พบผลลัพธ์ทั้งหมด 261 รายการ
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 381/2511 เวอร์ชัน 3 คำพิพากษาฎีกานี้ มีเนื้อหาจากเว็บทางการหลายรูปแบบ
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
สัญญาประนีประนอมยอมความ: สิทธิไถ่ที่ดินเป็นประกันชำระหนี้ ไม่ทำให้โอนกรรมสิทธิ์
ที่โจทก์จำเลยทำสัญญาประนีประนอมยอมความกันมีใจความว่าจำเลยยอมใช้เงิน 70,000 บาท แก่โจทก์เพื่อเป็นประกันการชำระเงิน จำเลยยอมให้โจทก์เข้าสวมสิทธิไถ่การขายฝากที่ดิน เมื่อจำเลยไม่ใช้สิทธิไถ่ภายในกำหนดนั้น มิได้มีความหมายว่าเป็นการโอนสิทธิการไถ่การขายฝากให้โจทก์ตามประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ มาตรา 497(2) ซึ่งเป็นเหตุให้โจทก์ได้กรรมสิทธิ์ในที่ดิน แต่มีความหมายแต่เพียงว่าโจทก์มีสิทธิไถ่ที่ดินที่ขายฝากคืนมาในนามของจำเลย จำเลยคงมีสิทธิอยู่ตามเดิม ส่วนโจทก์มีเพียงสิทธิที่จะดำเนินการบังคับคดีต่อไปได้ เพื่อให้ได้มาซึ่งเงิน 70,000 บาทตามสัญญาเท่านั้น
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 381/2511
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
สิทธิไถ่การขายฝากตามสัญญาประนีประนอม: ไม่โอนกรรมสิทธิ์ แต่ให้สิทธิไถ่แทนจำเลย เพื่อชำระหนี้
ที่โจทก์จำเลยทำสัญญาประนีประนอมยอมความกันมีใจความว่าจำเลยยอมใช้เงิน 70,000 บาท. แก่โจทก์เพื่อเป็นประกันการชำระเงิน. จำเลยยอมให้โจทก์เข้าสวมสิทธิไถ่การขายฝากที่ดิน. เมื่อจำเลยไม่ใช้สิทธิไถ่ภายในกำหนดนั้น มิได้มีความหมายว่าเป็นการโอนสิทธิการไถ่การขายฝากให้โจทก์ตามประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ มาตรา 497(2) ซึ่งเป็นเหตุให้โจทก์ได้กรรมสิทธิ์ในที่ดิน แต่มีความหมายแต่เพียงว่าโจทก์มีสิทธิไถ่ที่ดินที่ขายฝากคืนมาในนามของจำเลย. จำเลยคงมีสิทธิอยู่ตามเดิม. ส่วนโจทก์มีเพียงสิทธิที่จะดำเนินการบังคับคดีต่อไปได้. เพื่อให้ได้มาซึ่งเงิน 70,000 บาทตามสัญญาเท่านั้น.
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 381/2511 เวอร์ชัน 2 คำพิพากษาฎีกานี้ มีเนื้อหาจากเว็บทางการหลายรูปแบบ
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
สิทธิไถ่การขายฝากในสัญญาประนีประนอม: ไม่ทำให้กรรมสิทธิ์ในที่ดินตกเป็นของโจทก์
ที่โจทก์จำเลยทำสัญญาประนีประนอมยอมความกันมีใจความว่าจำเลยยอมใช้เงิน 70,000 บาท แก่โจทก์เพื่อเป็นประกันการชำระเงินจำเลยยอมให้โจทก์เข้าสวมสิทธิไถ่การขายฝากที่ดิน เมื่อจำเลยไม่ใช้สิทธิไถ่ภายในกำหนดนั้น มิได้มีความหมายว่าเป็นการโอนสิทธิการไถ่การขายฝากให้โจทก์ตามประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ มาตรา 497(2) ซึ่งเป็นเหตุให้โจทก์ได้กรรมสิทธิ์ในที่ดิน แต่มีความหมายแต่เพียงว่าโจทก์มีสิทธิไถ่ที่ดินที่ขายฝากคืนมาในนามของจำเลย จำเลยคงมีสิทธิอยู่ตามเดิม ส่วนโจทก์มีเพียงสิทธิที่จะดำเนินการบังคับคดีต่อไปได้เพื่อให้ได้มาซึ่งเงิน 70,000 บาทตามสัญญาเท่านั้น
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 362/2511 เวอร์ชัน 3 คำพิพากษาฎีกานี้ มีเนื้อหาจากเว็บทางการหลายรูปแบบ
