พบผลลัพธ์ทั้งหมด 223 รายการ
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 2102/2511
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
การเปลี่ยนแปลงฐานความผิดจากวิ่งราวทรัพย์เป็นลักทรัพย์ และอำนาจศาลในการวินิจฉัยปัญหาข้อกฎหมาย
ฟ้องขอให้ลงโทษฐานวิ่งราวทรัพย์. ทางพิจารณาฟังไม่ได้ว่าจำเลยฉกฉวยเอาซึ่งหน้า. ศาลลงโทษฐานลักทรัพย์ได้.
ปัญหาข้อนี้เป็นข้อกฎหมายที่เกี่ยวกับความสงบเรียบร้อย. ศาลยกขึ้นวินิจฉัยเองได้.
ปัญหาข้อนี้เป็นข้อกฎหมายที่เกี่ยวกับความสงบเรียบร้อย. ศาลยกขึ้นวินิจฉัยเองได้.
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 2101/2511 เวอร์ชัน 3 คำพิพากษาฎีกานี้ มีเนื้อหาจากเว็บทางการหลายรูปแบบ
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
อำนาจสอบสวนของพนักงานสอบสวนและการยกข้อต่อสู้ใหม่ในชั้นฎีกา
การที่จะพิจารณาว่าเจ้าพนักงานสอบสวนมีอำนาจสอบสวนหรือไม่นั้นเป็นข้อเท็จจริง เพราะจะต้องพิจารณาข้อบังคับทั้งหลายซึ่งว่าด้วยอำนาจและหน้าที่ของตำรวจเป็นข้อประกอบด้วย ดังที่ประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความอาญา มาตรา 16 ได้บัญญัติไว้ ดังนั้น เมื่อจำเลยมิได้ยกข้อนี้ขึ้นต่อสู้ในศาลชั้นต้น จำเลยจะยกปัญหาข้อนี้ขึ้นฎีกาไม่ได้ตามประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความอาญา มาตรา 193 วรรคสอง ประกอบด้วย มาตรา 225
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 2101/2511
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
อำนาจสอบสวนของพนักงานสอบสวนและการยกข้อต่อสู้ในชั้นฎีกา
การที่จะพิจารณาว่าเจ้าพนักงานสอบสวนมีอำนาจสอบสวนหรือไม่นั้นเป็นข้อเท็จจริง. เพราะจะต้องพิจารณาข้อบังคับทั้งหลายซึ่งว่าด้วยอำนาจและหน้าที่ของตำรวจเป็นข้อประกอบด้วย. ดังที่ประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความอาญา มาตรา 16 ได้บัญญัติไว้. ดังนั้น เมื่อจำเลยมิได้ยกข้อนี้ขึ้นต่อสู้ในศาลชั้นต้น. จำเลยจะยกปัญหาข้อนี้ขึ้นฎีกาไม่ได้.ตามประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความอาญา มาตรา 193 วรรคสอง ประกอบด้วย มาตรา 225.
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 2101/2511 เวอร์ชัน 2 คำพิพากษาฎีกานี้ มีเนื้อหาจากเว็บทางการหลายรูปแบบ
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
อำนาจสอบสวนของพนักงานสอบสวนและการยกข้อต่อสู้ช้าเกินไป
การที่จะพิจารณาว่าเจ้าพนักงานสอบสวนมีอำนาจสอบสวนหรือไม่นั้นเป็นข้อเท็จจริง เพราะจะต้องพิจารณาข้อบังคับทั้งหลายซึ่งว่าด้วยอำนาจและหน้าที่ของตำรวจเป็นข้อประกอบด้วย ดังที่ประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความอาญา มาตรา 16 ได้บัญญัติไว้ ดังนั้น เมื่อจำเลยมิได้ยกข้อนี้ขึ้นต่อสู้ในศาลชั้นต้น จำเลยจะยกปัญหาข้อนี้ขึ้นฎีกาไม่ได้ ตามประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความอาญา มาตรา 193 วรรคสอง ประกอบด้วย มาตรา 225
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 2007/2511 เวอร์ชัน 2 คำพิพากษาฎีกานี้ มีเนื้อหาจากเว็บทางการหลายรูปแบบ
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
คำสั่งระหว่างพิจารณาที่ไม่ทำให้คดีเสร็จสิ้นยังคงมีสิทธิอุทธรณ์ได้ตามกฎหมาย
คำสั่งศาลชั้นต้นที่ว่า "คดีก่อนศาลสั่งจำหน่ายคดีโจทก์มีสิทธิฟ้องจำเลยที่ 1 ได้อีกไม่เป็นฟ้องซ้ำ ให้ดำเนินคดีสืบพยานโจทก์ไป" นั้น หาทำให้คดีเสร็จสำนวนไม่ เพราะศาลยังต้องทำการสืบพยานและพิพากษาชี้ขาดต่อไป เมื่อมีการอุทธรณ์คำสั่งนี้ จึงเป็นอุทธรณ์คำสั่งระหว่างพิจารณา ซึ่งต้องห้ามมิให้อุทธรณ์ตามประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความอาญา มาตรา 196
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 2007/2511 เวอร์ชัน 3 คำพิพากษาฎีกานี้ มีเนื้อหาจากเว็บทางการหลายรูปแบบ
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
คำสั่งระหว่างพิจารณาที่ไม่ทำให้คดีเสร็จสิ้น ยังคงมีสิทธิอุทธรณ์ตามกฎหมาย
คำสั่งศาลชั้นต้นที่ว่า 'คดีก่อนศาลสั่งจำหน่ายคดีโจทก์มีสิทธิฟ้องจำเลยที่ 1 ได้อีกไม่เป็นฟ้องซ้ำ ให้ดำเนินคดีสืบพยานโจทก์ไป' นั้น หาทำให้คดีเสร็จสำนวนไม่ เพราะศาลยังต้องทำการสืบพยานและพิพากษาชี้ขาดต่อไป เมื่อมีการอุทธรณ์คำสั่งนี้ จึงเป็นอุทธรณ์คำสั่งระหว่างพิจารณา ซึ่งต้องห้ามมิให้อุทธรณ์ตามประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความอาญา มาตรา 196
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 2007/2511
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
คำสั่งศาลระหว่างพิจารณาไม่ทำให้คดีเสร็จสิ้น การอุทธรณ์คำสั่งดังกล่าวจึงเป็นอุทธรณ์ที่ไม่ชอบ
คำสั่งศาลชั้นต้นที่ว่า 'คดีก่อนศาลสั่งจำหน่ายคดีโจทก์มีสิทธิฟ้องจำเลยที่ 1 ได้อีกไม่เป็นฟ้องซ้ำ. ให้ดำเนินคดีสืบพยานโจทก์ไป' นั้น หาทำให้คดีเสร็จสำนวนไม่. เพราะศาลยังต้องทำการสืบพยานและพิพากษาชี้ขาดต่อไป. เมื่อมีการอุทธรณ์คำสั่งนี้. จึงเป็นอุทธรณ์คำสั่งระหว่างพิจารณา. ซึ่งต้องห้ามมิให้อุทธรณ์ตามประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความอาญา มาตรา 196.
