พบผลลัพธ์ทั้งหมด 70 รายการ
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 4041/2542
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
การส่งหมายเรียกโดยปิดประกาศและการขาดนัดพิจารณาโดยจงใจ การดำเนินการตามมาตรา 79 วรรคแรกชอบด้วยกฎหมาย
จำเลยยื่นคำร้องขอให้พิจารณาใหม่ และยื่นอุทธรณ์ในปัญหาว่าการนัดสืบพยานโจทก์ครั้งแรกโดยปิดประกาศหน้าศาลเป็นการชอบด้วยประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความแพ่ง มาตรา 79 หรือไม่ปัญหานี้เป็นข้อกฎหมายเกี่ยวด้วยความสงบเรียบร้อยของประชาชนแต่ศาลอุทธรณ์ยังมิได้วินิจฉัยเรื่องนี้ ศาลฎีกาจึงวินิจฉัยให้
ศาลชั้นต้นสั่งให้โจทก์นำส่งหมายเรียกและสำเนาคำฟ้องภายในกำหนด 5 วัน หากส่งไม่ได้ให้โจทก์แถลงเพื่อดำเนินการต่อไปภายในกำหนด 15 วัน นับแต่วันส่งไม่ได้ และกำหนดวันนัดสืบพยานโจทก์ไว้ในวันที่ 23 กรกฎาคม 2539 แต่ส่งหมายเรียกและสำเนาคำฟ้องไม่ได้ เมื่อศาลชั้นต้นเห็นว่าการส่งหมายเรียกและสำเนาคำฟ้องแก่จำเลยโดยวิธีธรรมดาไม่สามารถที่จะทำได้ การที่ศาลชั้นต้นมีคำสั่งให้เจ้าพนักงานศาลส่งหมายเรียกและสำเนาคำฟ้องและแจ้งกำหนดวันนัดสืบพยานโจทก์ให้จำเลยทราบโดยวิธีอื่นโดยการปิดหมายเรียกและสำเนาคำฟ้องไว้ ณ สถานที่ทำการอันเป็นภูมิลำเนาของจำเลยในวันที่ 19 กรกฎาคม 2539 จึงเป็นการดำเนินการตามขั้นตอนที่บัญญัติไว้ตามประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความแพ่งมาตรา 79 วรรคแรก แล้วครั้นถึงวันนัดสืบพยานโจทก์ในวันที่ 23กรกฎาคม 2539 ศาลชั้นต้นได้ไต่สวนเรื่องการส่งหมายเรียกและสำเนาคำฟ้องและฟังได้ว่ามีการปิดหมายเรียกและสำเนาคำฟ้องให้จำเลยทราบโดยชอบแล้วจริง การที่ศาลชั้นต้นให้เลื่อนไปนัดสืบพยานนัดแรกในวันที่ 11 กันยายน 2539 และศาลชั้นต้นแจ้งวันนัดให้จำเลยทราบโดยวิธีปิดประกาศหน้าศาล โดยศาลชั้นต้นให้เหตุผลว่าเป็นเพราะการส่งหมายเรียกและสำเนาคำฟ้องส่งโดยวิธีการปิดหมายการดำเนินการดังกล่าวเป็นอีกวิธีการหนึ่งตามประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความแพ่งมาตรา 79 มีผลเช่นเดียวกับการปิดหมาย การนัดสืบพยานนัดแรกโดย ประกาศหน้าศาลจึงชอบด้วยกฎหมาย
จำเลยกล่าวอ้างว่าจำเลยขาดนัดโดยไม่จงใจ จำเลยมีหน้าที่นำสืบแต่จำเลยนำสืบเพียงว่าไม่มีการปิดหมายเรียกและสำเนาคำฟ้อง โดยมิได้นำสืบถึงพฤติการณ์อย่างอื่นให้เห็น จึงฟังว่าจำเลยขาดนัดยื่นคำให้การและขาดนัดพิจารณาโดยจงใจ
ศาลชั้นต้นสั่งให้โจทก์นำส่งหมายเรียกและสำเนาคำฟ้องภายในกำหนด 5 วัน หากส่งไม่ได้ให้โจทก์แถลงเพื่อดำเนินการต่อไปภายในกำหนด 15 วัน นับแต่วันส่งไม่ได้ และกำหนดวันนัดสืบพยานโจทก์ไว้ในวันที่ 23 กรกฎาคม 2539 แต่ส่งหมายเรียกและสำเนาคำฟ้องไม่ได้ เมื่อศาลชั้นต้นเห็นว่าการส่งหมายเรียกและสำเนาคำฟ้องแก่จำเลยโดยวิธีธรรมดาไม่สามารถที่จะทำได้ การที่ศาลชั้นต้นมีคำสั่งให้เจ้าพนักงานศาลส่งหมายเรียกและสำเนาคำฟ้องและแจ้งกำหนดวันนัดสืบพยานโจทก์ให้จำเลยทราบโดยวิธีอื่นโดยการปิดหมายเรียกและสำเนาคำฟ้องไว้ ณ สถานที่ทำการอันเป็นภูมิลำเนาของจำเลยในวันที่ 19 กรกฎาคม 2539 จึงเป็นการดำเนินการตามขั้นตอนที่บัญญัติไว้ตามประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความแพ่งมาตรา 79 วรรคแรก แล้วครั้นถึงวันนัดสืบพยานโจทก์ในวันที่ 23กรกฎาคม 2539 ศาลชั้นต้นได้ไต่สวนเรื่องการส่งหมายเรียกและสำเนาคำฟ้องและฟังได้ว่ามีการปิดหมายเรียกและสำเนาคำฟ้องให้จำเลยทราบโดยชอบแล้วจริง การที่ศาลชั้นต้นให้เลื่อนไปนัดสืบพยานนัดแรกในวันที่ 11 กันยายน 2539 และศาลชั้นต้นแจ้งวันนัดให้จำเลยทราบโดยวิธีปิดประกาศหน้าศาล โดยศาลชั้นต้นให้เหตุผลว่าเป็นเพราะการส่งหมายเรียกและสำเนาคำฟ้องส่งโดยวิธีการปิดหมายการดำเนินการดังกล่าวเป็นอีกวิธีการหนึ่งตามประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความแพ่งมาตรา 79 มีผลเช่นเดียวกับการปิดหมาย การนัดสืบพยานนัดแรกโดย ประกาศหน้าศาลจึงชอบด้วยกฎหมาย
