเกิดขึ้นในภายหน้า. ข้าพเจ้ายอมยกให้เป็นกรรมสิทธิ์แก่ผู้ที่ได้ระบุชื่อไว้ในพินัยกรรมนี้ให้เป็นผู้รับทรัพย์สินตามจำนวนซึ่งกำหนดไว้ดังต่อไปนี้คือ ฯลฯ' นั้น. ประกอบกับข้อ 7 แห่งพินัยกรรมซึ่งความว่า'ที่ดินที่ข้าพเจ้ายกให้กับนายแสวง เดชแสง (จำเลย) นี้ฯลฯ'. ดังนี้ เห็นว่าหนังสือพินัยกรรมดังกล่าวระบุผู้รับทรัพย์ไว้โดยแจ้งชัดว่าคือจำเลยนั่นเอง.
เมื่อเจ้ามรดกยกทรัพย์สินตามพินัยกรรมให้แก่จำเลย. จำเลยย่อมมีสิทธิรับทรัพย์มรดกตามพินัยกรรม. โจทก์คงมีแต่สิทธิอาศัยเหนือพื้นดินในพินัยกรรมดังกล่าวในข้อ 3 แห่งพินัยกรรมเท่านั้น. ไม่มีสิทธิที่จะเรียกร้องขอแบ่งเอากรรมสิทธิ์ในทรัพย์สินหรือขอแบ่งค่าเช่าอันเป็นประโยชน์เกิดจากทรัพย์นั้นๆ.
เมื่อเจ้ามรดกยกทรัพย์สินตามพินัยกรรมให้แก่จำเลย. จำเลยย่อมมีสิทธิรับทรัพย์มรดกตามพินัยกรรม. โจทก์คงมีแต่สิทธิอาศัยเหนือพื้นดินในพินัยกรรมดังกล่าวในข้อ 3 แห่งพินัยกรรมเท่านั้น. ไม่มีสิทธิที่จะเรียกร้องขอแบ่งเอากรรมสิทธิ์ในทรัพย์สินหรือขอแบ่งค่าเช่าอันเป็นประโยชน์เกิดจากทรัพย์นั้นๆ.
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 505/2511 เวอร์ชัน 2 คำพิพากษาฎีกานี้ มีเนื้อหาจากเว็บทางการหลายรูปแบบ
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
พินัยกรรมระบุผู้รับทรัพย์ชัดเจน ถือเป็นการยกทรัพย์สินให้โดยชอบด้วยกฎหมาย ทายาทอื่นไม่มีสิทธิเรียกร้อง
ข้อความในข้อ (1) แห่งพินัยกรรมมีว่า 'ถ้าข้าพเจ้าถึงแก่ความตายไปแล้วบรรดาทรัพย์สินของข้าพเจ้าที่ (มี) อยู่และที่จะเกิดขึ้นในภายหน้าข้าพเจ้ายอมยกให้เป็นกรรมสิทธิ์แก่ผู้ที่ได้ระบุชื่อไว้ในพินัยกรรมนี้ให้เป็นผู้รับทรัพย์สินตามจำนวนซึ่งกำหนดไว้ดังต่อไปนี้คือ ฯลฯ' นั้นประกอบกับข้อ 7 แห่งพินัยกรรมซึ่งความว่า'ที่ดินที่ข้าพเจ้ายกให้กับนายแสวง เดชแสง (จำเลย) นี้ฯลฯ' ดังนี้ เห็นว่าหนังสือพินัยกรรมดังกล่าวระบุผู้รับทรัพย์ไว้โดยแจ้งชัดว่าคือจำเลยนั่นเอง
เมื่อเจ้ามรดกยกทรัพย์สินตามพินัยกรรมให้แก่จำเลยจำเลยย่อมมีสิทธิรับทรัพย์มรดกตามพินัยกรรม โจทก์คงมีแต่สิทธิอาศัยเหนือพื้นดินในพินัยกรรมดังกล่าวในข้อ 3 แห่งพินัยกรรมเท่านั้นไม่มีสิทธิที่จะเรียกร้องขอแบ่งเอากรรมสิทธิ์ในทรัพย์สินหรือขอแบ่งค่าเช่าอันเป็นประโยชน์เกิดจากทรัพย์นั้นๆ
เมื่อเจ้ามรดกยกทรัพย์สินตามพินัยกรรมให้แก่จำเลยจำเลยย่อมมีสิทธิรับทรัพย์มรดกตามพินัยกรรม โจทก์คงมีแต่สิทธิอาศัยเหนือพื้นดินในพินัยกรรมดังกล่าวในข้อ 3 แห่งพินัยกรรมเท่านั้นไม่มีสิทธิที่จะเรียกร้องขอแบ่งเอากรรมสิทธิ์ในทรัพย์สินหรือขอแบ่งค่าเช่าอันเป็นประโยชน์เกิดจากทรัพย์นั้นๆ
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 505/2511 เวอร์ชัน 3 คำพิพากษาฎีกานี้ มีเนื้อหาจากเว็บทางการหลายรูปแบบ
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
พินัยกรรมระบุผู้รับทรัพย์ชัดเจน มีผลให้ผู้รับมรดกตามพินัยกรรมมีสิทธิเหนือทรัพย์สินนั้น
