คำพิพากษาที่เกี่ยวข้องกับผู้พิพากษา
พันธ์ นัยวิฑิต

พบผลลัพธ์ทั้งหมด 171 รายการ

คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 898/2512 เวอร์ชัน 2 คำพิพากษาฎีกานี้ มีเนื้อหาจากเว็บทางการหลายรูปแบบ

ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้ ระยะเวลาการขอคืนของกลาง: นับจากวันอ่านคำสั่งศาลฎีกาถึงที่สุด ไม่ใช่วันพิพากษาเดิม
ศาลได้อ่านคำพิพากษาศาลอุทธรณ์ให้จำเลยฟังเมื่อวันที่ 15 มีนาคม 2509 วันที่ 12 เมษายน 2509 จำเลยยื่นฎีกา ศาลชั้นต้นสั่งไม่รับฎีกาอ้างว่าเป็นฎีกาปัญหาข้อเท็จจริงต้องห้ามมิให้ฎีกาจำเลยฎีกา ศาลฎีกาสั่งว่าข้อกฎหมายตามฎีกาของจำเลยไม่เป็นสาระแก่คดีให้ยกเสีย และศาลชั้นต้นอ่านคำสั่งศาลฎีกาให้คู่ความฟังเมื่อวันที่14 มิถุนายน 2509วันที่ 13 มิถุนายน 2510 ผู้ร้องยื่นคำร้องขอคืนของกลางศาลฎีกาโดยที่ประชุมใหญ่เห็นว่า คดีถึงที่สุดเมื่อได้อ่านคำสั่งศาลฎีกาให้จำเลยฟังการนับระยะเวลา 1 ปี เพื่อยื่นคำร้องขอคืนของกลางนับต่อจากวันนั้นเป็นต้นไปการที่ผู้ร้องร้องขอคืนของกลางเมื่อวันที่ 13 มิถุนายน 2510 จึงเป็นการร้องต่อศาลภายใน 1 ปี ตามประมวลกฎหมายอาญา มาตรา 36(ประชุมใหญ่ ครั้งที่ 10/2512)

คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 861/2512

ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้ ความผิดฐานยักยอกเงินขององค์การตลาดโดยเจ้าพนักงาน แม้เป็นเจ้าพนักงานชั้นผู้น้อย
โจทก์ฟ้องกล่าวหาว่าจำเลยเรียกเก็บเงินค่าเช่าแผงลอยค่าโอนแผงลอย ค่าต่อสัญญาเช่าต่างๆ เป็นรายเดือนจากบุคคลหลายราย ในหลายท้องที่ และเรียกเก็บอยู่เป็นระยะเวลาประมาณ 1 ปี. ในระหว่างนั้นก็ได้ยักยอกเอาเงินที่เรียกเก็บมาได้นั้นไปเป็นประโยชน์ส่วนตัวเสียในระหว่างวันเวลาสถานที่ดังกล่าวในฟ้อง. ดังนี้ คำฟ้องของโจทก์ได้บรรยายถึงลักษณะวิธีการพฤติการณ์ในการกระทำผิดของจำเลย.และกล่าวความเกี่ยวกับวันเวลาสถานที่ที่หาว่าจำเลยกระทำผิดพอสมควร ที่จำเลยจะเข้าใจข้อหาได้ดีแล้ว. ไม่ใช่คำฟ้องเคลือบคลุม.
จำเลยเป็นเจ้าพนักงานมีหน้าที่จัดการเงินขององค์การตลาดให้เป็นไปตามหน้าที่ของจำเลย. การที่จำเลยยักยอกเอาเงินขององค์การตลาดไป. จึงเป็นความผิดในฐานะเป็นเจ้าพนักงานในองค์การหรือหน่วยงานของรัฐกระทำการทุจริตต่อหน้าที่. เป็นความผิดตามพระราชบัญญัติว่าด้วยความผิดของพนักงานในองค์การหรือหน่วยงานของรัฐ พ.ศ.2502มาตรา 4.

คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 861/2512 เวอร์ชัน 2 คำพิพากษาฎีกานี้ มีเนื้อหาจากเว็บทางการหลายรูปแบบ

ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้ ความผิดเจ้าพนักงานยักยอกเงินขององค์การตลาด แม้เป็นเจ้าพนักงานชั้นผู้น้อยก็ต้องรับผิด
โจทก์ฟ้องกล่าวหาว่าจำเลยเรียกเก็บเงินค่าเช่าแผงลอยค่าโอนแผงลอย ค่าต่อสัญญาเช่าต่างๆ เป็นรายเดือนจากบุคคลหลายราย ในหลายท้องที่ และเรียกเก็บอยู่เป็นระยะเวลาประมาณ 1 ปี ในระหว่างนั้นก็ได้ยักยอกเอาเงินที่เรียกเก็บมาได้นั้นไปเป็นประโยชน์ส่วนตัวเสียในระหว่างวันเวลาสถานที่ดังกล่าวในฟ้อง ดังนี้ คำฟ้องของโจทก์ได้บรรยายถึงลักษณะวิธีการพฤติการณ์ในการกระทำผิดของจำเลยและกล่าวความเกี่ยวกับวันเวลาสถานที่ที่หาว่าจำเลยกระทำผิดพอสมควร ที่จำเลยจะเข้าใจข้อหาได้ดีแล้วไม่ใช่คำฟ้องเคลือบคลุม
จำเลยเป็นเจ้าพนักงานมีหน้าที่จัดการเงินขององค์การตลาดให้เป็นไปตามหน้าที่ของจำเลยการที่จำเลยยักยอกเอาเงินขององค์การตลาดไปจึงเป็นความผิดในฐานะเป็นเจ้าพนักงานในองค์การหรือหน่วยงานของรัฐกระทำการทุจริตต่อหน้าที่เป็นความผิดตามพระราชบัญญัติว่าด้วยความผิดของพนักงานในองค์การหรือหน่วยงานของรัฐ พ.ศ.2502มาตรา 4

คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 861/2512 เวอร์ชัน 3 คำพิพากษาฎีกานี้ มีเนื้อหาจากเว็บทางการหลายรูปแบบ

ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้ ความผิดเจ้าพนักงานยักยอกเงินขององค์การตลาด แม้เป็นเจ้าพนักงานชั้นผู้น้อยก็ต้องรับผิด
โจทก์ฟ้องกล่าวหาว่าจำเลยเรียกเก็บเงินค่าเช่าแผงลอย ค่าโอนแผงลอยค่าต่อสัญญาเช่าต่าง ๆ เป็นรายเดือนจากบุคคลหลายราย ในหลายท้องที่ และเรียกเก็บอยู่เป็นระยะเวลาประมาณ 1 ปี ในระหว่างนั้นก็ได้ยักยอกเอาเงินที่เรียกเก็บมาได้นั้นไปเป็นประโยชน์ส่วนตัวเสียในระหว่างวันเวลา สถานที่ดังกล่าวในฟ้อง ดังนี้ คำฟ้องของโจทก์ได้บรรยายถึงลักษณะวิธีการพฤติการณ์ในการกระทำผิดของจำเลย และกล่าวความเกี่ยวกับวันเวลาสถานที่ที่หาว่าจำเลยกระทำผิดพอสมควร ที่จำเลยจะเข้าใจข้อหาได้ดีแล้ว ไม่ใช่คำฟ้องเคลือบคลุม
จำเลยเป็นเจ้าพนักงานมีหน้าที่จัดการเงินขององค์การตลาด ให้เป็นไปตามหน้าที่ของจำเลย การที่จำเลยยักยอกเอาเงินขององค์การตลาดไป จึงเป็นความผิดในฐานะเป็นเจ้าพนักงานในองค์การหรือหน่วยงานของรัฐกระทำการทุจริตต่อหน้าที่ เป็นความผิดตามพระราชบัญญัติว่าด้วยความผิดของพนักงานในองค์การหรือหน่วยงานของรัฐ พ.ศ. 2502 มาตรา 4

คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 729/2512 เวอร์ชัน 3 คำพิพากษาฎีกานี้ มีเนื้อหาจากเว็บทางการหลายรูปแบบ

ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้ สัญญาเช่าต่ออายุ: อัตราค่าเช่าต้องตกลงกัน อัตราเดิมไม่ใช่สิทธิจำเลยโดยอัตโนมัติ
โจทก์จำเลยได้ทำสัญญาเช่าต่อกันมีข้อความว่า "ผู้ให้เช่าจะยอมให้ผู้เช่า เช่าสถานที่ต่อไปอีกคราวหนึ่งมีกำหนด 10 ปี ในอัตราค่าเช่าอย่างเดิมหรืออัตราค่าเช่าอื่นใดสุดแต่คู่สัญญาทั้งสองฝ่ายจะตกลงกัน" นั้นหมายความว่าการที่โจทก์จะยอมให้จำเลยเช่าต่อไป 10 ปีนั้น อัตราค่าเช่าจะเป็นอย่างเดิมก็ดี หรืออย่างอื่นใดก็ดี โจทก์จำเลยจะต้องตกลงซึ่งกันและกันเสียก่อน ซึ่งเป็นสาระสำคัญของการเช่าตามกฎหมาย และเป็นเจตนาของคู่สัญญาด้วย

คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 729/2512 เวอร์ชัน 2 คำพิพากษาฎีกานี้ มีเนื้อหาจากเว็บทางการหลายรูปแบบ

ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้ สัญญาเช่าต่อ: การตกลงอัตราค่าเช่าใหม่เป็นสาระสำคัญ, 'หรือ' บ่งชี้การตกลงร่วมกัน
โจทก์จำเลยได้ทำสัญญาเช่าต่อกัน.มีข้อความว่า'ผู้ให้เช่าจะยอมให้ผู้เช่าเช่าสถานที่ต่อไปอีกคราวหนึ่งมีกำหนด 10 ปี ในอัตราค่าเช่าอย่างเดิมหรืออัตราค่าเช่าอื่นใดสุดแต่คู่สัญญาทั้งสองฝ่ายจะตกลงกัน' นั้นหมายความว่าการที่โจทก์จะยอมให้จำเลยเช่าต่อไป 10 ปีนั้น อัตราค่าเช่าจะเป็นอย่างเดิมก็ดี หรืออย่างอื่นใดก็ดีโจทก์จำเลยจะต้องตกลงซึ่งกันและกันเสียก่อนซึ่งเป็นสารสำคัญของการเช่าตามกฎหมาย และเป็นเจตนาของคู่สัญญาด้วย

คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 729/2512

ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้ สัญญาเช่าต่ออายุ: ข้อตกลงอัตราค่าเช่าใหม่ต้องเป็นไปตามเจตนาของคู่สัญญา
โจทก์จำเลยได้ทำสัญญาเช่าต่อกัน.มีข้อความว่า'ผู้ให้เช่าจะยอมให้ผู้เช่าเช่าสถานที่ต่อไปอีกคราวหนึ่งมีกำหนด 10 ปี ในอัตราค่าเช่าอย่างเดิมหรืออัตราค่าเช่าอื่นใดสุดแต่คู่สัญญาทั้งสองฝ่ายจะตกลงกัน.' นั้นหมายความว่าการที่โจทก์จะยอมให้จำเลยเช่าต่อไป 10 ปีนั้น. อัตราค่าเช่าจะเป็นอย่างเดิมก็ดี หรืออย่างอื่นใดก็ดี. โจทก์จำเลยจะต้องตกลงซึ่งกันและกันเสียก่อน.ซึ่งเป็นสารสำคัญของการเช่าตามกฎหมาย และเป็นเจตนาของคู่สัญญาด้วย.

คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 718/2512

ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้ สิทธิเรียกร้องค่าเช่าตามสัญญายอมความ แม้มีการโอนทรัพย์สิน สัญญาผูกพันตลอดชีวิตบิดามารดา
บุตรสามคนซึ่งเป็นเจ้าของกรรมสิทธิ์ร่วมกันในที่ดินและสิ่งปลูกสร้างทำสัญญาประนีประนอมยอมความกันในศาล. ตกลงจัดผลประโยชน์ในทรัพย์สินดังกล่าวโดยการให้เช่าและให้บุตรคนหนึ่งเป็นผู้เก็บค่าเช่าส่งมอบให้บิดามารดาคนละครึ่งจนตลอดชีวิตของบิดามารดา. โดยหักค่าใช้จ่ายเกี่ยวกับค่าภาษีออกเสียก่อน. สัญญานี้เป็นสัญญาจะชำระหนี้แก่บุคคลภายนอกตามประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ มาตรา 374. เมื่อบิดาแสดงเจตนาถือเอาประโยชน์ตามสัญญานั้นแล้ว. แม้ต่อมาบุตรทั้งสามคนนั้นจะตกลงกันเลิกสัญญาและโอนขายทรัพย์สินดังกล่าวให้แก่บุคคลภายนอกไป. บุตรซึ่งรับเป็นผู้เก็บค่าเช่าก็ยังต้องรับผิดส่งเงินให้แก่บิดาไปจนตลอดชีวิต. โดยคำนวณเงินที่จะต้องส่งจากส่วนเฉลี่ยของค่าเช่าที่เคยเก็บหักด้วยส่วนเฉลี่ยค่าภาษีที่เคยเสีย. บุตรหาอาจเปลี่ยนแปลงหรือระงับสิทธินั้นในภายหลังได้ไม่.
การที่ศาลประมาณเงินค่าเช่าที่บิดาควรได้จากบุตรโดยวินิจฉัยจากจำนวนค่าเช่าสูงสุดกับต่ำที่สุดเป็นหลักคำนวณส่วนเฉลี่ยนั้น. มิใช่เป็นการกะประมาณเอาตามประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ มาตรา 438. ซึ่งเป็นบทบัญญัติให้อำนาจศาลใช้ดุลพินิจกำหนดค่าสินไหมทดแทนในกรณีละเมิด.
การที่บุตรทั้งสามคนโอนขายทรัพย์ซึ่งตกลงกันจัดผลประโยชน์ให้แก่บุคคลภายนอกไป. จะอ้างว่าค่าเช่าที่โจทก์จะได้ต้องระงับโดยเป็นหนี้ที่พ้นวิสัยตามประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ มาตรา 219 หาได้ไม่. เพราะบุตรโอนขายทรัพย์ไปเอง.
จำเลยฎีกาว่า โจทก์นำสืบจำนวนค่าเช่าไม่ได้แน่นอนสมฟ้อง. แต่มิได้บรรยายข้อเท็จจริงในฎีกาเลยว่า. โจทก์นำสืบไม่สมฟ้องประการใดบ้าง. เป็นฎีกาที่ไม่ชอบด้วยประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความแพ่งมาตรา 249. ศาลฎีกาไม่รับวินิจฉัย.

คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 718/2512 เวอร์ชัน 2 คำพิพากษาฎีกานี้ มีเนื้อหาจากเว็บทางการหลายรูปแบบ

ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้ ผลผูกพันสัญญาประนีประนอมยอมความและการรับผิดชอบค่าเช่าหลังการโอนทรัพย์สิน
บุตรสามคนซึ่งเป็นเจ้าของกรรมสิทธิ์ร่วมกันในที่ดินและสิ่งปลูกสร้างทำสัญญาประนีประนอมยอมความกันในศาลตกลงจัดผลประโยชน์ในทรัพย์สินดังกล่าวโดยการให้เช่าและให้บุตรคนหนึ่งเป็นผู้เก็บค่าเช่าส่งมอบให้บิดามารดาคนละครึ่งจนตลอดชีวิตของบิดามารดา โดยหักค่าใช้จ่ายเกี่ยวกับค่าภาษีออกเสียก่อน สัญญานี้เป็นสัญญาจะชำระหนี้แก่บุคคลภายนอกตามประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ มาตรา 374เมื่อบิดาแสดงเจตนาถือเอาประโยชน์ตามสัญญานั้นแล้วแม้ต่อมาบุตรทั้งสามคนนั้นจะตกลงกันเลิกสัญญาและโอนขายทรัพย์สินดังกล่าวให้แก่บุคคลภายนอกไป บุตรซึ่งรับเป็นผู้เก็บค่าเช่าก็ยังต้องรับผิดส่งเงินให้แก่บิดาไปจนตลอดชีวิต โดยคำนวณเงินที่จะต้องส่งจากส่วนเฉลี่ยของค่าเช่าที่เคยเก็บหักด้วยส่วนเฉลี่ยค่าภาษีที่เคยเสียบุตรหาอาจเปลี่ยนแปลงหรือระงับสิทธินั้นในภายหลังได้ไม่
การที่ศาลประมาณเงินค่าเช่าที่บิดาควรได้จากบุตรโดยวินิจฉัยจากจำนวนค่าเช่าสูงสุดกับต่ำที่สุดเป็นหลักคำนวณส่วนเฉลี่ยนั้นมิใช่เป็นการกะประมาณเอาตามประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ มาตรา 438ซึ่งเป็นบทบัญญัติให้อำนาจศาลใช้ดุลพินิจกำหนดค่าสินไหมทดแทนในกรณีละเมิด
การที่บุตรทั้งสามคนโอนขายทรัพย์ซึ่งตกลงกันจัดผลประโยชน์ให้แก่บุคคลภายนอกไปจะอ้างว่าค่าเช่าที่โจทก์จะได้ต้องระงับโดยเป็นหนี้ที่พ้นวิสัยตามประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ มาตรา 219 หาได้ไม่เพราะบุตรโอนขายทรัพย์ไปเอง
จำเลยฎีกาว่า โจทก์นำสืบจำนวนค่าเช่าไม่ได้แน่นอนสมฟ้อง แต่มิได้บรรยายข้อเท็จจริงในฎีกาเลยว่าโจทก์นำสืบไม่สมฟ้องประการใดบ้างเป็นฎีกาที่ไม่ชอบด้วยประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความแพ่งมาตรา 249ศาลฎีกาไม่รับวินิจฉัย

คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 718/2512 เวอร์ชัน 3 คำพิพากษาฎีกานี้ มีเนื้อหาจากเว็บทางการหลายรูปแบบ

ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้ สัญญาประนีประนอมยอมความ การส่งมอบค่าเช่า และผลของการโอนทรัพย์สิน
บุตรสามคนซึ่งเป็นเจ้าของกรรมสิทธิ์ร่วมกันในที่ดินและสิ่งปลูกสร้างทำสัญญาประนีประนอมยอมความกันในศาล ตกลงจัดผลประโยชน์ในทรัพย์สินดังกล่าวโดยการให้เช่าและให้บุตรคนหนึ่งเป็นผู้เก็บค่าเช่าส่งมอบให้บิดามารดาคนละครึ่งจนตลอดชีวิตของบิดามารดา โดยหักค่าใช้จ่ายเกี่ยวกับค่าภาษีออกเสียก่อน สัญญานี้เป็นสัญญาจะชำระหนี้แก่บุคคลภายนอกตามประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ มาตรา 374 เมื่อบิดาแสดงเจตนาถือเอาประโยชน์ตามสัญญานั้นแล้ว แม้ต่อมาบุตรทั้งสามคนนั้นจะตกลงกันเลิกสัญญาและโอนขายทรัพย์สินดังกล่าวให้แก่บุคคลภายนอกไป บุตรซึ่งรับเป็นผู้เก็บค่าเช่าก็ยังต้องรับผิดส่งเงินให้แก่บิดาไปจนตลอดชีวิต โดยคำนวณเงินที่จะต้องส่งจากส่วนเฉลี่ยของค่าเช่าที่เคยเก็บหักด้วยส่วนเฉลี่ยค่าภาษีที่เคยเสีย บุตรหาอาจเปลี่ยนแปลงหรือระงับสิทธินั้นในภายหลังได้ไม่
การที่ศาลประมาณเงินค่าเช่าที่บิดาควรได้จากบุตรโดยวินิจฉัยจากจำนวนค่าเช่าสูงสุดกับต่ำที่สุดเป็นหลักคำนวณส่วนเฉลี่ยนั้น มิใช่เป็นการกะประมาณเอาตามประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ มาตรา 438 ซึ่งเป็นบทบัญญัติให้อำนาจศาลใช้ดุลพินิจกำหนดค่าสินไหมทดแทนในกรณีละเมิด
การที่บุตรทั้งสามคนโอนขายทรัพย์ซึ่งตกลงกันจัดผลประโยชน์ให้แก่บุคคลภายนอกไป จะอ้างว่าค่าเช่าที่โจทก์จะได้ต้องระงับโดยเป็นหนี้ที่พ้นวิสัยตามประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ มาตรา 219 หาได้ไม่ เพราะบุตรโอนขายทรัพย์ไปเอง
จำเลยฎีกาว่า โจทก์นำสืบจำนวนค่าเช่าไม่ได้แน่นอนสมฟ้อง แต่มิได้บรรยายข้อเท็จจริงในฎีกาเลยว่า โจทก์นำสืบไม่สมฟ้องประการใดบ้าง เป็นฎีกาที่ไม่ชอบด้วยประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความแพ่งมาตรา 249 ศาลฎีกาไม่รับวินิจฉัย
of 18