พบผลลัพธ์ทั้งหมด 389 รายการ
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 1655/2512 เวอร์ชัน 2 คำพิพากษาฎีกานี้ มีเนื้อหาจากเว็บทางการหลายรูปแบบ
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
พยานหลักฐานไม่เพียงพอฟังว่ามีการพยายามฆ่า ศาลฎีกายกฟ้องจำเลยทั้งสองได้ แม้จำเลยบางส่วนไม่ได้อุทธรณ์
เมื่อคำพยานโจทก์รับฟังไม่ได้ว่า ได้มีการกระทำผิดฐานพยายามฆ่าผู้เสียหายเกิดขึ้นจริงตามฟ้อง ดังนี้ จึงเป็นเหตุในลักษณะคดี แม้จำเลยอื่นจะมิได้อุทธรณ์คำสั่งศาลชั้นต้นที่ไม่รับฎีกา ศาลฎีกาก็มีอำนาจยกฟ้องโจทก์ถึงจำเลยนั้นด้วยได้ ตามประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความอาญา มาตรา 213,225
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 1655/2512 เวอร์ชัน 3 คำพิพากษาฎีกานี้ มีเนื้อหาจากเว็บทางการหลายรูปแบบ
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
พยานหลักฐานไม่เพียงพอสนับสนุนการกระทำความผิดฐานพยายามฆ่า ศาลฎีกายกฟ้องได้แม้จำเลยบางรายไม่อุทธรณ์
เมื่อคำพยานโจทก์รับฟังไม่ได้ว่า ได้มีการกระทำผิดฐานพยายามฆ่าผู้เสียหายเกิดขึ้นจริงตามฟ้อง ดังนี้ จึงเป็นเหตุในลักษณะคดี แม้จำเลยอื่นจะมิได้อุทธรณ์คำสั่งศาลชั้นต้นที่ได้รับฎีกา ศาลฎีกาก็มีอำนาจฟ้องยกฟ้องโจทก์ถึงจำเลยนั้นด้วยได้ ตามประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความอาญา มาตรา 213, 225
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 1609/2512
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
สัญญาประนีประนอมยอมความต้องทำเป็นหนังสือ การนำสืบพยานบุคคล
มารดาตาย โจทก์จำเลยได้รับโอนมรดกที่พิพาทร่วมกัน.ต่อมาได้ตกลงแบ่งแยกกันครอบครอง ถือว่าเป็นการตกลงเพื่อระงับข้อพิพาทซึ่งจะมีขึ้นให้เสร็จไป. เข้าลักษณะเป็นสัญญาประนีประนอมยอมความตามประมวลกฎหมายแพ่ง มาตรา 850. แต่เมื่อมิได้มีหลักฐานเป็นหนังสือลงลายมือชื่อฝ่ายที่ต้องรับผิดตามประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ มาตรา 851 จะนำพยานบุคคลมาสืบหาได้ไม่. ต้องห้ามตามประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความแพ่ง มาตรา 94 โดยมีคำพิพากษาฎีกาที่ 530/2496 และ 1420/2510.
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 1609/2512 เวอร์ชัน 2 คำพิพากษาฎีกานี้ มีเนื้อหาจากเว็บทางการหลายรูปแบบ
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
สัญญาประนีประนอมยอมความต้องมีหลักฐานเป็นหนังสือ หากไม่มีจะนำสืบพยานบุคคลไม่ได้
มารดาตาย โจทก์จำเลยได้รับโอนมรดกที่พิพาทร่วมกัน ต่อมาได้ตกลงแบ่งแยกกันครอบครอง ถือว่าเป็นการตกลงเพื่อระงับข้อพิพาทซึ่งจะมีขึ้นให้เสร็จไป เข้าลักษณะเป็นสัญญาประนีประนอมยอมความตามประมวลกฎหมายแพ่ง มาตรา 850 แต่เมื่อมิได้มีหลักฐานเป็นหนังสือลงลายมือชื่อฝ่ายที่ต้องรับผิดตามประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ มาตรา 851 จะนำพยานบุคคลมาสืบหาได้ไม่ ต้องห้ามตามประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความแพ่ง มาตรา 94 โดยมีคำพิพากษาฎีกาที่ 530/2496 และ 1420/2510
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 1609/2512 เวอร์ชัน 3 คำพิพากษาฎีกานี้ มีเนื้อหาจากเว็บทางการหลายรูปแบบ
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
สัญญาประนีประนอมยอมความที่ไม่มีหลักฐานเป็นหนังสือ การนำสืบพยานบุคคล
มารดาตาย โจทก์จำเลยได้รับโอนมรดกที่พิพาทร่วมกัน ต่อมาได้ตกลงแบ่งแยกกับครอบครอง ถือว่าเป็ฯการตกลงเพื่อระงับข้อพิพาทจะมีขึ้นให้เสร็จไป เข้าลักษณะเป็นสัญญาประนีประนอมยอมความตามประมวลกฎหมายแพ่ง มาตรา 850 แต่เมื่อมิได้มีหลักฐษนเป็นหนังสือลงลายมือชื่อฝ่ายที่ต้องรับผิดตามประมวลกฎมายแพ่งและพาณิชย์ มาตรา 851 จะนำพยายบุคคลมาสืบหาได้ไม่ ต้องห้ามตามประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความแพ่ง มาตรา 94 โดยมีคำพิพากษาฎีกาที่ 530/2496 และ 147/2510
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 1604-1605/2512
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
อำนาจฟ้องคดีทำร้ายร่างกาย: ผู้เสียหายต้องมีสิทธิฟ้องจริง แม้คดีก่อนหน้าศาลพิพากษาว่าไม่ใช่ผู้เสียหาย
เรื่องอำนาจฟ้องเป็นข้อกฎหมายเกี่ยวด้วยความสงบเรียบร้อยของประชาชน แม้จะไม่ได้ยกขึ้นว่ากล่าวกันมาในศาลชั้นต้น. ก็ฎีกาได้.