จำเลยกล่าวอ้างว่าจำเลยขาดนัดโดยไม่จงใจ จำเลยมีหน้าที่นำสืบแต่จำเลยนำสืบเพียงว่าไม่มีการปิดหมายเรียกและสำเนาคำฟ้อง โดยมิได้นำสืบถึงพฤติการณ์อย่างอื่นให้เห็น จึงฟังว่าจำเลยขาดนัดยื่นคำให้การและขาดนัดพิจารณาโดยจงใจ
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 4041/2542 เวอร์ชัน 2 คำพิพากษาฎีกานี้ มีเนื้อหาจากเว็บทางการหลายรูปแบบ
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
การส่งหมายและนัดสืบพยานโดยปิดประกาศหน้าศาลชอบด้วยกฎหมายเมื่อส่งโดยวิธีธรรมดาไม่ได้
ปัญหาว่าการนัดสืบพยานโจทก์ครั้งแรกโดยปิดประกาศหน้าศาลให้จำเลยทราบเป็นการชอบด้วย ป.วิ.พ. มาตรา 79 หรือไม่ เป็นข้อกฎหมายเกี่ยวด้วยความสงบเรียบร้อยของประชาชน
ศาลชั้นต้นสั่งให้โจทก์นำส่งหมายเรียกและสำเนาคำฟ้องภายในกำหนด 5 วัน หากส่งไม่ได้ให้โจทก์แถลงเพื่อดำเนินการต่อไปภายในกำหนด 15 วัน นับแต่วันส่งไม่ได้ และกำหนดวันนัดสืบพยานโจทก์ไว้ในวันที่ 23 กรกฎาคม 2539 แต่ส่งหมายเรียกและสำเนาคำฟ้องไม่ได้ เมื่อศาลชั้นต้นเห็นว่า การส่งหมายเรียกและสำเนาคำฟ้องแก่จำเลยโดยวิธีธรรมดาไม่สามารถที่จะทำได้ การที่ศาลชั้นต้นมีคำสั่งให้เจ้าพนักงานศาลส่งหมายเรียกและสำเนาคำฟ้องและแจ้งกำหนดวันนัดสืบพยานโจทก์ให้จำเลยทราบโดยวิธีอื่นโดยการปิดหมายเรียกและสำเนาคำฟ้องไว้ ณ สถานที่ทำการอันเป็นภูมิลำเนาของจำเลยในวันที่ 19 กรกฎาคม 2539 จึงเป็นการดำเนินการตามขั้นตอนที่บัญญัติไว้ตาม ป.วิ.พ. มาตรา 79 วรรคแรก แล้ว ครั้นถึงวันนัดสืบพยานโจทก์ในวันที่ 23 กรกฎาคม 2539 ศาลชั้นต้นได้ไต่สวนเรื่องการส่งหมายเรียกและสำเนาคำฟ้องและฟังได้ว่ามีการปิดหมายเรียกและสำเนาคำฟ้องให้จำเลยทราบโดยชอบแล้วจริง การที่ศาลชั้นต้นให้เลื่อนไปนัดสืบพยานนัดแรกในวันที่ 11 กันยายน 2539 และศาลชั้นต้นแจ้งวันนัดให้จำเลยทราบโดยวิธีประกาศหน้าศาล ศาลชั้นต้นให้เหตุผลว่าเป็นเพราะการส่งหมายเรียกและสำเนาคำฟ้องส่งโดยวิธีการปิดหมาย การดำเนินการประกาศหน้าศาลจึงเป็นอีกวิธีการหนึ่งตาม ป.วิ.พ. มาตรา 79 มีผลเช่นเดียวกับการปิดหมาย การนัดสืบพยานนัดแรกโดยประกาศหน้าศาลจึงชอบด้วยกฎหมาย
ศาลชั้นต้นสั่งให้โจทก์นำส่งหมายเรียกและสำเนาคำฟ้องภายในกำหนด 5 วัน หากส่งไม่ได้ให้โจทก์แถลงเพื่อดำเนินการต่อไปภายในกำหนด 15 วัน นับแต่วันส่งไม่ได้ และกำหนดวันนัดสืบพยานโจทก์ไว้ในวันที่ 23 กรกฎาคม 2539 แต่ส่งหมายเรียกและสำเนาคำฟ้องไม่ได้ เมื่อศาลชั้นต้นเห็นว่า การส่งหมายเรียกและสำเนาคำฟ้องแก่จำเลยโดยวิธีธรรมดาไม่สามารถที่จะทำได้ การที่ศาลชั้นต้นมีคำสั่งให้เจ้าพนักงานศาลส่งหมายเรียกและสำเนาคำฟ้องและแจ้งกำหนดวันนัดสืบพยานโจทก์ให้จำเลยทราบโดยวิธีอื่นโดยการปิดหมายเรียกและสำเนาคำฟ้องไว้ ณ สถานที่ทำการอันเป็นภูมิลำเนาของจำเลยในวันที่ 19 กรกฎาคม 2539 จึงเป็นการดำเนินการตามขั้นตอนที่บัญญัติไว้ตาม ป.วิ.พ. มาตรา 79 วรรคแรก แล้ว ครั้นถึงวันนัดสืบพยานโจทก์ในวันที่ 23 กรกฎาคม 2539 ศาลชั้นต้นได้ไต่สวนเรื่องการส่งหมายเรียกและสำเนาคำฟ้องและฟังได้ว่ามีการปิดหมายเรียกและสำเนาคำฟ้องให้จำเลยทราบโดยชอบแล้วจริง การที่ศาลชั้นต้นให้เลื่อนไปนัดสืบพยานนัดแรกในวันที่ 11 กันยายน 2539 และศาลชั้นต้นแจ้งวันนัดให้จำเลยทราบโดยวิธีประกาศหน้าศาล ศาลชั้นต้นให้เหตุผลว่าเป็นเพราะการส่งหมายเรียกและสำเนาคำฟ้องส่งโดยวิธีการปิดหมาย การดำเนินการประกาศหน้าศาลจึงเป็นอีกวิธีการหนึ่งตาม ป.วิ.พ. มาตรา 79 มีผลเช่นเดียวกับการปิดหมาย การนัดสืบพยานนัดแรกโดยประกาศหน้าศาลจึงชอบด้วยกฎหมาย
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 1811/2542 เวอร์ชัน 2 คำพิพากษาฎีกานี้ มีเนื้อหาจากเว็บทางการหลายรูปแบบ
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
ความชอบด้วยกฎหมายของฟ้องอาญา: ปัญหาความเคลือบคลุมและการจำกัดสิทธิในการฎีกา