ข้อความในข้อ (1) แห่งพินัยกรรมมีว่า "ถ้าข้าพเจ้าถึงแก่ความตายไปแล้วบรรดาทรัพย์สินของข้าพเจ้าที่ (มี) อยู่และที่จะเกิดขึ้นในภายหน้า ข้าพเจ้ายอมยกให้เป็นกรรมสิทธิ์แก่ผู้ที่ได้ระบุชื่อไว้ในพินัยกรรมนี้ให้เป็นผู้รับทรัพย์สินตามจำนวนซึ่งกำหนดไว้ดังต่อไปนี้ คือ ฯลฯ" นั้น ประกอบกับข้อ 7 แห่งพินัยกรรมซึ่งความว่า "ที่ดินที่ข้าพเจ้ายกให้กับนายแสวง เดชแสง (จำเลย) นี้ ฯลฯ " ดังนี้ เห็นว่าหนังสือพินัยกรรมดังกล่าวระบุผู้รับทรัพย์ไว้โดยแจ้งชัดว่าคือจำเลยนั่นเอง
เมื่อเจ้ามรดกยกทรัพย์สินตามพินัยกรรมให้แก่จำเลย จำเลยย่อมมีสิทธิรับทรัพย์มรดกตามพินัยกรรม โจทก์คงมีแต่สิทธิอาศัยเหนือพื้นดินในพินัยกรรมดังกล่าวในข้อ 3 แห่งพินัยกรรมเท่านั้น ไม่มีสิทธิที่จะเรียกร้องขอแบ่งเอากรรมสิทธิ์ในทรัพย์สินหรือขอแบ่งค่าเช่า อันเป็นประโยชน์เกิดจากทรัพย์นั้น ๆ
เมื่อเจ้ามรดกยกทรัพย์สินตามพินัยกรรมให้แก่จำเลย จำเลยย่อมมีสิทธิรับทรัพย์มรดกตามพินัยกรรม โจทก์คงมีแต่สิทธิอาศัยเหนือพื้นดินในพินัยกรรมดังกล่าวในข้อ 3 แห่งพินัยกรรมเท่านั้น ไม่มีสิทธิที่จะเรียกร้องขอแบ่งเอากรรมสิทธิ์ในทรัพย์สินหรือขอแบ่งค่าเช่า อันเป็นประโยชน์เกิดจากทรัพย์นั้น ๆ
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 474/2511
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
อายุความฟ้องร้องกรณีครอบครองที่ดินสับแปลง เริ่มนับแต่วันที่อาจบังคับสิทธิได้ ไม่ใช่วันที่รู้ข้อผิดพลาด
จำเลยที่ 1 จดทะเบียนโอนขายกรรมสิทธิ์ที่ดินโฉนดที่ 2257เนื้อที่ 6 ไร่ 45 วา. ซึ่งแบ่งแยกจากที่ดินโฉนดที่13 ให้แก่บิดาโจทก์โดยใส่ชื่อโจทก์ เมื่อวันที่ 16มีนาคม 2491. ต่อมาโจทก์ทราบว่าที่ดินที่โจทก์ครอบครองเป็นที่ดินโฉนดที่ 13 ที่เหลือมีเนื้อที่ 5 ไร่ 78วา. ไม่ใช่ที่ดินโฉนดที่ 2257. ส่วนที่ดินโฉนดที่2257 จำเลยที่ 1 เป็นผู้ครอบครองแล้วโอนขายให้แก่จำเลยที่ 2 ไป. ดังนี้ แม้ที่ดินที่โจทก์ครอบครองเป็นที่ดินโฉนดเลขที่ 13 ซึ่งไม่ใช่ที่ดินโฉนดเลขที่ 2257. ที่จำเลยจดทะเบียนโอนใส่ชื่อโจทก์เป็นเรื่องครอบครองที่ดินสับแปลงกัน. ซึ่งโจทก์มีสิทธิฟ้องขอบังคับจำเลยก็ดี. แต่โจทก์จะต้องจัดการฟ้องร้องบังคับจำเลยที่ 1 ให้ปฏิบัติตามสัญญาภายใน 10 ปีตามประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ มาตรา 164.
จำเลยจดทะเบียนโอนกรรมสิทธิ์และมอบที่ดินให้โจทก์ครอบครองตั้งแต่วันที่ 16 มีนาคม 2491. ฉะนั้น อายุความฟ้องร้องเริ่มนับตั้งแต่วันที่ 17 มีนาคม 2491 เป็นต้นไป เพราะโจทก์อาจบังคับสิทธิเรียกร้องได้แล้ว. ไม่ใช่นับแต่วันที่ 14 ตุลาคม 2506. ซึ่งเป็นวันที่โจทก์รู้ว่าที่ดินที่โจทก์ครอบครองไม่ใช่ที่ดินโฉนดเลขที่ 2257. แต่โจทก์เพิ่งมาฟ้องขอให้บังคับจำเลยเมื่อวันที่ 27 พฤศจิกายน2506 เป็นเวลาเกินกว่า 10 ปี แล้ว. คดีโจทก์ขาดอายุความตามมาตรา 163.