โจทก์บรรยายฟ้องว่าจำเลยที่ 1 ที่ 2 ร่วมกับจำเลยที่ 3 ใช้กำลังกาย ไม้ตะพด เป็นอาวุธ. ชกต่อยและตีประทุษร้ายร่างกายโจทก์ถูกบริเวณศีรษะแตกจนโลหิตไหล และถูกตามใบหน้าและลำตัวจนฟกช้ำดำเขียวหลายแห่ง. เป็นเหตุให้เกิดอันตรายแก่โจทก์. ดังนี้ เป็นฟ้องที่บรรยายถึงข้อเท็จจริงและรายละเอียดเกี่ยวกับการกระทำผิดของจำเลยว่า.จำเลยที่ 1 ที่ 2 ได้ร่วมกับจำเลยที่ 3 กระทำความผิดฐานทำร้ายร่างกายโจทก์จนโจทก์ได้รับอันตรายแก่กายของส่วนใดของร่างกาย และลักษณะบาดแผลที่เกิดจากถูกจำเลยทำร้ายเป็นอย่างไร ไว้ชัดแจ้งเพียงพอที่จำเลยจะเข้าใจข้อหาได้ดีแล้ว. ฟ้องโจทก์เป็นฟ้องที่ไม่เคลือบคลุม. และเป็นฟ้องที่สมบูรณ์ตามประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความอาญา มาตรา 158(5).
พนักงานอัยการเป็นโจทก์ฟ้องจำเลยที่ 3 ในคดีนี้แต่ผู้เดียวในข้อหาว่าทำร้ายร่างกายโจทก์ในคดีนี้ มิได้ฟ้องจำเลยที่ 1 ที่ 2 ด้วย. แม้มูลคดีเรื่องนั้นจะเป็นเรื่องเดียวกับคดีนี้ และโจทก์ในคดีนี้จะได้เข้าเป็นโจทก์ร่วมกับพนักงานอัยการในคดีนั้นก็ตาม. ฟ้องโจทก์คดีนี้ในส่วนที่เกี่ยวกับจำเลย ที่ 1 ที่ 2 ก็หาเป็นฟ้องซ้ำไม่. เพราะจำเลยที่ 1 ที่ 2 ยังไม่เคยถูกฟ้องและมีคำพิพากษาเสร็จเด็ดขาดในความผิดซึ่งได้ฟ้องในมูลคดีเดียวกันนี้มาก่อน.