ศาลชั้นต้นพิพากษายกฟ้องจำเลยที่ 5 และที่ 8 และศาลอุทธรณ์พิพากษายืน จึงห้ามมิให้คู่ความฎีกาตาม ป.วิ.อ.มาตรา 220 ที่โจทก์ฎีกาว่าฟ้องของโจทก์ชอบด้วย ป.วิ.อ. มาตรา 158 (5) เป็นฎีกาในปัญหาข้อกฎหมายแต่อัยการสูงสุดรับรองให้โจทก์ฎีกาเฉพาะปัญหาข้อเท็จจริง แม้ศาลชั้นต้นจะรับฎีกาของโจทก์สำหรับจำเลยที่ 5 และที่ 8 ในปัญหาดังกล่าว ศาลฎีกาก็ไม่รับวินิจฉัยส่วนที่โจทก์ฎีกาในปัญหาข้อเท็จจริงนั้น เมื่อคดีสำหรับจำเลยที่ 5 และที่ 8 เป็นอันยุติตามคำพิพากษาศาลอุทธรณ์แล้วว่าฟ้องของโจทก์ไม่ชอบด้วย ป.วิ.อ.มาตรา 158 (5)และพิพากษายืนตามคำพิพากษาศาลชั้นต้นที่ให้ยกฟ้อง ศาลฎีกาจึงไม่จำต้องวินิจฉัยปัญหาข้อเท็จจริงดังกล่าวอีกต่อไป
โจทก์ได้บรรยายฟ้องให้เห็นถึงมูลคดีที่ต้องมาฟ้องเป็นคดีนี้ก็เพราะโจทก์ร่วมเป็นเจ้าหนี้ของจำเลยที่ 1 และที่ 8 ในเรื่องผิดสัญญาจะซื้อจะขายที่ดินต่อกัน เป็นเหตุให้โจทก์ร่วมต้องนำคดีมาฟ้องต่อศาลแพ่ง ซึ่งจำเลยทั้งแปดได้ร่วมกันกระทำการเพื่อมิให้โจทก์ร่วมได้รับชำระหนี้ในคดีดังกล่าวด้วยการร่วมกันนำสืบและแสดงสัญญาว่าจ้างตัวแทนระหว่างจำเลยที่ 1 และที่ 2 อันเป็นเท็จ ทั้งนี้เพื่อแกล้งให้จำเลยที่ 1 เป็นหนี้จำเลยที่ 2 เป็นเหตุให้ศาลแพ่งพิพากษาให้จำเลยที่ 1 แพ้คดีแก่จำเลยที่ 2 นอกจากนี้โจทก์ยังได้บรรยายฟ้องถึงวันเวลาและสถานที่เกิดเหตุมาด้วยที่สำคัญจำเลยที่ 1 ถึงที่ 3 จำเลยที่ 6 และที่ 7 มิได้อุทธรณ์ในปัญหาข้อนี้ รูปคดีเป็นที่เข้าใจได้ว่าจำเลยที่ 1 ถึงที่ 3 จำเลยที่ 6 และที่ 7 ต่างเข้าใจข้อหาทั้งหมดได้ดี กรณีต้องด้วย ป.วิ.อ.มาตรา 158 (5) ฟ้องของโจทก์สำหรับจำเลยทั้งห้าคนดังกล่าวจึงชอบแล้ว
ศาลอุทธรณ์วินิจฉัยว่า ฟ้องโจทก์เคลือบคลุมโดยยังมิได้พิพากษาในเนื้อหาแท้จริงอันเป็นสาระสำคัญในประเด็นแห่งคดี แม้คู่ความจะสืบพยานจนเสร็จสิ้นเป็นการเพียงพอที่ศาลฎีกาจะวินิจฉัยปัญหาข้อเท็จจริงไปเสียเองได้ก็ตามแต่ผลแห่งการวินิจฉัยของศาลอุทธรณ์อาจนำไปสู่การจำกัดสิทธิการฎีกาของคู่ความได้เพื่อให้การดำเนินคดีเป็นไปตามขั้นตอน ศาลฎีกาเห็นสมควรให้ศาลอุทธรณ์พิพากษาในเนื้อหาแห่งคดีเสียก่อน ตาม ป.วิ.พ.มาตรา 240 (3) ประกอบด้วยมาตรา 247และ ป.วิ.อ. มาตรา 15
โจทก์ได้บรรยายฟ้องให้เห็นถึงมูลคดีที่ต้องมาฟ้องเป็นคดีนี้ก็เพราะโจทก์ร่วมเป็นเจ้าหนี้ของจำเลยที่ 1 และที่ 8 ในเรื่องผิดสัญญาจะซื้อจะขายที่ดินต่อกัน เป็นเหตุให้โจทก์ร่วมต้องนำคดีมาฟ้องต่อศาลแพ่ง ซึ่งจำเลยทั้งแปดได้ร่วมกันกระทำการเพื่อมิให้โจทก์ร่วมได้รับชำระหนี้ในคดีดังกล่าวด้วยการร่วมกันนำสืบและแสดงสัญญาว่าจ้างตัวแทนระหว่างจำเลยที่ 1 และที่ 2 อันเป็นเท็จ ทั้งนี้เพื่อแกล้งให้จำเลยที่ 1 เป็นหนี้จำเลยที่ 2 เป็นเหตุให้ศาลแพ่งพิพากษาให้จำเลยที่ 1 แพ้คดีแก่จำเลยที่ 2 นอกจากนี้โจทก์ยังได้บรรยายฟ้องถึงวันเวลาและสถานที่เกิดเหตุมาด้วยที่สำคัญจำเลยที่ 1 ถึงที่ 3 จำเลยที่ 6 และที่ 7 มิได้อุทธรณ์ในปัญหาข้อนี้ รูปคดีเป็นที่เข้าใจได้ว่าจำเลยที่ 1 ถึงที่ 3 จำเลยที่ 6 และที่ 7 ต่างเข้าใจข้อหาทั้งหมดได้ดี กรณีต้องด้วย ป.วิ.อ.มาตรา 158 (5) ฟ้องของโจทก์สำหรับจำเลยทั้งห้าคนดังกล่าวจึงชอบแล้ว
ศาลอุทธรณ์วินิจฉัยว่า ฟ้องโจทก์เคลือบคลุมโดยยังมิได้พิพากษาในเนื้อหาแท้จริงอันเป็นสาระสำคัญในประเด็นแห่งคดี แม้คู่ความจะสืบพยานจนเสร็จสิ้นเป็นการเพียงพอที่ศาลฎีกาจะวินิจฉัยปัญหาข้อเท็จจริงไปเสียเองได้ก็ตามแต่ผลแห่งการวินิจฉัยของศาลอุทธรณ์อาจนำไปสู่การจำกัดสิทธิการฎีกาของคู่ความได้เพื่อให้การดำเนินคดีเป็นไปตามขั้นตอน ศาลฎีกาเห็นสมควรให้ศาลอุทธรณ์พิพากษาในเนื้อหาแห่งคดีเสียก่อน ตาม ป.วิ.พ.มาตรา 240 (3) ประกอบด้วยมาตรา 247และ ป.วิ.อ. มาตรา 15
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 1811/2542
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
ฟ้องไม่ชอบตาม ม.158(5) - จำเป็นต้องวินิจฉัยความชอบด้วยกฎหมายก่อนพิจารณาข้อเท็จจริง - การรับรองฎีกาโดยอัยการสูงสุด
