คำพิพากษาที่เกี่ยวข้องกับผู้พิพากษา
เนิ่น กฤษณะเศรนี

พบผลลัพธ์ทั้งหมด 261 รายการ

คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 826/2511 เวอร์ชัน 3 คำพิพากษาฎีกานี้ มีเนื้อหาจากเว็บทางการหลายรูปแบบ

ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้ สัญญาซื้อขายกำหนดส่งมอบน้ำตาลทรายล่าช้า เบี้ยปรับสูงเกินไป ศาลลดหย่อนได้
สัญญาซื้อขายซึ่งมีข้อความว่า ผู้ขายต้องส่งมอบน้ำตาลทรายแก่ผู้ซื้อภายใน 15 วัน หลังจากโรงงานของผู้ขายเปิดดำเนินการหีบอ้อยประจำปี และทั้งนี้ไม่ช้ากว่าวันที่ 31 ธันวาคม 2507 นั้น มีความหมายว่าผู้ขายต้องส่งมอบน้ำตาลทรายแก่ผู้ซื้อให้ครบถ้วนภายใน 15 วันนับแต่วันที่โรงงานของผู้ขายเปิดดำเนินการหีบอ้อยประจำปี หากเปิดดำเนินการล่าช้า แม้นับถึงวันที่ 31 ธันวาคม 2507จะมีเวลาดำเนินการไม่ครบ 15 วัน ผู้ขายก็จะต้องส่งมอบภายในวันที่ 31 ธันวาคม 2507
เบี้ยปรับที่สูงเกินส่วนนั้น ศาลมีอำนาจลดลงเป็นจำนวนที่พอสมควร โดยพิเคราะห์ถึงทางได้เสียของเจ้าหนี้
คำฟ้องของโจทก์ซึ่งบรรยายว่า จำเลยส่งมอบน้ำตาลทราย 200 กระสอบแก่โจทก์เกินกำหนดระยะเวลาตามสัญญา จำเลยมีหน้าที่ต้องรับผิดใช้เบี้ยปรับ โจทก์และทนายโจทก์ได้แจ้งให้จำเลยปฏิบัติตามสัญญาแล้ว ทั้งโจทก์ยังได้ส่งสำเนาสัญญาซื้อขายและสำเนาหนังสือทนายโจทก์มาท้ายฟ้องด้วยย่อมแสดงอยู่ในตัวว่าโจทก์ได้บอกสงวนสิทธิในการที่จะเรียกเบี้ยปรับตามสัญญาจากจำเลย ไม่จำต้องกล่าวในคำฟ้อง

คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 826/2511

ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้ การตีความสัญญาซื้อขาย การบอกสงวนสิทธิ และการลดเบี้ยปรับที่สูงเกินส่วน
สัญญาซื้อขายซึ่งมีข้อความว่า ผู้ขายต้องส่งมอบน้ำตาลทรายแก่ผู้ซื้อภายใน 15 วัน หลังจากโรงงานของผู้ขายเปิดดำเนินการหีบอ้อยประจำปี. และทั้งนี้ไม่ช้ากว่าวันที่ 31 ธันวาคม 2507 นั้น. มีความหมายว่าผู้ขายต้องส่งมอบน้ำตาลทรายแก่ผู้ซื้อให้ครบถ้วนภายใน 15 วันนับแต่วันที่โรงงานของผู้ขายเปิดดำเนินการหีบอ้อยประจำปี. หากเปิดดำเนินการล่าช้า. แม้นับถึงวันที่ 31 ธันวาคม 2507จะมีเวลาดำเนินการไม่ครบ 15 วัน. ผู้ขายก็จะต้องส่งมอบภายในวันที่ 31 ธันวาคม 2507.
เบี้ยปรับที่สูงเกินส่วนนั้น. ศาลมีอำนาจลดลงเป็นจำนวนที่พอสมควร. โดยพิเคราะห์ถึงทางได้เสียของเจ้าหนี้.
คำฟ้องของโจทก์ซึ่งบรรยายว่า จำเลยส่งมอบน้ำตาลทราย 200กระสอบแก่โจทก์เกินกำหนดระยะเวลาตามสัญญา. จำเลยมีหน้าที่ต้องรับผิดใช้เบี้ยปรับ. โจทก์และทนายโจทก์ได้แจ้งให้จำเลยปฏิบัติตามสัญญาแล้ว. ทั้งโจทก์ยังได้ส่งสำเนาสัญญาซื้อขายและสำเนาหนังสือทนายโจทก์มาท้ายฟ้องด้วย.ย่อมแสดงอยู่ในตัวว่าโจทก์ได้บอกสงวนสิทธิในการที่จะเรียกเบี้ยปรับตามสัญญาจากจำเลย ไม่จำต้องกล่าวในคำฟ้อง.

คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 826/2511 เวอร์ชัน 2 คำพิพากษาฎีกานี้ มีเนื้อหาจากเว็บทางการหลายรูปแบบ

ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้ การตีความสัญญาซื้อขายกำหนดส่งมอบ, การบอกสงวนสิทธิเรียกร้องค่าปรับ, และการลดเบี้ยปรับตามสมควร
สัญญาซื้อขายซึ่งมีข้อความว่า ผู้ขายต้องส่งมอบน้ำตาลทรายแก่ผู้ซื้อภายใน 15 วัน หลังจากโรงงานของผู้ขายเปิดดำเนินการหีบอ้อยประจำปี และทั้งนี้ไม่ช้ากว่าวันที่ 31 ธันวาคม 2507 นั้นมีความหมายว่าผู้ขายต้องส่งมอบน้ำตาลทรายแก่ผู้ซื้อให้ครบถ้วนภายใน 15 วันนับแต่วันที่โรงงานของผู้ขายเปิดดำเนินการหีบอ้อยประจำปีหากเปิดดำเนินการล่าช้า แม้นับถึงวันที่ 31 ธันวาคม 2507 จะมีเวลาดำเนินการไม่ครบ 15 วันผู้ขายก็จะต้องส่งมอบภายในวันที่ 31 ธันวาคม 2507
เบี้ยปรับที่สูงเกินส่วนนั้นศาลมีอำนาจลดลงเป็นจำนวนที่พอสมควรโดยพิเคราะห์ถึงทางได้เสียของเจ้าหนี้
คำฟ้องของโจทก์ซึ่งบรรยายว่า จำเลยส่งมอบน้ำตาลทราย 200 กระสอบแก่โจทก์เกินกำหนดระยะเวลาตามสัญญา จำเลยมีหน้าที่ต้องรับผิดใช้เบี้ยปรับโจทก์และทนายโจทก์ได้แจ้งให้จำเลยปฏิบัติตามสัญญาแล้วทั้งโจทก์ยังได้ส่งสำเนาสัญญาซื้อขายและสำเนาหนังสือทนายโจทก์มาท้ายฟ้องด้วยย่อมแสดงอยู่ในตัวว่าโจทก์ได้บอกสงวนสิทธิในการที่จะเรียกเบี้ยปรับตามสัญญาจากจำเลย ไม่จำต้องกล่าวในคำฟ้อง

คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 805/2511

ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้ การยกที่ดินให้ผู้อื่นโดยจดทะเบียนแล้ว โจทก์กลับเข้าครอบครองและมีสิทธิเหนือที่ดินเดิม แม้การแจ้งครอบครอง ส.ค.1 ไม่ก่อให้เกิดสิทธิ
โจทก์ยกที่พิพาทให้จำเลยโดยจดทะเบียนถูกต้องตามกฎหมายแม้ภายหลังโจทก์จะได้เข้าครอบครองที่พิพาท จนได้สิทธิครอบครอง. และจำเลยไม่มีสิทธิเรียกเอาคืนซึ่งการครอบครองแล้ว. ก็ไม่มีเหตุที่จะขอให้ทำลายนิติกรรมการยกให้นั้น.
ที่ดินซึ่งไม่มีหนังสือสำคัญแสดงกรรมสิทธิ์. การแจ้งการครอบครองไม่ก่อให้เกิดสิทธิขึ้นใหม่แก่ผู้แจ้งแต่ประการใด. ดังนั้น เมื่อจำเลยไม่มีสิทธิในที่พิพาท. และศาลพิพากษาว่าที่พิพาทเป็นของโจทก์. ห้ามจำเลยเกี่ยวข้องย่อมเป็นการเพียงพอ. หาจำเป็นที่จะต้องเพิกถอนชื่อจำเลยออกจากแบบแจ้งการครอบครอง (ส.ค.1)ไม่.

คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 805/2511 เวอร์ชัน 3 คำพิพากษาฎีกานี้ มีเนื้อหาจากเว็บทางการหลายรูปแบบ

ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้ การยกที่ดินให้ผู้อื่นแล้วครอบครองเอง สิทธิในที่ดินเป็นของผู้ครอบครอง แม้มีการแจ้งการครอบครอง (ส.ค.1) ก็ไม่ก่อให้เกิดสิทธิ
โจทก์ยกที่พิพาทให้จำเลยโดยจดทะเบียนถูกต้องตามกฎหมายแม้ภายหลังโจทก์จะได้เข้าครอบครองที่พิพาท จนได้สิทธิครอบครอง และจำเลยไม่มีสิทธิเรียกเอาคืนซึ่งการครอบครองแล้ว ก็ไม่มีเหตุที่จะขอให้ทำลายนิติกรรมการยกให้นั้น
ที่ดินซึ่งไม่มีหนังสือสำคัญแสดงกรรมสิทธิ์ การแจ้งการครอบครองไม่ก่อให้เกิดสิทธิขึ้นใหม่แก่ผู้แจ้งแต่ประการใด ดังนั้น เมื่อจำเลยไม่มีสิทธิในที่พิพาท และศาลพิพากษาว่าที่พิพาทเป็นของโจทก์ ห้ามจำเลยเกี่ยวข้องย่อมเป็นการเพียงพอ หาจำเป็นที่จะต้องเพิกถอนชื่อจำเลยออกจากแบบแจ้งการครอบครอง (ส.ค.1)ไม่

คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 805/2511 เวอร์ชัน 2 คำพิพากษาฎีกานี้ มีเนื้อหาจากเว็บทางการหลายรูปแบบ

ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้ การยกที่ดินให้แล้วครอบครองเอง: สิทธิของเจ้าของเดิมสิ้นสุดเมื่อการครอบครองถึงที่สุด แม้มีการแจ้ง ส.ค.1
โจทก์ยกที่พิพาทให้จำเลยโดยจดทะเบียนถูกต้องตามกฎหมายแม้ภายหลังโจทก์จะได้เข้าครอบครองที่พิพาท จนได้สิทธิครอบครองและจำเลยไม่มีสิทธิเรียกเอาคืนซึ่งการครอบครองแล้วก็ไม่มีเหตุที่จะขอให้ทำลายนิติกรรมการยกให้นั้น
ที่ดินซึ่งไม่มีหนังสือสำคัญแสดงกรรมสิทธิ์ การแจ้งการครอบครองไม่ก่อให้เกิดสิทธิขึ้นใหม่แก่ผู้แจ้งแต่ประการใด ดังนั้น เมื่อจำเลยไม่มีสิทธิในที่พิพาทและศาลพิพากษาว่าที่พิพาทเป็นของโจทก์ห้ามจำเลยเกี่ยวข้องย่อมเป็นการเพียงพอ หาจำเป็นที่จะต้องเพิกถอนชื่อจำเลยออกจากแบบแจ้งการครอบครอง (ส.ค.1)ไม่

คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 746-747/2511

ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้ ขยายกำหนดไถ่ขายฝากต้องห้ามตามกฎหมาย แม้รับเงินผ่อนชำระแล้ว จำเลยต้องคืนเงินหากไถ่ไม่ได้
โจทก์ขายฝากที่ดินและสิ่งปลูกสร้างบนที่ดินไว้กับจำเลย. ฟ้องโจทก์รับอยู่ในตัวว่าโจทก์มิได้ไถ่ทรัพย์พิพาทภายในกำหนด. แต่อ้างว่าจำเลยยอมให้โจทก์ผ่อนชำระราคาตามสัญญาขายฝากจนครบ. และเมื่อครบแล้วจำเลยจะคืนทรัพย์พิพาทที่ขายฝากให้. การตกลงดังนี้เป็นการขยายกำหนดเวลาไถ่ จึงต้องห้ามตามประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ มาตรา496.
เมื่อโจทก์ไม่สามารถไถ่ที่ดินคืนภายในกำหนดเวลา.จำเลยก็จำต้องคืนเงินค่าผ่อนชำระที่ดินให้แก่โจทก์. (ประชุมใหญ่ ครั้งที่ 7/2511).

คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 690/2511 เวอร์ชัน 3 คำพิพากษาฎีกานี้ มีเนื้อหาจากเว็บทางการหลายรูปแบบ

ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้ สัญญาเช่าซื้อกับคนต่างด้าว: สิทธิในการได้มาซึ่งอสังหาริมทรัพย์ตามสนธิสัญญาไมตรี และหน้าที่นำสืบ
โจทก์ฟ้องว่า จำเลยทำสัญญาเช่าซื้อที่ดินของโจทก์ และจำเลยผิดสัญญาและค้างชำระเงิน จำเลยให้การรับว่า ทำสัญญาเช่าซื้อกับโจทก์และไม่ได้ชำระเงินค่าเช่าซื้อให้แก่โจทก์จริง แต่อ้างว่าสัญญาเช่าซื้อเป็นโมฆะ เพราะจำเลยเป็นคนต่างด้าว ไม่มีสิทธิได้มาซึ่งกรรมสิทธิ์ในอสังหาริมทรัพย์ และทำสัญญาด้วยความสำคัญผิดในสารสำคัญแห่งนิติกรรม ดังนี้ จำเลยเป็นฝ่ายกล่าวอ้างขึ้นใหม่ว่าสัญญาเช่าซื้อเป็นโมฆะ โดยมีวัตถุประสงค์ต้องห้ามตามกฎหมายและสำคัญผิดในสารสำคัญของนิติกรรม มิใช่เพียงปฏิเสธว่าไม่ผิดสัญญาเท่ากับจำเลยต่อสู้ว่าการที่จำเลยไม่ชำระเงินค่าเช่าซื้อ ไม่เป็นผิดสัญญา จำเลยจึงมีหน้าที่นำสืบก่อนว่าสัญญานั้นไม่มีผลผูกพันอันจะทำให้จำเลยไม่ต้องปฏิบัติตามสัญญา
สนธิสัญญาทางไมตรีระหว่างราชอาณาจักรไทยกับสาธารณรัฐจีนซึ่งเริ่มใช้บังคับตั้งแต่วันที่ 28 มีนาคม 2489 ความในข้อ 6แห่งสนธิสัญญามีว่า คนชาติแห่งอัครภาคีแต่ละฝ่ายมีสิทธิที่จะได้มาซึ่งอสังหาริมทรัพย์ตลอดทั่วอาณาเขตของอีกฝ่ายหนึ่งนั้น ยังมีผลใช้บังคับตลอดไป ไม่ว่ารัฐบาลของสาธารณรัฐจีนจะไปตั้งอยู่ที่ไต้หวันหรือเกาะฟอโมซา เพราะสนธิสัญญาทางไมตรีระหว่างราชอาณาจักรไทยกับสาธารณรัฐจีนยังมีต่อกันอยู่ หาได้ถูกยกเลิกไปไม่
สำเนาหนังสือกระทรวงมหาดไทยที่ 2639/2504 ลงวันที่ 16กุมภาพันธ์ 2504 ถึงผู้ว่าราชการจังหวัดทุกจังหวัด ระบุสัญชาติคนต่างด้าวที่มีสิทธิขออนุญาตให้ได้มาซึ่งที่ดินตามมาตรา 86 แห่งประมวลกฎหมายที่ดิน โดยไม่ระบุคนต่างด้าวสัญชาติจีนรวมอยู่ด้วย และจำเลยแนบติดมาท้ายฎีกาของจำเลยนั้น จำเลยไม่ได้ระบุอ้างเป็นพยานไว้ก่อนและไม่มีเจ้าหน้าที่รับรองว่าเป็นสำเนาที่ถูกต้องทั้งไม่ใช่กฎหมาย ศาลฎีกาย่อมไม่รับวินิจฉัย
ประมวลกฎหมายที่ดิน มาตรา 86 มิได้บัญญัติห้ามเด็ดขาดไม่ให้คนต่างด้าวถือกรรมสิทธิ์ที่ดิน จำเลยซึ่งเป็นบุคคลสัญชาติจีนและเป็นผู้เช่าซื้อที่ดินของโจทก์ยังอยู่ในวิสัยที่จะไปขออนุญาตถือกรรมสิทธิ์ที่ดินได้และไม่ใช่สัญญาที่มีวัตถุประสงค์เป็นการต้องห้ามชัดแจ้งโดยกฎหมายหรือเป็นการพ้นวิสัย สัญญาเช่าซื้อระหว่างโจทก์จำเลยจึงสมบูรณ์ (วินิจฉัยโดยที่ประชุมใหญ่ครั้งที่ 5 -6/2511)
ฎีกาจำเลยในข้อที่ว่า การชำระเงินค่าเช่าซื้อ แม้จะผิดพลาดไปบ้างโจทก์ไม่ถือว่าจำเลยผิดสัญญาก็ดี หรือโจทก์ยังไม่ได้บอกกล่าวให้จำเลยชำระเงินค่าเช่าซื้อยังถือไม่ได้ว่าจำเลยผิดสัญญาก็ดี จำเลยไม่ได้ยกขึ้นต่อสู้ว่ากล่าวมาในศาลชั้นต้น จำเลยจะยกขึ้นในชั้นฎีกาไม่ได้
จำเลยฟ้องแย้งว่า จำเลยได้ชำระเงินให้ ป. ซึ่งโจทก์เป็นหนี้ ป. แทนโจทก์ โจทก์ปฏิเสธว่าจำเลยไม่ได้ชำระเงินแทนและโจทก์มิได้เป็นหนี้แต่จำเลยกลับนำสืบว่าจำเลยส่งมอบข้าวสาร ไม่ใช่ชำระเงินแทน จึงเป็นการนำสืบนอกฟ้องแย้งของจำเลย

คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 690/2511

ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้ สัญญาเช่าซื้อกับคนต่างด้าว: สิทธิในการได้มาซึ่งอสังหาริมทรัพย์ภายใต้สนธิสัญญาและความสมบูรณ์ของสัญญา
โจทก์ฟ้องว่า จำเลยทำสัญญาเช่าซื้อที่ดินของโจทก์ และจำเลยผิดสัญญาและค้างชำระเงิน. จำเลยให้การรับว่า ทำสัญญาเช่าซื้อกับโจทก์และไม่ได้ชำระเงินค่าเช่าซื้อให้แก่โจทก์จริง แต่อ้างว่าสัญญาเช่าซื้อเป็นโมฆะ เพราะจำเลยเป็นคนต่างด้าว ไม่มีสิทธิได้มาซึ่งกรรมสิทธิ์.ในอสังหาริมทรัพย์ และทำสัญญาด้วยความสำคัญผิดในสารสำคัญแห่งนิติกรรม. ดังนี้ จำเลยเป็นฝ่ายกล่าวอ้างขึ้นใหม่ว่าสัญญาเช่าซื้อเป็นโมฆะ โดยมีวัตถุประสงค์ต้องห้ามตามกฎหมายและสำคัญผิดในสารสำคัญของนิติกรรม. มิใช่เพียงปฏิเสธว่าไม่ผิดสัญญาเท่ากับจำเลยต่อสู้ว่าการที่จำเลยไม่ชำระเงินค่าเช่าซื้อ ไม่เป็นผิดสัญญา. จำเลยจึงมีหน้าที่นำสืบก่อนว่าสัญญานั้นไม่มีผลผูกพันอันจะทำให้จำเลยไม่ต้องปฏิบัติตามสัญญา.
สนธิสัญญาทางไมตรีระหว่างราชอาณาจักรไทยกับสาธารณรัฐจีนซึ่งเริ่มใช้บังคับตั้งแต่วันที่ 28 มีนาคม 2489 ความในข้อ 6แห่งสนธิสัญญามีว่า คนชาติแห่งอัครภาคีแต่ละฝ่ายมีสิทธิที่จะได้มาซึ่งอสังหาริมทรัพย์ตลอดทั่วอาณาเขตของอีกฝ่ายหนึ่งนั้น. ยังมีผลใช้บังคับตลอดไป ไม่ว่ารัฐบาลของสาธารณรัฐจีนจะไปตั้งอยู่ที่ไต้หวันหรือเกาะฟอโมซา. เพราะสนธิสัญญาทางไมตรีระหว่างราชอาณาจักรไทยกับสาธารณรัฐจีนยังมีต่อกันอยู่ หาได้ถูกยกเลิกไปไม่.