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
ข้อกำหนดห้ามโอนในพินัยกรรมที่ไม่มีผลผูกพันเมื่อขาดการระบุผลของการละเมิด
เจ้ามรดกทำพินัยกรรมยกกรรมสิทธิ์ที่พิพาทให้จำเลย แต่มีข้อกำหนดห้ามมิให้จำเลยจำหน่ายจ่ายโอนโดยมิได้รับความเห็นชอบจากบุตรของเจ้ามรดกที่มีสิทธิอาศัย แต่ข้อกำหนดนี้หาได้ระบุไว้ว่า ถ้าจำเลยละเมิดข้อกำหนดแล้ว จะให้ที่พิพาทตกเป็นของผู้ใดไม่ ข้อกำหนดห้ามโอนจึงถือว่าเป็นอันไม่มีเลยตามประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ มาตรา 1700
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 362/2511
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
ข้อกำหนดห้ามโอนในพินัยกรรมที่ไม่ระบุผลเมื่อละเมิด ถือเป็นโมฆะตามประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ มาตรา 1700
เจ้ามรดกทำพินัยกรรมยกกรรมสิทธิ์ที่พิพาทให้จำเลย. แต่มีข้อกำหนดห้ามมิให้จำเลยจำหน่ายจ่ายโอน.โดยมิได้รับความเห็นชอบจากบุตรของเจ้ามรดกที่มีสิทธิอาศัย. แต่ข้อกำหนดนี้หาได้ระบุไว้ว่า ถ้าจำเลยละเมิดข้อกำหนดแล้ว จะให้ที่พิพาทตกเป็นของผู้ใดไม่. ข้อกำหนดห้ามโอนจึงถือว่าเป็นอันไม่มีเลยตามประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ มาตรา 1700.
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 362/2511 เวอร์ชัน 2 คำพิพากษาฎีกานี้ มีเนื้อหาจากเว็บทางการหลายรูปแบบ
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
ข้อกำหนดห้ามโอนในพินัยกรรมต้องชัดเจน หากมิได้ระบุผลของการละเมิด ข้อกำหนดนั้นเป็นโมฆะ
เจ้ามรดกทำพินัยกรรมยกกรรมสิทธิ์ที่พิพาทให้จำเลย แต่มีข้อกำหนดห้ามมิให้จำเลยจำหน่ายจ่ายโอนโดยมิได้รับความเห็นชอบจากบุตรของเจ้ามรดกที่มีสิทธิอาศัยแต่ข้อกำหนดนี้หาได้ระบุไว้ว่า ถ้าจำเลยละเมิดข้อกำหนดแล้ว จะให้ที่พิพาทตกเป็นของผู้ใดไม่ข้อกำหนดห้ามโอนจึงถือว่าเป็นอันไม่มีเลยตามประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ มาตรา 1700
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 353/2511
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
การนำสืบพยานเพื่อพิสูจน์การชำระหนี้ด้วยข้าวเปลือกและการไม่ชอบด้วยกฎหมายของฎีกาที่ไม่ได้อ้างอิงข้อกฎหมาย
จำเลยให้การว่า ขณะทำหนังสือสัญญากู้ยืมเงิน. โจทก์จำเลยได้ตกลงกันด้วยวาจาว่า โจทก์ยอมให้จำเลยชำระหนี้เงินกู้นี้ด้วยข้าวเปลือก 3 เกวียนก็ได้. ต่อมาจำเลยได้มอบข้าวเปลือกให้โจทก์แล้ว หนี้จึงระงับ. จำเลยนำพยานบุคคลสืบตามที่ให้การนี้ได้. ไม่เป็นการสืบเปลี่ยนแปลงเอกสาร. เพราะเป็นการนำสืบถึงการชำระหนี้เพื่อให้หนี้ระงับไป.ไม่ต้องห้ามตามประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความแพ่ง มาตรา 94.
ฟ้องฎีกาที่ไม่ได้ยกข้อเท็จจริงและข้อกฎหมายขึ้นอ้างอิงโดยชัดแจ้งตามประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความแพ่ง มาตรา 249.
ฟ้องฎีกาที่ไม่ได้ยกข้อเท็จจริงและข้อกฎหมายขึ้นอ้างอิงโดยชัดแจ้งตามประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความแพ่ง มาตรา 249.