ศาลชั้นต้นพิพากษายกฟ้องจำเลยที่ 5 และที่ 8 และศาลอุทธรณ์พิพากษายืนจึงห้ามมิให้คู่ความฎีกาตามประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความอาญา มาตรา 220ที่โจทก์ฎีกาว่าฟ้องของโจทก์ชอบด้วยประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความอาญา มาตรา 158(5) เป็นฎีกาในปัญหาข้อกฎหมายแต่อัยการสูงสุดรับรองให้โจทก์ฎีกาเฉพาะปัญหาข้อเท็จจริง แม้ศาลชั้นต้นจะรับฎีกาของโจทก์สำหรับจำเลยที่ 5 และที่ 8 ในปัญหาดังกล่าว ศาลฎีกาก็ไม่รับวินิจฉัย ส่วนที่โจทก์ฎีกาในปัญหาข้อเท็จจริงนั้น เมื่อคดีสำหรับจำเลยที่ 5 และที่ 8 เป็นอันยุติตามคำพิพากษาศาลอุทธรณ์แล้วว่าฟ้องของโจทก์ไม่ชอบด้วยประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความอาญา มาตรา 158(5)และพิพากษายืนตามคำพิพากษาศาลชั้นต้นที่ให้ยกฟ้อง ศาลฎีกาจึงไม่จำต้องวินิจฉัยปัญหาข้อเท็จจริงดังกล่าวอีกต่อไป
โจทก์ได้บรรยายฟ้องให้เห็นถึงมูลคดีที่ต้องมาฟ้องเป็นคดีนี้ก็เพราะโจทก์ร่วมเป็นเจ้าหนี้ของจำเลยที่ 1 และที่ 8 ในเรื่องผิดสัญญาจะซื้อจะขายที่ดินต่อกัน เป็นเหตุให้โจทก์ร่วมต้องนำคดีมาฟ้องต่อศาลแพ่ง ซึ่งจำเลยทั้งแปดได้ร่วมกันกระทำการเพื่อมิให้โจทก์ร่วมได้รับชำระหนี้ในคดีดังกล่าวด้วยการร่วมกันนำสืบและแสดงสัญญาว่าจ้างตัวแทนระหว่างจำเลยที่ 1 และที่ 2 อันเป็นเท็จ ทั้งนี้เพื่อแกล้งให้จำเลยที่ 1 เป็นหนี้จำเลยที่ 2 เป็นเหตุให้ศาลแพ่งพิพากษาให้จำเลยที่ 1 แพ้คดีแก่จำเลยที่ 2 นอกจากนี้โจทก์ยังได้บรรยายฟ้องถึงวันเวลาและสถานที่เกิดเหตุมาด้วยที่สำคัญจำเลยที่ 1 ถึงที่ 3 จำเลยที่ 6 และที่ 7 มิได้อุทธรณ์ในปัญหาข้อนี้ รูปคดีเป็นที่เข้าใจได้ว่าจำเลยที่ 1 ถึงที่ 3 จำเลยที่ 6 และที่ 7 ต่างเข้าใจข้อหาทั้งหมดได้ดี กรณีต้องด้วยประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความอาญา มาตรา 158(5) ฟ้องของโจทก์สำหรับจำเลยทั้งห้าคนดังกล่าวจึงชอบแล้ว
ศาลอุทธรณ์วินิจฉัยว่า ฟ้องโจทก์เคลือบคลุมโดยยังมิได้พิพากษาในเนื้อหาแท้จริงอันเป็นสาระสำคัญในประเด็นแห่งคดี แม้คู่ความจะสืบพยานจนเสร็จสิ้นเป็นการเพียงพอที่ศาลฎีกาจะวินิจฉัยปัญหาข้อเท็จจริงไปเสียเองได้ก็ตามแต่ผลแห่งการวินิจฉัยของศาลอุทธรณ์อาจนำไปสู่การจำกัดสิทธิการฎีกาของคู่ความได้เพื่อให้การดำเนินคดีเป็นไปตามขั้นตอน ศาลฎีกาเห็นสมควรให้ศาลอุทธรณ์พิพากษาในเนื้อหาแห่งคดีเสียก่อน ตามประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความแพ่ง มาตรา 240(3) ประกอบด้วยมาตรา 247 และประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความอาญา มาตรา 15
โจทก์ได้บรรยายฟ้องให้เห็นถึงมูลคดีที่ต้องมาฟ้องเป็นคดีนี้ก็เพราะโจทก์ร่วมเป็นเจ้าหนี้ของจำเลยที่ 1 และที่ 8 ในเรื่องผิดสัญญาจะซื้อจะขายที่ดินต่อกัน เป็นเหตุให้โจทก์ร่วมต้องนำคดีมาฟ้องต่อศาลแพ่ง ซึ่งจำเลยทั้งแปดได้ร่วมกันกระทำการเพื่อมิให้โจทก์ร่วมได้รับชำระหนี้ในคดีดังกล่าวด้วยการร่วมกันนำสืบและแสดงสัญญาว่าจ้างตัวแทนระหว่างจำเลยที่ 1 และที่ 2 อันเป็นเท็จ ทั้งนี้เพื่อแกล้งให้จำเลยที่ 1 เป็นหนี้จำเลยที่ 2 เป็นเหตุให้ศาลแพ่งพิพากษาให้จำเลยที่ 1 แพ้คดีแก่จำเลยที่ 2 นอกจากนี้โจทก์ยังได้บรรยายฟ้องถึงวันเวลาและสถานที่เกิดเหตุมาด้วยที่สำคัญจำเลยที่ 1 ถึงที่ 3 จำเลยที่ 6 และที่ 7 มิได้อุทธรณ์ในปัญหาข้อนี้ รูปคดีเป็นที่เข้าใจได้ว่าจำเลยที่ 1 ถึงที่ 3 จำเลยที่ 6 และที่ 7 ต่างเข้าใจข้อหาทั้งหมดได้ดี กรณีต้องด้วยประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความอาญา มาตรา 158(5) ฟ้องของโจทก์สำหรับจำเลยทั้งห้าคนดังกล่าวจึงชอบแล้ว