สำเนาหนังสือกระทรวงมหาดไทยที่ 2639/2504 ลงวันที่ 16กุมภาพันธ์ 2504 ถึงผู้ว่าราชการจังหวัดทุกจังหวัด ระบุสัญชาติคนต่างด้าวที่มีสิทธิขออนุญาตให้ได้มาซึ่งที่ดินตามมาตรา 86 แห่งประมวลกฎหมายที่ดิน. โดยไม่ระบุคนต่างด้าวสัญชาติจีนรวมอยู่ด้วย. และจำเลยแนบติดมาท้ายฎีกาของจำเลยนั้น. จำเลยไม่ได้ระบุอ้างเป็นพยานไว้ก่อน.และไม่มีเจ้าหน้าที่รับรองว่าเป็นสำเนาที่ถูกต้องทั้งไม่ใช่กฎหมาย. ศาลฎีกาย่อมไม่รับวินิจฉัย.
ประมวลกฎหมายที่ดิน มาตรา 86 มิได้บัญญัติห้ามเด็ดขาดไม่ให้คนต่างด้าวถือกรรมสิทธิ์ที่ดิน. จำเลยซึ่งเป็นบุคคลสัญชาติจีนและเป็นผู้เช่าซื้อที่ดินของโจทก์ยังอยู่ในวิสัยที่จะไปขออนุญาตถือกรรมสิทธิ์ที่ดินได้และไม่ใช่สัญญาที่มีวัตถุประสงค์เป็นการต้องห้ามชัดแจ้งโดยกฎหมายหรือเป็นการพ้นวิสัย. สัญญาเช่าซื้อระหว่างโจทก์จำเลยจึงสมบูรณ์ (วินิจฉัยโดยที่ประชุมใหญ่ครั้งที่ 5-6/2511).
ฎีกาจำเลยในข้อที่ว่า การชำระเงินค่าเช่าซื้อ แม้จะผิดพลาดไปบ้างโจทก์ไม่ถือว่าจำเลยผิดสัญญาก็ดี. หรือโจทก์ยังไม่ได้บอกกล่าว.ให้จำเลยชำระเงินค่าเช่าซื้อ.ยังถือไม่ได้ว่าจำเลยผิดสัญญาก็ดี. จำเลยไม่ได้ยกขึ้นต่อสู้ว่ากล่าวมาในศาลชั้นต้น จำเลยจะยกขึ้นในชั้นฎีกาไม่ได้.
จำเลยฟ้องแย้งว่า จำเลยได้ชำระเงินให้ ป. ซึ่งโจทก์เป็นหนี้ ป. แทนโจทก์. โจทก์ปฏิเสธว่าจำเลยไม่ได้ชำระเงินแทนและโจทก์มิได้เป็นหนี้แต่จำเลยกลับนำสืบว่าจำเลยส่งมอบข้าวสาร. ไม่ใช่ชำระเงินแทน. จึงเป็นการนำสืบนอกฟ้องแย้งของจำเลย.

คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 690/2511 เวอร์ชัน 2 คำพิพากษาฎีกานี้ มีเนื้อหาจากเว็บทางการหลายรูปแบบ

ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้ สัญญาเช่าซื้อกับคนต่างด้าว: สิทธิในการได้มาซึ่งอสังหาริมทรัพย์ภายใต้สนธิสัญญาและความสำคัญของการนำสืบหน้าที่
โจทก์ฟ้องว่า จำเลยทำสัญญาเช่าซื้อที่ดินของโจทก์ และจำเลยผิดสัญญาและค้างชำระเงิน จำเลยให้การรับว่า ทำสัญญาเช่าซื้อกับโจทก์และไม่ได้ชำระเงินค่าเช่าซื้อให้แก่โจทก์จริง แต่อ้างว่าสัญญาเช่าซื้อเป็นโมฆะ เพราะจำเลยเป็นคนต่างด้าว ไม่มีสิทธิได้มาซึ่งกรรมสิทธิ์ในอสังหาริมทรัพย์ และทำสัญญาด้วยความสำคัญผิดในสารสำคัญแห่งนิติกรรมดังนี้ จำเลยเป็นฝ่ายกล่าวอ้างขึ้นใหม่ว่าสัญญาเช่าซื้อเป็นโมฆะ โดยมีวัตถุประสงค์ต้องห้ามตามกฎหมายและสำคัญผิดในสารสำคัญของนิติกรรมมิใช่เพียงปฏิเสธว่าไม่ผิดสัญญาเท่ากับจำเลยต่อสู้ว่าการที่จำเลยไม่ชำระเงินค่าเช่าซื้อ ไม่เป็นผิดสัญญาจำเลยจึงมีหน้าที่นำสืบก่อนว่าสัญญานั้นไม่มีผลผูกพันอันจะทำให้จำเลยไม่ต้องปฏิบัติตามสัญญา
สนธิสัญญาทางไมตรีระหว่างราชอาณาจักรไทยกับสาธารณรัฐจีนซึ่งเริ่มใช้บังคับตั้งแต่วันที่ 28 มีนาคม 2489 ความในข้อ 6แห่งสนธิสัญญามีว่า คนชาติแห่งอัครภาคีแต่ละฝ่ายมีสิทธิที่จะได้มาซึ่งอสังหาริมทรัพย์ตลอดทั่วอาณาเขตของอีกฝ่ายหนึ่งนั้นยังมีผลใช้บังคับตลอดไป ไม่ว่ารัฐบาลของสาธารณรัฐจีนจะไปตั้งอยู่ที่ไต้หวันหรือเกาะฟอโมซาเพราะสนธิสัญญาทางไมตรีระหว่างราชอาณาจักรไทยกับสาธารณรัฐจีนยังมีต่อกันอยู่ หาได้ถูกยกเลิกไปไม่
สำเนาหนังสือกระทรวงมหาดไทยที่ 2639/2504 ลงวันที่ 16กุมภาพันธ์ 2504 ถึงผู้ว่าราชการจังหวัดทุกจังหวัด ระบุสัญชาติคนต่างด้าวที่มีสิทธิขออนุญาตให้ได้มาซึ่งที่ดินตามมาตรา 86 แห่งประมวลกฎหมายที่ดินโดยไม่ระบุคนต่างด้าวสัญชาติจีนรวมอยู่ด้วย และจำเลยแนบติดมาท้ายฎีกาของจำเลยนั้นจำเลยไม่ได้ระบุอ้างเป็นพยานไว้ก่อนและไม่มีเจ้าหน้าที่รับรองว่าเป็นสำเนาที่ถูกต้องทั้งไม่ใช่กฎหมาย ศาลฎีกาย่อมไม่รับวินิจฉัย
ประมวลกฎหมายที่ดิน มาตรา 86 มิได้บัญญัติห้ามเด็ดขาดไม่ให้คนต่างด้าวถือกรรมสิทธิ์ที่ดิน จำเลยซึ่งเป็นบุคคลสัญชาติจีนและเป็นผู้เช่าซื้อที่ดินของโจทก์ยังอยู่ในวิสัยที่จะไปขออนุญาตถือกรรมสิทธิ์ที่ดินได้และไม่ใช่สัญญาที่มีวัตถุประสงค์เป็นการต้องห้ามชัดแจ้งโดยกฎหมายหรือเป็นการพ้นวิสัย สัญญาเช่าซื้อระหว่างโจทก์จำเลยจึงสมบูรณ์ (วินิจฉัยโดยที่ประชุมใหญ่ครั้งที่ 5-6/2511)
ฎีกาจำเลยในข้อที่ว่า การชำระเงินค่าเช่าซื้อ แม้จะผิดพลาดไปบ้างโจทก์ไม่ถือว่าจำเลยผิดสัญญาก็ดี หรือโจทก์ยังไม่ได้บอกกล่าวให้จำเลยชำระเงินค่าเช่าซื้อยังถือไม่ได้ว่าจำเลยผิดสัญญาก็ดีจำเลยไม่ได้ยกขึ้นต่อสู้ว่ากล่าวมาในศาลชั้นต้น จำเลยจะยกขึ้นในชั้นฎีกาไม่ได้
จำเลยฟ้องแย้งว่า จำเลยได้ชำระเงินให้ ป. ซึ่งโจทก์เป็นหนี้ ป. แทนโจทก์ โจทก์ปฏิเสธว่าจำเลยไม่ได้ชำระเงินแทนและโจทก์มิได้เป็นหนี้แต่จำเลยกลับนำสืบว่าจำเลยส่งมอบข้าวสารไม่ใช่ชำระเงินแทนจึงเป็นการนำสืบนอกฟ้องแย้งของจำเลย
of 27