พบผลลัพธ์ทั้งหมด 223 รายการ
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 2004/2511
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
การให้โดยเสน่หาและสิทธิในสินสมรส: การให้ทรัพย์สินแก่บุตรด้วยความเสน่หาชอบด้วยกฎหมาย และสิทธิของคู่สมรสในสินสมรส
โจทก์กับจำเลยที่ 1 เป็นสามีภริยากัน. จำเลยที่ 2 เป็นบุตรโจทก์และจำเลยที่ 1 ได้ช่วยเหลือดูแลทรัพย์สินของโจทก์และจำเลยที่ 1. จำเลยที่ 2 ไปเฝ้าสวนของโจทก์และจำเลยที่ 1 ถูกคนร้ายยิงจนต้องเข้ารักษาตัวในโรงพยาบาลและ ตัดลำใส้. ในตอนหลังโจทก์กับจำเลยที่ 1 มีเรื่องจนต้องแยกกันอยู่. จำเลยที่ 1 ได้จำเลยที่ 2 ผู้เดียวเป็นผู้ปรนนิบัติ. นับได้ว่าจำเลยที่ 2มีปฏิการะต่อบิดามารดายิ่งกว่าบุตรคนอื่น. การที่จำเลยที่ 1 ยกที่ดินให้จำเลยที่ 2 อันเกิดจากโจทก์โดยเสน่หา ทั้งยกให้เพียงครึ่งหนึ่ง โดยจำเลยที่ 1จดทะเบียนสิทธิเก็บกินไว้ตลอดชีวิต. อีกครึ่งหนึ่งยังเป็นสินบริคณห์ระหว่างโจทก์กับจำเลยที่ 1 อยู่. ดังนี้เป็นการให้ตามสมควรในทางศีลธรรมอันดีตามประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ มาตรา 1473 วรรค 2(3).
โจทก์ฟ้องขอให้ลงชื่อโจทก์เป็นเจ้าของร่วมกับจำเลยในโฉนดที่ดินทั้งแปลง. เมื่อได้ความว่าที่ดินยังเป็นสินสมรสระหว่างโจทก์และจำเลยเพียงครึ่งหนึ่งก็ชอบที่จะลงชื่อโจทก์เป็นเจ้าของร่วมกับจำเลยในส่วนที่ยังเป็นสินสมรสอยู่นั้นได้.
โจทก์ฟ้องขอให้ลงชื่อโจทก์เป็นเจ้าของร่วมกับจำเลยในโฉนดที่ดินทั้งแปลง. เมื่อได้ความว่าที่ดินยังเป็นสินสมรสระหว่างโจทก์และจำเลยเพียงครึ่งหนึ่งก็ชอบที่จะลงชื่อโจทก์เป็นเจ้าของร่วมกับจำเลยในส่วนที่ยังเป็นสินสมรสอยู่นั้นได้.
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 2004/2511 เวอร์ชัน 3 คำพิพากษาฎีกานี้ มีเนื้อหาจากเว็บทางการหลายรูปแบบ
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
การให้โดยเสน่หาแก่บุตรและการแบ่งสินสมรส ศาลพิจารณาความเหมาะสมทางศีลธรรมและการลงชื่อเจ้าของร่วม
โจทก์กับจำเลยที่ 1 เป็นสามีภริยากัน. จำเลยที่ 2 เป็นบุตรโจทก์และจำเลยที่ 1 ได้ช่วยเหลือดูแลทรัพย์สินของโจทก์และจำเลยที่ 1 จำเลยที่ 2 ไปเฝ้าสวนของโจทก์และจำเลยที่ 1 ถูกคนร้ายยิงจนต้องเข้ารักษาตัวในโรงพยาบาลและตัดลำไส้ ในตอนหลังโจทก์กับจำเลยที่ 1 มีเรื่องจนต้องแยกกันอยู่ จำเลยที่ 1 ได้จำเลยที่ 2 ผู้เดียวเป็นผู้ปรนนิบัติ นับได้ว่าจำเลยที่ 2มีปฏิการะต่อบิดามารดายิ่งกว่าบุตรคนอื่น การที่จำเลยที่ 1 ยกที่ดินให้จำเลยที่ 2 อันเกิดจากโจทก์โดยเสน่หา ทั้งยกให้เพียงครึ่งหนึ่ง โดยจำเลยที่ 1 จดทะเบียนสิทธิเก็บกินไว้ตลอดชีวิต อีกครึ่งหนึ่งยังเป็นสินบริคณห์ระหว่างโจทก์กับจำเลยที่ 1 อยู่ ดังนี้เป็นการให้ตามสมควรในทางศีลธรรมอันดีตามประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ มาตรา 1473 วรรค 2(3)