ศาลอุทธรณ์วินิจฉัยว่า ฟ้องโจทก์เคลือบคลุมโดยยังมิได้พิพากษาในเนื้อหาแท้จริงอันเป็นสาระสำคัญในประเด็นแห่งคดี แม้คู่ความจะสืบพยานจนเสร็จสิ้นเป็นการเพียงพอที่ศาลฎีกาจะวินิจฉัยปัญหาข้อเท็จจริงไปเสียเองได้ก็ตามแต่ผลแห่งการวินิจฉัยของศาลอุทธรณ์อาจนำไปสู่การจำกัดสิทธิการฎีกาของคู่ความได้เพื่อให้การดำเนินคดีเป็นไปตามขั้นตอน ศาลฎีกาเห็นสมควรให้ศาลอุทธรณ์พิพากษาในเนื้อหาแห่งคดีเสียก่อน ตามประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความแพ่ง มาตรา 240(3) ประกอบด้วยมาตรา 247 และประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความอาญา มาตรา 15
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 2839/2540 เวอร์ชัน 3 คำพิพากษาฎีกานี้ มีเนื้อหาจากเว็บทางการหลายรูปแบบ
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
การรับฟังข้อเท็จจริงจากคดีอาญาในคดีแพ่ง, การบรรยายฟ้อง, และการย้อนสำนวนเพื่อวินิจฉัยประเด็นข้อเท็จจริง
การบรรยายฟ้องในคดีแพ่ง ตามประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความแพ่งมาตรา 172 กำหนดแต่เพียงว่า ฟ้องต้องแสดงโดยชัดแจ้งซึ่งสภาพแห่งข้อหาและคำขอบังคับ ทั้งข้ออ้างที่อาศัยเป็นหลักแห่งข้อหาเท่านั้น หาต้องบรรยายถึงข้อเท็จจริงและรายละเอียดเหมือนกับฟ้องในคดีอาญาไม่ ส่วนรายละเอียดที่จะต้องนำพยานเข้าสืบเมื่อมีประเด็นโต้เถียงกันแม้โจทก์จะไม่ได้บรรยายข้อความเหล่านั้นมา ฟ้องโจทก์ก็ไม่เคลือบคลุม การจะนำข้อเท็จจริงจากคำพิพากษาส่วนอาญามารับฟังในคดีส่วนแพ่งตามประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความอาญา มาตรา 46นั้น จะต้องประกอบด้วยหลักเกณฑ์ 3 ประการ คือ คำพิพากษาคดีอาญาต้องถึงที่สุด ข้อเท็จจริงนั้นต้องเป็นประเด็นโดยตรงในคดีอาญาและคำพิพากษาคดีอาญาต้องวินิจฉัยไว้โดยชัดแจ้งและผู้ที่จะถูกข้อเท็จจริงในคดีอาญามาผูกพัน ต้องเป็นคู่ความในคดีอาญา โจทก์ฟ้องจำเลยเป็นคดีอาญาในข้อหาร่วมกันบุกรุกที่ดินพิพาทและทำให้เสียทรัพย์ ศาลอุทธรณ์วินิจฉัยว่าจำเลยทั้งสองไม่มีเจตนาบุกรุกหรือทำให้เสียทรัพย์ ส่วนที่ว่าที่ดินพิพาทจะเป็นของโจทก์หรือจำเลยไม่จำต้องวินิจฉัยคดีดังกล่าวถึงที่สุดแล้ว ดังนี้แม้โจทก์และจำเลยคดีก่อนเป็นคู่ความรายเดียวกับคดีนี้ก็ตาม แต่ปัญหาที่ว่าที่ดินพิพาทตามฟ้องเป็นของโจทก์ทั้งสองหรือของจำเลยทั้งสองซึ่งเป็นประเด็นโดยตรงในคดีนี้ คดีอาญายังไม่ได้วินิจฉัย จึงนำข้อเท็จจริงในคดีอาญาดังกล่าวมารับฟังเป็นยุติในคดีนี้ซึ่งเป็นคดีแพ่งไม่ได้ การที่ศาลชั้นต้นและศาลอุทธรณ์นำเอาข้อเท็จจริงดังกล่าวในคดีอาญามารับฟังว่าที่ดินพิพาทเป็นของโจทก์ทั้งสองจึงเป็นการไม่ชอบด้วยบทกฎหมาย และปัญหานี้ต้องวินิจฉัยจากพยานหลักฐานในสำนวน แต่เมื่อคดีนี้ต้องห้ามฎีกาในปัญหาข้อเท็จจริง ศาลฎีกาเห็นสมควรย้อนสำนวนไปให้ศาลชั้นต้นวินิจฉัยในปัญหาที่ว่าที่ดินพิพาทเป็นของโจทก์หรือจำเลย ปัญหาอื่น ๆ ตามคำฟ้องของโจทก์ต่อไปตามประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความแพ่ง มาตรา 240(3) ประกอบด้วยมาตรา 247 จำเลยให้การสู้คดีอ้างสิทธิครอบครองที่ดินจำนวน 20 ไร่ทุนทรัพย์ที่พิพาทจึงถือตามราคาที่ดินจำนวน 20 ไร่ แต่โจทก์เสียค่าขึ้นศาลในศาลชั้นต้นและจำเลยทั้งสองเสียค่าขึ้นศาลในชั้นอุทธรณ์และฎีกามาในราคาที่ดินจำนวน 90 ไร่ศาลฎีกาให้คืนค่าขึ้นศาลในส่วนที่เกินมาให้โจทก์และจำเลย
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 2839/2540 เวอร์ชัน 4 คำพิพากษาฎีกานี้ มีเนื้อหาจากเว็บทางการหลายรูปแบบ
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
การรับฟังข้อเท็จจริงจากคดีอาญาในคดีแพ่งและการกำหนดทุนทรัพย์ที่ถูกต้อง
การบรรยายฟ้องในคดีแพ่ง ตาม ป.วิ.พ.มาตรา 172 กำหนดแต่เพียงว่า ฟ้องต้องแสดงโดยชัดแจ้งซึ่งสภาพแห่งข้อหาและคำขอบังคับ ทั้งข้ออ้างที่อาศัยเป็นหลักแห่งข้อหาเท่านั้น หาต้องบรรยายถึงข้อเท็จจริงและรายละเอียดเหมือนกับฟ้องในคดีอาญาไม่ ส่วนรายละเอียดที่จะต้องนำพยานเข้าสืบเมื่อมีประเด็นโต้เถียงกันแม้โจทก์จะไม่ได้บรรยายข้อความเหล่านั้นมา ฟ้องโจทก์ก็ไม่เคลือบคลุม