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 353/2511 เวอร์ชัน 2 คำพิพากษาฎีกานี้ มีเนื้อหาจากเว็บทางการหลายรูปแบบ
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
การชำระหนี้ด้วยข้าวเปลือกและการนำสืบพยานเพื่อพิสูจน์การชำระหนี้โดยโจทก์อ้างข้อกฎหมายผิด
จำเลยให้การว่า ขณะทำหนังสือสัญญากู้ยืมเงินโจทก์จำเลยได้ตกลงกันด้วยวาจาว่า โจทก์ยอมให้จำเลยชำระหนี้เงินกู้นี้ด้วยข้าวเปลือก 3 เกวียนก็ได้ ต่อมาจำเลยได้มอบข้าวเปลือกให้โจทก์แล้ว หนี้จึงระงับ จำเลยนำพยานบุคคลสืบตามที่ให้การนี้ได้ ไม่เป็นการสืบเปลี่ยนแปลงเอกสาร เพราะเป็นการนำสืบถึงการชำระหนี้เพื่อให้หนี้ระงับไปไม่ต้องห้ามตามประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความแพ่ง มาตรา 94
ฟ้องฎีกาที่ไม่ได้ยกข้อเท็จจริงและข้อกฎหมายขึ้นอ้างอิงโดยชัดแจ้งตามประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความแพ่ง มาตรา 249
ฟ้องฎีกาที่ไม่ได้ยกข้อเท็จจริงและข้อกฎหมายขึ้นอ้างอิงโดยชัดแจ้งตามประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความแพ่ง มาตรา 249
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 332/2511 เวอร์ชัน 3 คำพิพากษาฎีกานี้ มีเนื้อหาจากเว็บทางการหลายรูปแบบ
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
ความรับผิดของผู้ขนส่งตามประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ มาตรา 608 และ 634 แม้คนขับไม่ใช่ลูกจ้าง
จำเลยที่ 3 เป็นห้างหุ้นส่วนประกอบการเดินรถยนต์ขนส่งคนโดยสาร จำเลยที่ 2 ได้นำรถคันเกิดเหตุเข้าวิ่งรับส่งคนโดยสารในเครือของจำเลยที่ 3 โดยจำเลยที่ 3 หักรายได้จากค่าโดยสารที่จำเลยที่ 2 ได้รับไป 10 เปอร์เซ็นต์ 15 วัน คิดกันครั้งหนึ่ง ในวันเกิดเหตุ จำเลยที่ 1 มาขับรถดังกล่าวแทนคนขับประจำรถซึ่งเป็นลูกจ้างของจำเลยที่ 2 โดยไม่ได้รับอนุญาตจากจำเลยที่ 2 เมื่อจำเลยที่ 2 - 3 เป็นผู้ขนส่งคนโดยสาร เพื่อบำเหน็จเป็นทางค้าปกติของตนตามประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ มาตรา 608 และเหตุที่โจทก์ได้รับความเสียหายนั้นไม่ได้เกิดแต่เหตุสุดวิสัยหรือความผิดของโจทก์แต่ประการใด จำเลยที่ 2 - 3 จึงต้องรับผิดตามประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ มาตรา 634 แม้จำเลยที่ 1 จะไม่ใช่ลูกจ้างของจำเลยที่ 2 - 3 ก็ตาม จำเลยที่ 2 - 3 จะอ้างเหตุไม่ต้องรับผิดหาได้ไม่
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 332/2511
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
ความรับผิดของผู้ขนส่งต่อความเสียหายของคนโดยสาร แม้คนขับไม่ใช่ลูกจ้าง
จำเลยที่ 3 เป็นห้างหุ้นส่วนประกอบการเดินรถยนต์ขนส่งคนโดยสาร. จำเลยที่ 2 ได้นำรถคันเกิดเหตุเข้าวิ่งรับส่งคนโดยสารในเครือของจำเลยที่ 3.โดยจำเลยที่ 3 หักรายได้จากค่าโดยสารที่จำเลยที่ 2ได้รับไป 10 เปอร์เซ็นต์ 15 วันคิดกันครั้งหนึ่ง.ในวันเกิดเหตุ จำเลยที่ 1 มาขับรถดังกล่าวแทนคนขับประจำรถซึ่งเป็นลูกจ้างของจำเลยที่ 2 โดยไม่ได้รับอนุญาตจากจำเลยที่ 2. เมื่อจำเลยที่ 2-3 เป็นผู้ขนส่งคนโดยสารเพื่อบำเหน็จเป็นทางค้าปกติของตนตามประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ มาตรา 608. และเหตุที่โจทก์ได้รับความเสียหายนั้นไม่ได้เกิดแต่เหตุสุดวิสัยหรือความผิดของโจทก์แต่ประการใด. จำเลยที่ 2-3 จึงต้องรับผิดตามประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ มาตรา 634. แม้จำเลยที่ 1 จะไม่ใช่ลูกจ้างของจำเลยที่ 2-3 ก็ตาม.จำเลยที่ 2-3 จะอ้างเหตุไม่ต้องรับผิดหาได้ไม่.