โจทก์ฟ้องขอให้ลงชื่อโจทก์เป็นเจ้าของร่วมกับจำเลยในโฉนดที่ดินทั้งแปลง เมื่อได้ความว่าที่ดินยังเป็นสินสมรสระหว่างโจทก์และจำเลยเพียงครึ่งหนึ่งก็ชอบที่จะลงชื่อโจทก์เป็นเจ้าของร่วมกับจำเลยในส่วนที่ยังเป็นสินสมรสอยู่นั้นได้
โจทก์ฟ้องขอให้ลงชื่อโจทก์เป็นเจ้าของร่วมกับจำเลยในโฉนดที่ดินทั้งแปลง เมื่อได้ความว่าที่ดินยังเป็นสินสมรสระหว่างโจทก์และจำเลยเพียงครึ่งหนึ่งก็ชอบที่จะลงชื่อโจทก์เป็นเจ้าของร่วมกับจำเลยในส่วนที่ยังเป็นสินสมรสอยู่นั้นได้
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 2004/2511 เวอร์ชัน 2 คำพิพากษาฎีกานี้ มีเนื้อหาจากเว็บทางการหลายรูปแบบ
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
การให้โดยเสน่หาแก่บุตรที่ดูแลบิดามารดา และสิทธิในสินสมรส
โจทก์กับจำเลยที่ 1 เป็นสามีภริยากัน จำเลยที่ 2 เป็นบุตรโจทก์และจำเลยที่ 1 ได้ช่วยเหลือดูแลทรัพย์สินของโจทก์และจำเลยที่ 1 จำเลยที่ 2 ไปเฝ้าสวนของโจทก์และจำเลยที่ 1 ถูกคนร้ายยิงจนต้องเข้ารักษาตัวในโรงพยาบาลและ ตัดลำใส้ ในตอนหลังโจทก์กับจำเลยที่ 1 มีเรื่องจนต้องแยกกันอยู่ จำเลยที่ 1 ได้จำเลยที่ 2 ผู้เดียวเป็นผู้ปรนนิบัติ นับได้ว่าจำเลยที่ 2มีปฏิการะต่อบิดามารดายิ่งกว่าบุตรคนอื่น การที่จำเลยที่ 1 ยกที่ดินให้จำเลยที่ 2 อันเกิดจากโจทก์โดยเสน่หา ทั้งยกให้เพียงครึ่งหนึ่ง โดยจำเลยที่ 1 จดทะเบียนสิทธิเก็บกินไว้ตลอดชีวิต อีกครึ่งหนึ่งยังเป็นสินบริคณห์ระหว่างโจทก์กับจำเลยที่ 1 อยู่ ดังนี้เป็นการให้ตามสมควรในทางศีลธรรมอันดีตามประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ มาตรา 1473 วรรค 2(3)
โจทก์ฟ้องขอให้ลงชื่อโจทก์เป็นเจ้าของร่วมกับจำเลยในโฉนดที่ดินทั้งแปลง เมื่อได้ความว่าที่ดินยังเป็นสินสมรสระหว่างโจทก์และจำเลยเพียงครึ่งหนึ่งก็ชอบที่จะลงชื่อโจทก์เป็นเจ้าของร่วมกับจำเลยในส่วนที่ยังเป็นสินสมรสอยู่นั้นได้
โจทก์ฟ้องขอให้ลงชื่อโจทก์เป็นเจ้าของร่วมกับจำเลยในโฉนดที่ดินทั้งแปลง เมื่อได้ความว่าที่ดินยังเป็นสินสมรสระหว่างโจทก์และจำเลยเพียงครึ่งหนึ่งก็ชอบที่จะลงชื่อโจทก์เป็นเจ้าของร่วมกับจำเลยในส่วนที่ยังเป็นสินสมรสอยู่นั้นได้
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 2002/2511
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
การถอนฟ้องแล้วนำคดีมาฟ้องใหม่ และการโอนสิทธิในที่ดินมีผลต่อสิทธิการฟ้องร้อง
โจทก์ฟ้องจำเลยทั้งสี่ว่า ละเมิดบุกรุกที่พิพาทของโจทก์. แต่ปรากฏว่าโจทก์ได้เคยฟ้องจำเลยทั้งสี่นี้ในประเด็นและที่พิพาทรายเดียวกันนี้มาก่อนแล้วและได้ถอนฟ้องไป.โดยแถลงต่อศาลไว้ว่าจะไม่นำคดีมาฟ้องจำเลยเกี่ยวกับที่พิพาทนี้อีก. ดังนี้ คำแถลงของโจทก์ในคดีก่อนซึ่งยอมสละสิทธินำคดีเรื่องนี้มาฟ้องใหม่ตามประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความแพ่ง มาตรา 176. จึงเป็นกระบวนพิจารณาที่โจทก์ในคดีนั้นได้ทำต่อศาลและต่อคู่ความอีกฝ่ายหนึ่งและย่อมผูกมัดโจทก์. โจทก์จะนำคดีมาฟ้องจำเลยทั้งสี่นี้อีกไม่ได้.