การจะนำข้อเท็จจริงจากคำพิพากษาส่วนอาญามารับฟังในคดีส่วนแพ่งตาม ป.วิ.อ.มาตรา 46 นั้น จะต้องประกอบด้วยหลักเกณฑ์ 3 ประการคือ คำพิพากษาคดีอาญาต้องถึงที่สุด ข้อเท็จจริงนั้นต้องเป็นประเด็นโดยตรงในคดีอาญาและคำพิพากษาคดีอาญาต้องวินิจฉัยไว้โดยชัดแจ้ง และผู้ที่จะถูกข้อเท็จจริงในคดีอาญามาผูกพัน ต้องเป็นคู่ความในคดีอาญา
โจทก์ฟ้องจำเลยเป็นคดีอาญาในข้อหาร่วมกันบุกรุกที่ดินพิพาทและทำให้เสียทรัพย์ ศาลอุทธรณ์วินิจฉัยว่า จำเลยทั้งสองไม่มีเจตนาบุกรุกหรือทำให้เสียทรัพย์ ส่วนที่ว่าที่ดินพิพาทจะเป็นของโจทก์หรือจำเลยไม่จำเป็นต้องวินิจฉัยคดีดังกล่าวถึงที่สุดแล้ว ดังนี้แม้โจทก์และจำเลยคดีก่อนเป็นคู่ความรายเดียวกับคดีนี้ก็ตาม แต่ปัญหาที่ว่าที่ดินพิพาทตามฟ้องเป็นของโจทก์ทั้งสองหรือของจำเลยทั้งสองซึ่งเป็นประเด็นโดยตรงในคดีนี้ คดีอาญายังไม่ได้วินิจฉัย จึงนำข้อเท็จจริงในคดีอาญาดังกล่าวมารับฟังเป็นยุติในคดีนี้ซึ่งเป็นคดีแพ่งไม่ได้ การที่ศาลชั้นต้นและศาลอุทธรณ์นำเอาข้อเท็จจริงดังกล่าวในคดีอาญามารับฟังว่าที่ดินพิพาทเป็นของโจทก์ทั้งสองจึงเป็นการไม่ชอบด้วยบทกฎหมาย และปัญหานี้ต้องวินิจฉัยจากพยานหลักฐานในสำนวนแต่เมื่อคดีนี้ต้องห้ามฎีกาในปัญหาข้อเท็จจริง ศาลฎีกาเห็นสมควรย้อนสำนวนไปให้ศาลชั้นต้นวินิจฉัยในปัญหาที่ว่าที่ดินพิพาทเป็นของโจทก์หรือจำเลย ปัญหาอื่น ๆ ตามคำฟ้องของโจทก์ต่อไปตาม ป.วิ.พ.มาตรา 240 (3) ประกอบด้วยมาตรา 247
จำเลยให้การสู้คดีอ้างสิทธิครอบครองที่ดินจำนวน 20 ไร่ทุนทรัพย์ที่พิพาทจึงถือตามราคาที่ดินจำนวน 20 ไร่ แต่โจทก์เสียค่าขึ้นศาลในศาลชั้นต้นและจำเลยทั้งสองเสียค่าขึ้นศาลในชั้นอุทธรณ์และฎีกามาในราคาที่ดินจำนวน 90 ไร่ศาลฎีกาให้คืนค่าขึ้นศาลในส่วนที่เกินมาให้โจทก์และจำเลย
การจะนำข้อเท็จจริงจากคำพิพากษาส่วนอาญามารับฟังในคดีส่วนแพ่งตาม ป.วิ.อ.มาตรา 46 นั้น จะต้องประกอบด้วยหลักเกณฑ์ 3 ประการคือ คำพิพากษาคดีอาญาต้องถึงที่สุด ข้อเท็จจริงนั้นต้องเป็นประเด็นโดยตรงในคดีอาญาและคำพิพากษาคดีอาญาต้องวินิจฉัยไว้โดยชัดแจ้ง และผู้ที่จะถูกข้อเท็จจริงในคดีอาญามาผูกพัน ต้องเป็นคู่ความในคดีอาญา
โจทก์ฟ้องจำเลยเป็นคดีอาญาในข้อหาร่วมกันบุกรุกที่ดินพิพาทและทำให้เสียทรัพย์ ศาลอุทธรณ์วินิจฉัยว่า จำเลยทั้งสองไม่มีเจตนาบุกรุกหรือทำให้เสียทรัพย์ ส่วนที่ว่าที่ดินพิพาทจะเป็นของโจทก์หรือจำเลยไม่จำเป็นต้องวินิจฉัยคดีดังกล่าวถึงที่สุดแล้ว ดังนี้แม้โจทก์และจำเลยคดีก่อนเป็นคู่ความรายเดียวกับคดีนี้ก็ตาม แต่ปัญหาที่ว่าที่ดินพิพาทตามฟ้องเป็นของโจทก์ทั้งสองหรือของจำเลยทั้งสองซึ่งเป็นประเด็นโดยตรงในคดีนี้ คดีอาญายังไม่ได้วินิจฉัย จึงนำข้อเท็จจริงในคดีอาญาดังกล่าวมารับฟังเป็นยุติในคดีนี้ซึ่งเป็นคดีแพ่งไม่ได้ การที่ศาลชั้นต้นและศาลอุทธรณ์นำเอาข้อเท็จจริงดังกล่าวในคดีอาญามารับฟังว่าที่ดินพิพาทเป็นของโจทก์ทั้งสองจึงเป็นการไม่ชอบด้วยบทกฎหมาย และปัญหานี้ต้องวินิจฉัยจากพยานหลักฐานในสำนวนแต่เมื่อคดีนี้ต้องห้ามฎีกาในปัญหาข้อเท็จจริง ศาลฎีกาเห็นสมควรย้อนสำนวนไปให้ศาลชั้นต้นวินิจฉัยในปัญหาที่ว่าที่ดินพิพาทเป็นของโจทก์หรือจำเลย ปัญหาอื่น ๆ ตามคำฟ้องของโจทก์ต่อไปตาม ป.วิ.พ.มาตรา 240 (3) ประกอบด้วยมาตรา 247
จำเลยให้การสู้คดีอ้างสิทธิครอบครองที่ดินจำนวน 20 ไร่ทุนทรัพย์ที่พิพาทจึงถือตามราคาที่ดินจำนวน 20 ไร่ แต่โจทก์เสียค่าขึ้นศาลในศาลชั้นต้นและจำเลยทั้งสองเสียค่าขึ้นศาลในชั้นอุทธรณ์และฎีกามาในราคาที่ดินจำนวน 90 ไร่ศาลฎีกาให้คืนค่าขึ้นศาลในส่วนที่เกินมาให้โจทก์และจำเลย
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 2839/2540
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
การนำข้อเท็จจริงจากคดีอาญามาใช้ในคดีแพ่งต้องเป็นประเด็นที่วินิจฉัยถึงที่สุด และการพิจารณาประเด็นข้อเท็จจริงเรื่องกรรมสิทธิ์ที่ดิน