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 2006/2511
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
รับของโจรกรรมเดียว: การฟ้องซ้ำเป็นเหตุให้สิทธิระงับตามกฎหมายวิธีพิจารณาความอาญา
คนร้ายลักทรัพย์สองเจ้าของ และจำเลยได้รับทรัพย์ที่ถูกลักทั้งสองเจ้าของนั้นไว้. โดยโจทก์สืบไม่ได้ว่าจำเลยได้รับทรัพย์ของกลางนั้นไว้ต่างคราวต่างวาระกันได้. จึงต้องฟังว่าจำเลยได้รับทรัพย์ของกลางทั้งสองรายนั้นไว้ในคราวเดียวกัน. ซึ่งเป็นการกระทำผิดฐานรับของโจรกรรมเดียว. แต่โจทก์ได้แยกฟ้องจำเลยเป็นสองคดี. คดีแรกจำเลยได้ถูกศาลพิพากษาลงโทษในความผิดฐานรับของโจรเสร็จเด็ดขาดไปแล้ว. โจทก์จึงไม่มีสิทธิจะนำคดีมาฟ้องขอให้ลงโทษจำเลยฐานรับของโจรในคดีหลังอีก. เพราะความผิดของจำเลยเป็นอันระงับไปตามประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความอาญา มาตรา 39(4)แล้ว.
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 2006/2511 เวอร์ชัน 3 คำพิพากษาฎีกานี้ มีเนื้อหาจากเว็บทางการหลายรูปแบบ
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
รับของโจรกรรมเดียว: การฟ้องซ้ำเป็นเหตุระงับความผิดตามประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความอาญา มาตรา 39(4)
คนร้ายลักทรัพย์สองเจ้าของ และจำเลยได้รับทรัพย์ที่ถูกลักทั้งสองเจ้าของนั้นไว้ โดยโจทก์สืบไม่ได้ว่าจำเลยได้รับทรัพย์ของกลางนั้นไว้ต่างคราวต่างวาระกันได้ จึงต้องฟังว่าจำเลยได้รับทรัพย์ของกลางทั้งสองรายนั้นไว้ในคราวเดียวกัน ซึ่งเป็นการกระทำผิดฐานรับของโจรกรรมเดียว แต่โจทก์ได้แยกฟ้องจำเลยเป็นสองคดี คดีแรกจำเลยได้ถูกศาลพิพากษาลงโทษในความผิดฐานรับของโจรเสร็จเด็ดขาดไปแล้ว โจทก์จึงไม่มีสิทธิจะนำคดีมาฟ้องขอให้ลงโทษจำเลยฐานรับของโจรในคดีหลังอีก เพราะความผิดของจำเลยเป็นอันระงับไปตามประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความอาญา มาตรา 39(4)แล้ว
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 2006/2511 เวอร์ชัน 2 คำพิพากษาฎีกานี้ มีเนื้อหาจากเว็บทางการหลายรูปแบบ
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
รับของโจรกรรมเดียว: การฟ้องซ้ำเป็นอันระงับตามกฎหมายวิธีพิจารณาความอาญา
คนร้ายลักทรัพย์สองเจ้าของ และจำเลยได้รับทรัพย์ที่ถูกลักทั้งสองเจ้าของนั้นไว้ โดยโจทก์สืบไม่ได้ว่าจำเลยได้รับทรัพย์ของกลางนั้นไว้ต่างคราวต่างวาระกันได้ จึงต้องฟังว่าจำเลยได้รับทรัพย์ของกลางทั้งสองรายนั้นไว้ในคราวเดียวกัน ซึ่งเป็นการกระทำผิดฐานรับของโจรกรรมเดียว แต่โจทก์ได้แยกฟ้องจำเลยเป็นสองคดี คดีแรกจำเลยได้ถูกศาลพิพากษาลงโทษในความผิดฐานรับของโจรเสร็จเด็ดขาดไปแล้วโจทก์จึงไม่มีสิทธิจะนำคดีมาฟ้องขอให้ลงโทษจำเลยฐานรับของโจรในคดีหลังอีก เพราะความผิดของจำเลยเป็นอันระงับไปตามประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความอาญา มาตรา 39(4) แล้ว