ส่วนจำเลยที่ 5 และ 6 เมื่อปรากฏว่าจำเลยที่ 1ได้แบ่งขายที่พิพาทให้ก่อนที่โจทก์ได้ฟ้องจำเลยที่1 ถึง 4 ในคดีก่อนดังกล่าว. สิทธิของจำเลยที่ 1ผู้ขายมีอยู่อย่างไรย่อมตกเป็นสิทธิของจำเลยที่ 5และ 6 ผู้ซื้อด้วย. เมื่อโจทก์ไม่มีสิทธิฟ้องจำเลยที่ 1 ได้อีกแล้ว. ก็จะฟ้องจำเลยที่ 5 และ 6ไม่ได้ด้วย.
ส่วนจำเลยที่ 5 และ 6 เมื่อปรากฏว่าจำเลยที่ 1ได้แบ่งขายที่พิพาทให้ก่อนที่โจทก์ได้ฟ้องจำเลยที่1 ถึง 4 ในคดีก่อนดังกล่าว. สิทธิของจำเลยที่ 1ผู้ขายมีอยู่อย่างไรย่อมตกเป็นสิทธิของจำเลยที่ 5และ 6 ผู้ซื้อด้วย. เมื่อโจทก์ไม่มีสิทธิฟ้องจำเลยที่ 1 ได้อีกแล้ว. ก็จะฟ้องจำเลยที่ 5 และ 6ไม่ได้ด้วย.
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 2002/2511 เวอร์ชัน 2 คำพิพากษาฎีกานี้ มีเนื้อหาจากเว็บทางการหลายรูปแบบ
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
การยอมสละสิทธิฟ้องคดี และผลกระทบต่อสิทธิของผู้อื่นที่ได้มาซึ่งสิทธิโดยชอบด้วยกฎหมาย
โจทก์ฟ้องจำเลยทั้งสี่ว่า ละเมิดบุกรุกที่พิพาทของโจทก์แต่ปรากฏว่าโจทก์ได้เคยฟ้องจำเลยทั้งสี่นี้ในประเด็นและที่พิพาทรายเดียวกันนี้มาก่อนแล้วและได้ถอนฟ้องไป โดยแถลงต่อศาลไว้ว่าจะไม่นำคดีมาฟ้องจำเลยเกี่ยวกับที่พิพาทนี้อีก ดังนี้ คำแถลงของโจทก์ในคดีก่อนซึ่งยอมสละสิทธินำคดีเรื่องนี้มาฟ้องใหม่ตามประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความแพ่ง มาตรา 176 จึงเป็นกระบวนพิจารณาที่โจทก์ในคดีนั้นได้ทำต่อศาลและต่อคู่ความอีกฝ่ายหนึ่งและย่อมผูกมัดโจทก์ โจทก์จะนำคดีมาฟ้องจำเลยทั้งสี่นี้อีกไม่ได้
ส่วนจำเลยที่ 5 และ 6 เมื่อปรากฏว่าจำเลยที่ 1 ได้แบ่งขายที่พิพาทให้ก่อนที่โจทก์ได้ฟ้องจำเลยที่ 1 ถึง 4 ในคดีก่อนดังกล่าว สิทธิของจำเลยที่ 1 ผู้ขายมีอยู่อย่างไรย่อมตกเป็นสิทธิของจำเลยที่ 5 และ 6 ผู้ซื้อด้วย เมื่อโจทก์ไม่มีสิทธิฟ้องจำเลยที่ 1 ได้อีกแล้ว ก็จะฟ้องจำเลยที่ 5 และ 6 ไม่ได้ด้วย
ส่วนจำเลยที่ 5 และ 6 เมื่อปรากฏว่าจำเลยที่ 1 ได้แบ่งขายที่พิพาทให้ก่อนที่โจทก์ได้ฟ้องจำเลยที่ 1 ถึง 4 ในคดีก่อนดังกล่าว สิทธิของจำเลยที่ 1 ผู้ขายมีอยู่อย่างไรย่อมตกเป็นสิทธิของจำเลยที่ 5 และ 6 ผู้ซื้อด้วย เมื่อโจทก์ไม่มีสิทธิฟ้องจำเลยที่ 1 ได้อีกแล้ว ก็จะฟ้องจำเลยที่ 5 และ 6 ไม่ได้ด้วย
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 2002/2511 เวอร์ชัน 3 คำพิพากษาฎีกานี้ มีเนื้อหาจากเว็บทางการหลายรูปแบบ