การบรรยายฟ้องในคดีแพ่งตามประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความแพ่งมาตรา172กำหนดแต่เพียงว่าฟ้องต้องแสดงโดยชัดแจ้งซึ่งสภาพแห่งข้อหาและคำขอบังคับทั้งข้ออ้างที่อาศัยเป็นหลักแห่งข้อหาเท่านั้นหาต้องบรรยายถึงข้อเท็จจริงและรายละเอียดเหมือนกับฟ้องในคดีอาญาไม่ส่วนรายละเอียดที่จะต้องนำพยานเข้าสืบเมื่อมีประเด็นโต้เถียงกันแม้โจทก์จะไม่ได้บรรยายข้อความเหล่านั้นมาฟ้องโจทก์ก็ไม่เคลือบคลุม การจะนำข้อเท็จจริงจากคำพิพากษาส่วนอาญามารับฟังในคดีส่วนแพ่งตามประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความอาญามาตรา46นั้นจะต้องประกอบด้วยหลักเกณฑ์3ประการคือคำพิพากษาคดีอาญาต้องถึงที่สุดข้อเท็จจริงนั้นต้องเป็นประเด็นโดยตรงในคดีอาญาและคำพิพากษาคดีอาญาต้องวินิจฉัยไว้โดยชัดแจ้งและผู้ที่จะถูกข้อเท็จจริงในคดีอาญามาผูกพันต้องเป็นคู่ความในคดีอาญา โจทก์ฟ้องจำเลยเป็นคดีอาญาในข้อหาร่วมกันบุกรุกที่ดินพิพาทและทำให้เสียทรัพย์ศาลอุทธรณ์วินิจฉัยว่าจำเลยทั้งสองไม่มีเจตนาบุกรุกหรือทำให้เสียทรัพย์ส่วนที่ว่าที่ดินพิพาทจะเป็นของโจทก์หรือจำเลยไม่จำต้องวินิจฉัยคดีดังกล่าวถึงที่สุดแล้วดังนี้แม้โจทก์และจำเลยคดีก่อนเป็นคู่ความรายเดียวกับคดีนี้ก็ตามแต่ปัญหาที่ว่าที่ดินพิพาทตามฟ้องเป็นของโจทก์ทั้งสองหรือของจำเลยทั้งสองซึ่งเป็นประเด็นโดยตรงในคดีนี้คดีอาญายังไม่ได้วินิจฉัยจึงนำข้อเท็จจริงในคดีอาญาดังกล่าวมารับฟังเป็นยุติในคดีนี้ซึ่งเป็นคดีแพ่งไม่ได้การที่ศาลชั้นต้นและศาลอุทธรณ์นำเอาข้อเท็จจริงดังกล่าวในคดีอาญามารับฟังว่าที่ดินพิพาทเป็นของโจทก์ทั้งสองจึงเป็นการไม่ชอบด้วยบทกฎหมายและปัญหานี้ต้องวินิจฉัยจากพยานหลักฐานในสำนวนแต่เมื่อคดีนี้ต้องห้ามฎีกาในปัญหาข้อเท็จจริงศาลฎีกาเห็นสมควรย้อนสำนวนไปให้ศาลชั้นต้นวินิจฉัยในปัญหาที่ว่าที่ดินพิพาทเป็นของโจทก์หรือจำเลยปัญหาอื่นๆตามคำฟ้องของโจทก์ต่อไปตามประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความแพ่งมาตรา240(3)ประกอบด้วยมาตรา247 จำเลยให้การสู้คดีอ้างสิทธิครอบครองที่ดินจำนวน20ไร่ทุนทรัพย์ที่พิพาทจึงถือตามราคาที่ดินจำนวน20ไร่แต่โจทก์เสียค่าขึ้นศาลในศาลชั้นต้นและจำเลยทั้งสองเสียค่าขึ้นศาลในชั้นอุทธรณ์และฎีกามาในราคาที่ดินจำนวน90ไร่ศาลฎีกาให้คืนค่าขึ้นศาลในส่วนที่เกินมาให้โจทก์และจำเลย
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 1723/2540
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
การเพิกถอนนิติกรรมการให้ที่ดินที่ไม่ชอบด้วยกฎหมาย ไม่ถือเป็นการฟ้องแบ่งมรดก ไม่ขาดอายุความ
ตามฟ้องโจทก์เป็นการฟ้องขอให้เพิกถอนนิติกรรมการให้ที่ดินของบ. ที่ไม่ชอบด้วยกฎหมายไม่ใช่เป็นการฟ้องขอแบ่งมรดกของเจ้ามรดกจากจำเลยซึ่งโจทก์ในฐานะผู้จัดการมรดกของบ.สามารถฟ้องเพื่อติดตามทรัพย์มรดกของเจ้ามรดกให้กลับมาเป็นทรัพย์มรดกของเจ้ามรดกจากบุคคลผู้ไม่มีสิทธิที่จะยึดถือไว้ได้ตามประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์มาตรา1336และกรณีดังกล่าวไม่มีบทบัญญัติเรื่องอายุความในการติดตามเอาทรัพย์สินคืนไว้จึงนำอายุความมรดก1ปีตามประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์มาตรา1754วรรคหนึ่งมาใช้บังคับไม่ได้คดีของโจทก์จึงไม่ขาดอายุความ ชั้นอุทธรณ์คดียังคงมีประเด็นข้อพิพาทว่าว.รับโอนที่ดินพิพาทมาโดยชอบหรือไม่และโจทก์มีสิทธิฟ้องขอเพิกถอนการโอนหรือไม่ซึ่งศาลชั้นต้นพิพากษาให้โจทก์ชนะคดีในประเด็นข้อพิพาททั้งสองข้อดังกล่าวและจำเลยก็ได้ยื่นอุทธรณ์โต้แย้งคัดค้านไว้ทั้งโจทก์ก็ได้ยื่นแก้อุทธรณ์เป็นประเด็นในชั้นอุทธรณ์ไว้แต่ศาลอุทธรณ์ยังมิได้วินิจฉัยจึงเป็นการไม่ชอบแต่ในชั้นฎีกาแม้ประเด็นข้อพิพาททั้งสองข้อนี้คู่ความจะได้นำสืบข้อเท็จจริงกันมาเสร็จสิ้นกระแสความแล้วก็ตามแต่ศาลฎีกาเห็นสมควรย้อนสำนวนไปให้ศาลอุทธรณ์เป็นผู้วินิจฉัยเสียก่อนทั้งนี้เพื่อให้การวินิจฉัยรับฟังข้อเท็จจริงในประเด็นข้อพิพาทอันเป็นเนื้อหาหลักของคดีเป็นไปตามลำดับชั้นศาล
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 1723/2540 เวอร์ชัน 3 คำพิพากษาฎีกานี้ มีเนื้อหาจากเว็บทางการหลายรูปแบบ