จำเลยจดทะเบียนโอนกรรมสิทธิ์และมอบที่ดินให้โจทก์ครอบครองตั้งแต่วันที่ 16 มีนาคม 2491. ฉะนั้น อายุความฟ้องร้องเริ่มนับตั้งแต่วันที่ 17 มีนาคม 2491 เป็นต้นไป เพราะโจทก์อาจบังคับสิทธิเรียกร้องได้แล้ว. ไม่ใช่นับแต่วันที่ 14 ตุลาคม 2506. ซึ่งเป็นวันที่โจทก์รู้ว่าที่ดินที่โจทก์ครอบครองไม่ใช่ที่ดินโฉนดเลขที่ 2257. แต่โจทก์เพิ่งมาฟ้องขอให้บังคับจำเลยเมื่อวันที่ 27 พฤศจิกายน2506 เป็นเวลาเกินกว่า 10 ปี แล้ว. คดีโจทก์ขาดอายุความตามมาตรา 163.
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 474/2511 เวอร์ชัน 3 คำพิพากษาฎีกานี้ มีเนื้อหาจากเว็บทางการหลายรูปแบบ
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
อายุความฟ้องบังคับตามสัญญาซื้อขายที่ดิน เริ่มนับจากวันที่จำเลยโอนกรรมสิทธิ์และมอบที่ดินให้โจทก์ครอบครอง
จำเลยที่ 1 จดทะเบียนโอนขายกรรมสิทธิ์ที่ดินโฉนดที่ 2257 เนื้อที่ 6 ไร่ 45 วา ซึ่งแบ่งแยกจากที่ดินโฉนดที่ 13 ให้แก่บิดาโจทก์โดยใส่ชื่อโจทก์ เมื่อวันที่ 16 มีนาคม 2491 ต่อมาโจทก์ทราบว่าที่ดินที่โจทก์ครอบครองเป็นที่ดินโฉนดที่ 13 ที่เหลือมีเนื้อที่ 5 ไร่ 78 วา ไม่ใช่ที่ดินโฉนดที่ 2257 ส่วนที่ดินโฉนดที่ 2257 จำเลยที่ 1 เป็นผู้ครอบครองแล้วโอนขายให้แก่จำเลยที่ 2 ไป ดังนี้ แม้ที่ดินที่โจทก์เป็นเรื่องครอบครองที่ดินสับแปลงกัน ซึ่งโจทก์มีสิทธิฟ้องขอบังคับจำเลยก็ดี แต่โจทก์จะต้องจัดการฟ้องร้องบังคับจำเลยที่ 1 ให้ปฏิบัติตามสัญญาภายใน 10 ปี ตามประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ มาตรา 164
จำเลยจดทะเบียนโอนกรรมสิทธิ์และมอบที่ดินให้โจทก์ครอบครองตั้งแต่วันที่ 16 มีนาคม 2491 ฉะนั้น อายุความฟ้องร้องเริ่มนับตั้งแต่วันที่ 17 มีนาคม 2491 เป็นต้นไป เพราะโจทก์อาจบังคับสิทธิเรียกร้องได้แล้ว ไม่ใช่นับแต่วันที่ 14 ตุลาคม 2506 ซึ่งเป็นวันที่โจทก์รู้ว่าที่ดินที่โจทก์ครอบครองไม่ใช่ที่ดินโฉนดเลขที่ 2257 แต่โจทก์เพิ่งมาฟ้องขอให้บังคับจำเลยเมื่อวัน ที่ 27 พฤศจิกายน 2506 เป็นเวลาเกินกว่า 10 ปี แล้วคดีโจทก์ขาดอายุความตามมาตรา 163
จำเลยจดทะเบียนโอนกรรมสิทธิ์และมอบที่ดินให้โจทก์ครอบครองตั้งแต่วันที่ 16 มีนาคม 2491 ฉะนั้น อายุความฟ้องร้องเริ่มนับตั้งแต่วันที่ 17 มีนาคม 2491 เป็นต้นไป เพราะโจทก์อาจบังคับสิทธิเรียกร้องได้แล้ว ไม่ใช่นับแต่วันที่ 14 ตุลาคม 2506 ซึ่งเป็นวันที่โจทก์รู้ว่าที่ดินที่โจทก์ครอบครองไม่ใช่ที่ดินโฉนดเลขที่ 2257 แต่โจทก์เพิ่งมาฟ้องขอให้บังคับจำเลยเมื่อวัน ที่ 27 พฤศจิกายน 2506 เป็นเวลาเกินกว่า 10 ปี แล้วคดีโจทก์ขาดอายุความตามมาตรา 163