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
การถอนฟ้องแล้วนำคดีมาฟ้องใหม่ และผลกระทบต่อสิทธิของผู้ซื้อที่ดินจากจำเลยเดิม
โจทก์ฟ้องจำเลยทั้งสี่ว่า ละเมิดบุกรุกที่พิพาทของโจทก์ แต่ปรากฏว่าโจทก์ได้เคยฟ้องจำเลยทั้งสี่นี้ในประเด็นและที่พิพาทรายเดียวกันนี้มาก่อนแล้วและได้ถอนฟ้องไปโดยแถลงต่อศาลไว้ว่าจะไม่นำคดีมาฟ้องจำเลยเกี่ยวกับที่พิพาทนี้อีก ดังนี้ คำแถลงของโจทก์ในคดีก่อนซึ่งยอมสละสิทธินำคดีเรื่องนี้มาฟ้องใหม่ตามประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความแพ่ง มาตรา 176 จึงเป็นกระบวนพิจารณาที่โจทก์ในคดีนั้นได้ทำต่อศาลและต่อคู่ความอีกฝ่ายหนึ่งและย่อมผูกมัดโจทก์ โจทก์จะนำคดีมาฟ้องจำเลยทั้งสี่นี้อีกไม่ได้
ส่วนจำเลยที่ 5 และ 6 เมื่อปรากฏว่าจำเลยที่ 1ได้แบ่งขายที่พิพาทให้ก่อนที่โจทก์ได้ฟ้องจำเลยที่1 ถึง 4 ในคดีก่อนดังกล่าว สิทธิของจำเลยที่ 1 ผู้ขายมีอยู่อย่างไรย่อมตกเป็นสิทธิของจำเลยที่ 5และ 6 ผู้ซื้อด้วย เมื่อโจทก์ไม่มีสิทธิฟ้องจำเลยที่ 1 ได้อีกแล้ว ก็จะฟ้องจำเลยที่ 5 และ 6ไม่ได้ด้วย
ส่วนจำเลยที่ 5 และ 6 เมื่อปรากฏว่าจำเลยที่ 1ได้แบ่งขายที่พิพาทให้ก่อนที่โจทก์ได้ฟ้องจำเลยที่1 ถึง 4 ในคดีก่อนดังกล่าว สิทธิของจำเลยที่ 1 ผู้ขายมีอยู่อย่างไรย่อมตกเป็นสิทธิของจำเลยที่ 5และ 6 ผู้ซื้อด้วย เมื่อโจทก์ไม่มีสิทธิฟ้องจำเลยที่ 1 ได้อีกแล้ว ก็จะฟ้องจำเลยที่ 5 และ 6ไม่ได้ด้วย
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 1866/2511
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
การเบียดบังเงินที่รับมอบหมายซื้อของ ยักยอกทรัพย์ตามประมวลกฎหมายอาญา มาตรา 352
การที่จำเลยรับมอบเงินจากผู้เสียหายเพื่อซื้อข้าวเปลือกและปอฟอกให้ผู้เสียหายเช่นนี้. แม้จะไม่มีกำหนดเวลาว่าจำเลยจะต้องซื้อเมื่อใด. ก็ไม่มีลักษณะเป็นการฝากทรัพย์ตามประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ มาตรา 657 และ 672. เพราะไม่ใช่เป็นการมอบเงินให้เก็บรักษาไว้ในอารักขาของจำเลยแล้วจำเลยจะคืนให้. จริงอยู่จำเลยอาจนำธนบัตรฉบับอื่นหรือเหรียญกษาปณ์อันอื่นไปซื้อได้ แต่นั่นเป็นเพราะธนบัตรและเหรียญกษาปณ์เป็นเงินตราที่ชำระหนี้ได้ตามกฎหมายด้วยกันตามพระราชบัญญัติเงินตราฯ. จะนำธนบัตรฉบับไหนไปซื้อ ก็สมประโยชน์ของผู้เสียหาย. และย่อมไม่ใช่การกระทำโดยทุจริต.