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
การเพิกถอนนิติกรรมการให้ที่ดินที่ไม่ชอบด้วยกฎหมาย โดยมิใช่การแบ่งมรดก และประเด็นอายุความในการติดตามทรัพย์สินคืน
ตามฟ้องโจทก์เป็นการฟ้องขอให้เพิกถอนนิติกรรมการให้ที่ดินของ บ. ที่ไม่ชอบด้วยกฎหมาย ไม่ใช่เป็นการฟ้องขอแบ่งมรดกของเจ้ามรดกจากจำเลย ซึ่งโจทก์ในฐานะผู้จัดการมรดกของ บ.สามารถฟ้องเพื่อติดตามทรัพย์มรดกของเจ้ามรดกให้กลับมาเป็นทรัพย์มรดกของเจ้ามรดกจากบุคคลผู้ไม่มีสิทธิที่จะยึดถือไว้ได้ ตามประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ มาตรา 1336 และกรณีดังกล่าวไม่มีบทบัญญัติเรื่องอายุความในการติดตามเอาทรัพย์สินคืนไว้ จึงนำอายุความมรดก 1 ปี ตามประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ มาตรา 1754วรรคหนึ่ง มาใช้บังคับไม่ได้ คดีของโจทก์จึงไม่ขาดอายุความ ชั้นอุทธรณ์คดียังคงมีประเด็นข้อพิพาทว่า ว.รับโอนที่ดินพิพาทมาโดยชอบหรือไม่ และโจทก์มีสิทธิฟ้องขอเพิกถอนการโอนหรือไม่ ซึ่งศาลชั้นต้นพิพากษาให้โจทก์ชนะคดีในประเด็นข้อพิพาททั้งสองข้อดังกล่าว และจำเลยก็ได้ยื่นอุทธรณ์โต้แย้งคัดค้านไว้ทั้งโจทก์ก็ได้ยื่นแก้อุทธรณ์เป็นประเด็นในชั้นอุทธรณ์ไว้ แต่ศาลอุทธรณ์ยังมิได้วินิจฉัยจึงเป็นการไม่ชอบ แต่ในชั้นฎีกาแม้ประเด็นข้อพิพาททั้งสองข้อนี้คู่ความจะได้นำสืบข้อเท็จจริงกันมาเสร็จสิ้นกระแสความแล้วก็ตาม แต่ศาลฎีกาเห็นสมควรย้อนสำนวนไปให้ศาลอุทธรณ์เป็นผู้วินิจฉัยเสียก่อน ทั้งนี้เพื่อให้การวินิจฉัยรับฟังข้อเท็จจริงในประเด็นข้อพิพาทอันเป็นเนื้อหาหลักของคดีเป็นไปตามลำดับชั้นศาล
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 1723/2540 เวอร์ชัน 4 คำพิพากษาฎีกานี้ มีเนื้อหาจากเว็บทางการหลายรูปแบบ
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
การเพิกถอนนิติกรรมโอนที่ดินมรดก: อายุความและลำดับชั้นศาล
ตามฟ้องโจทก์เป็นการฟ้องขอให้เพิกถอนนิติกรรมการให้ที่ดินของ บ.ที่ไม่ชอบด้วยกฎหมาย ไม่ใช่เป็นการฟ้องขอแบ่งมรดกของเจ้ามรดกจากจำเลย ซึ่งโจทก์ในฐานะผู้จัดการมรดกของ บ.สามารถฟ้องเพื่อติดตามทรัพย์มรดกของเจ้ามรดกให้กลับมาเป็นทรัพย์มรดกของเจ้ามรดกจากบุคคลผู้ไม่มีสิทธิที่จะยึดถือไว้ได้ ตาม ป.พ.พ.มาตรา 1336 และกรณีดังกล่าวไม่มีบทบัญญัติเรื่องอายุความในการติดตามเอาทรัพย์สินคืนไว้ จึงนำอายุความมรดก 1 ปี ตาม ป.พ.พ.มาตรา1754 วรรคหนึ่ง มาใช้บังคับไม่ได้ คดีของโจทก์จึงไม่ขาดอายุความ
ชั้นอุทธรณ์คดียังคงมีประเด็นข้อพิพาทว่า ว.รับโอนที่ดินพิพาทมาโดยชอบหรือไม่ และโจทก์มีสิทธิฟ้องขอเพิกถอนการโอนหรือไม่ ซึ่งศาลชั้นต้นพิพากษาให้โจทก์ชนะคดีในประเด็นข้อพิพาททั้งสองข้อดังกล่าว และจำเลยก็ได้ยื่นอุทธรณ์โต้แย้งคัดค้านไว้ ทั้งโจทก์ก็ได้ยื่นแก้อุทธรณ์เป็นประเด็นในชั้นอุทธรณ์ไว้แต่ศาลอุทธรณ์ยังมิได้วินิจฉัยจึงเป็นการไม่ชอบ แต่ในชั้นฎีกาแม้ประเด็นข้อพิพาททั้งสองข้อนี้คู่ความจะได้นำสืบข้อเท็จจริงกันมาเสร็จสิ้นกระแสความแล้วก็ตามแต่ศาลฎีกาเห็นสมควรย้อนสำนวนไปให้ศาลอุทธรณ์เป็นผู้วินิจฉัยเสียก่อน ทั้งนี้เพื่อให้การวินิจฉัยรับฟังข้อเท็จจริงในประเด็นข้อพิพาทอันเป็นเนื้อหาหลักของคดีเป็นไปตามลำดับชั้นศาล
ชั้นอุทธรณ์คดียังคงมีประเด็นข้อพิพาทว่า ว.รับโอนที่ดินพิพาทมาโดยชอบหรือไม่ และโจทก์มีสิทธิฟ้องขอเพิกถอนการโอนหรือไม่ ซึ่งศาลชั้นต้นพิพากษาให้โจทก์ชนะคดีในประเด็นข้อพิพาททั้งสองข้อดังกล่าว และจำเลยก็ได้ยื่นอุทธรณ์โต้แย้งคัดค้านไว้ ทั้งโจทก์ก็ได้ยื่นแก้อุทธรณ์เป็นประเด็นในชั้นอุทธรณ์ไว้แต่ศาลอุทธรณ์ยังมิได้วินิจฉัยจึงเป็นการไม่ชอบ แต่ในชั้นฎีกาแม้ประเด็นข้อพิพาททั้งสองข้อนี้คู่ความจะได้นำสืบข้อเท็จจริงกันมาเสร็จสิ้นกระแสความแล้วก็ตามแต่ศาลฎีกาเห็นสมควรย้อนสำนวนไปให้ศาลอุทธรณ์เป็นผู้วินิจฉัยเสียก่อน ทั้งนี้เพื่อให้การวินิจฉัยรับฟังข้อเท็จจริงในประเด็นข้อพิพาทอันเป็นเนื้อหาหลักของคดีเป็นไปตามลำดับชั้นศาล