ด้วยเหตุนี้เงินจำนวน 15,000 บาท ที่ผู้เสียหายมอบให้จำเลยครอบครอง จึงยังเป็นของผู้เสียหายอยู่จนกว่าจำเลยจะได้ซื้อข้าวเปลือกและปอฟอกให้ผู้เสียหายแล้ว. อีกประการหนึ่งการที่จำเลยไม่นำเงินของผู้เสียหายที่ตนครอบครองอยู่ไปซื้อข้าวเปลือกและปอฟอกตามที่ได้รับมอบหมาย. บางกรณีอาจเป็นเพียงผิดสัญญาในทางแพ่งได้ก็จริง แต่ทั้งนี้ต้องไม่ใช่เป็นการเบียดบังเอาเงินนั้นเป็นของตนหรือบุคคลที่สามโดยทุจริต. หากเป็นการเบียดบังเอาเงินนั้นเป็นของตนหรือบุคคลที่สามโดยทุจริตแล้ว ย่อมเป็นความผิดฐานยักยอก. โดยเฉพาะคดีนี้ข้อเท็จจริงฟังได้ดังกล่าวข้างต้นว่าจำเลยมีเจตนาทุจริตเบียดบังยักยอกเงินจำนวนนี้ไว้เป็นประโยชน์ของจำเลยเอง. จำเลยจึงต้องมีความผิดตามประมวลกฎหมายอาญา มาตรา 352.
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 1866/2511 เวอร์ชัน 2 คำพิพากษาฎีกานี้ มีเนื้อหาจากเว็บทางการหลายรูปแบบ
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
การรับเงินเพื่อซื้อของแทน ยักยอกทรัพย์เจตนาทุจริต ความผิดฐานยักยอก
การที่จำเลยรับมอบเงินจากผู้เสียหายเพื่อซื้อข้าวเปลือกและปอฟอกให้ผู้เสียหายเช่นนี้ แม้จะไม่มีกำหนดเวลาว่าจำเลยจะต้องซื้อเมื่อใด ก็ไม่มีลักษณะเป็นการฝากทรัพย์ตามประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ มาตรา 657 และ 672 เพราะไม่ใช่เป็นการมอบเงินให้เก็บรักษาไว้ในอารักขาของจำเลยแล้วจำเลยจะคืนให้ จริงอยู่จำเลยอาจนำธนบัตรฉบับอื่นหรือเหรียญกษาปณ์อันอื่นไปซื้อได้ แต่นั่นเป็นเพราะธนบัตรและเหรียญกษาปณ์เป็นเงินตราที่ชำระหนี้ได้ตามกฎหมายด้วยกันตามพระราชบัญญัติเงินตราฯ จะนำธนบัตรฉบับไหนไปซื้อ ก็สมประโยชน์ของผู้เสียหาย และย่อมไม่ใช่การกระทำโดยทุจริตด้วยเหตุนี้เงินจำนวน 15,000 บาท ที่ผู้เสียหายมอบให้จำเลยครอบครอง จึงยังเป็นของผู้เสียหายอยู่จนกว่าจำเลยจะได้ซื้อข้าวเปลือกและปอฟอกให้ผู้เสียหายแล้ว อีกประการหนึ่งการที่จำเลยไม่นำเงินของผู้เสียหายที่ตนครอบครองอยู่ไปซื้อข้าวเปลือกและปอฟอกตามที่ได้รับมอบหมาย บางกรณีอาจเป็นเพียงผิดสัญญาในทางแพ่งได้ก็จริง แต่ทั้งนี้ต้องไม่ใช่เป็นการเบียดบังเอาเงินนั้นเป็นของตนหรือบุคคลที่สามโดยทุจริต หากเป็นการเบียดบังเอาเงินนั้นเป็นของตนหรือบุคคลที่สามโดยทุจริตแล้ว ย่อมเป็นความผิดฐานยักยอก โดยเฉพาะคดีนี้ข้อเท็จจริงฟังได้ดังกล่าวข้างต้นว่าจำเลยมีเจตนาทุจริตเบียดบังยักยอกเงินจำนวนนี้ไว้เป็นประโยชน์ของจำเลยเอง จำเลยจึงต้องมีความผิดตามประมวลกฎหมายอาญา มาตรา 352
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 1866/2511 เวอร์ชัน 3 คำพิพากษาฎีกานี้ มีเนื้อหาจากเว็บทางการหลายรูปแบบ
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
การรับเงินไปซื้อของแทนผู้อื่น หากนำไปใช้ส่วนตัว ถือเป็นการยักยอก
การที่จำเลยรับมอบเงินจากผู้เสียหายเพื่อซื้อข้าวเปลือกและปอฟอกให้ผู้เสียหายเช่นนี้ แม้จะไม่มีกำหนดเวลาว่าจำเลยจะต้องซื้อเมื่อใด ก็ไม่มีลักษณะเป็นการฝากทรัพย์ตามประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ มาตรา 657 และ 672 เพราะไม่ใช่เป็นการมอบเงินให้เก็บรักษาไว้ในอารักขาของจำเลยแล้วจำเลยจะคืนให้ จริงอยู่จำเลยอาจนำธนบัตรฉบับอื่นหรือเหรียญกษาปณ์อันอื่นไปซื้อได้ แต่นั่นเป็นเพราะธนบัตรและเหรียญกษาปณ์เป็นเงินตราที่ชำระหนี้ได้ตามกฎหมายด้วยกันตามพระราชบัญญัติเงินตราฯ จะนำธนบัตรฉบับไหนไปซื้อ ก็สมประโยชน์ของผู้เสียหาย และย่อมไม่ใช่การกระทำโดยทุจริตด้วยเหตุนี้เงินจำนวน 15,000 บาท ที่ผู้เสียหายมอบให้จำเลยครอบครอง จึงยังเป็นของผู้เสียหายอยู่จนกว่าจำเลยจะได้ซื้อข้าวเปลือกและปอฟอกให้ผู้เสียหายแล้ว อีกประการหนึ่งการที่จำเลยไม่นำเงินของผู้เสียหายที่ตนครอบครองอยู่ไปซื้อข้าวเปลือกและปอฟอกตามที่ได้รับมอบหมาย บางกรณีอาจเป็นเพียงผิดสัญญาในทางแพ่งได้ก็จริง แต่ทั้งนี้ต้องไม่ใช่เป็นการเบียดบังเอาเงินนั้นเป็นของตนหรือบุคคลที่สามโดยทุจริต หากเป็นการเบียดบังเอาเงินนั้นเป็นของตนหรือบุคคลที่สามโดยทุจริตแล้ว ย่อมเป็นความผิดฐานยักยอก โดยเฉพาะคดีนี้ข้อเท็จจริงฟังได้ดังกล่าวข้างต้นว่าจำเลยมีเจตนาทุจริตเบียดบังยักยอกเงินจำนวนนี้ไว้เป็นประโยชน์ของจำเลยเอง จำเลยจึงต้องมีความผิดตามประมวลกฎหมายอาญา มาตรา 352
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 1811/2511
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
การเพิกถอนการชำระหนี้ก่อนล้มละลายเพื่อประโยชน์เจ้าหนี้รายหนึ่ง
ลูกหนี้ผู้มีหนี้สินล้นพ้นตัวนำเงินเข้าบัญชีเดินสะพัดในธนาคารผู้ร้องคัดค้านภายในระยะเวลา 3 เดือนก่อนลูกหนี้ถูกฟ้องล้มละลายโดยลูกหนี้รู้ดีว่าธนาคารผู้ร้องคัดค้านซึ่งเป็นเจ้าหนี้ต้องหักยอดเงินออกจากจำนวนหนี้ทั้งหมดและลูกหนี้ไม่อาจถอนเงินได้อีกนั้น. ถือได้ว่าลูกหนี้มุ่งหมายให้เจ้าหนี้คนหนึ่งคนใดได้เปรียบเจ้าหนี้อื่นแล้ว.เจ้าพนักงานพิทักษ์ทรัพย์จึงขอให้ศาลมีคำสั่งเพิกถอนการกระทำของลูกหนี้ตามพระราชบัญญัติล้มละลาย พ.ศ.2483 มาตรา 115ได้.