โจทก์ฟ้องกล่าวหาจำเลยที่ 1 ที่ 2 ร่วมกับจำเลยที่3 กระทำความผิดรวม 4 กระทงคือความผิดต่อร่างกายความผิดต่อตำแหน่งหน้าที่ราชการ ความผิดต่อเจ้าพนักงานในการยุติธรรม และความผิดต่อเสรีภาพ. โดยเฉพาะข้อหาว่าจำเลยร่วมกันกระทำความผิดต่อร่างกายนั้น. ปรากฏว่าเป็นข้อหาเดียวกับที่พนักงานอัยการได้ฟ้องจำเลยที่ 3 ในคดีนี้หาว่าทำร้ายร่างกายโจทก์ไว้ในสำนวนคดีอื่นซึ่งโจทก์ในคดีนี้ได้เข้าร่วมเป็นโจทก์กับพนักงานอัยการ. คดีนั้นถึงที่สุดโดยศาลอุทธรณ์พิพากษาว่า โจทก์ในคดีนี้มิใช่ผู้เสียหาย.เพราะเป็นกรณีต่างวิวาททำร้ายร่างกายซึ่งกันและกัน. โจทก์ไม่มีสิทธิฟ้องหรือเข้าร่วมเป็นโจทก์ได้. คำพิพากษาศาลอุทธรณ์ดังกล่าวเป็นคำพิพากษาในลักษณะคดี. แม้จำเลยที่ 1 ที่2 จะมิได้เป็นคู่ความในคดีดังกล่าว. ก็ย่อมได้รับผลนี้ด้วย. ฉะนั้น โจทก์จะมาฟ้องหาว่าจำเลยที่ 1 ที่2 ร่วมกับจำเลยที่ 3 กระทำความผิดฐานทำร้ายร่างกายโจทก์ในมูลคดีเดียวกับคดีที่ศาลอุทธรณ์ได้พิพากษาว่าโจทก์ไม่ใช่ผู้เสียหาย ไม่มีสิทธิฟ้องจำเลยที่ 3 แล้วหาได้ไม่. ส่วนความผิดข้ออื่นๆ โจทก์ยังเป็นผู้เสียหาย และมีอำนาจฟ้องในความผิดนั้นๆ ได้.
โจทก์บรรยายฟ้องว่าจำเลยที่ 1 ที่ 2 ร่วมกับจำเลยที่ 3 ใช้กำลังกาย ไม้ตะพด เป็นอาวุธ. ชกต่อยและตีประทุษร้ายร่างกายโจทก์ถูกบริเวณศีรษะแตกจนโลหิตไหล และถูกตามใบหน้าและลำตัวจนฟกช้ำดำเขียวหลายแห่ง. เป็นเหตุให้เกิดอันตรายแก่โจทก์. ดังนี้ เป็นฟ้องที่บรรยายถึงข้อเท็จจริงและรายละเอียดเกี่ยวกับการกระทำผิดของจำเลยว่า.จำเลยที่ 1 ที่ 2 ได้ร่วมกับจำเลยที่ 3 กระทำความผิดฐานทำร้ายร่างกายโจทก์จนโจทก์ได้รับอันตรายแก่กายของส่วนใดของร่างกาย และลักษณะบาดแผลที่เกิดจากถูกจำเลยทำร้ายเป็นอย่างไร ไว้ชัดแจ้งเพียงพอที่จำเลยจะเข้าใจข้อหาได้ดีแล้ว. ฟ้องโจทก์เป็นฟ้องที่ไม่เคลือบคลุม. และเป็นฟ้องที่สมบูรณ์ตามประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความอาญา มาตรา 158(5).
พนักงานอัยการเป็นโจทก์ฟ้องจำเลยที่ 3 ในคดีนี้แต่ผู้เดียวในข้อหาว่าทำร้ายร่างกายโจทก์ในคดีนี้ มิได้ฟ้องจำเลยที่ 1 ที่ 2 ด้วย. แม้มูลคดีเรื่องนั้นจะเป็นเรื่องเดียวกับคดีนี้ และโจทก์ในคดีนี้จะได้เข้าเป็นโจทก์ร่วมกับพนักงานอัยการในคดีนั้นก็ตาม. ฟ้องโจทก์คดีนี้ในส่วนที่เกี่ยวกับจำเลย ที่ 1 ที่ 2 ก็หาเป็นฟ้องซ้ำไม่. เพราะจำเลยที่ 1 ที่ 2 ยังไม่เคยถูกฟ้องและมีคำพิพากษาเสร็จเด็ดขาดในความผิดซึ่งได้ฟ้องในมูลคดีเดียวกันนี้มาก่อน.
โจทก์ฟ้องกล่าวหาจำเลยที่ 1 ที่ 2 ร่วมกับจำเลยที่3 กระทำความผิดรวม 4 กระทงคือความผิดต่อร่างกายความผิดต่อตำแหน่งหน้าที่ราชการ ความผิดต่อเจ้าพนักงานในการยุติธรรม และความผิดต่อเสรีภาพ. โดยเฉพาะข้อหาว่าจำเลยร่วมกันกระทำความผิดต่อร่างกายนั้น. ปรากฏว่าเป็นข้อหาเดียวกับที่พนักงานอัยการได้ฟ้องจำเลยที่ 3 ในคดีนี้หาว่าทำร้ายร่างกายโจทก์ไว้ในสำนวนคดีอื่นซึ่งโจทก์ในคดีนี้ได้เข้าร่วมเป็นโจทก์กับพนักงานอัยการ. คดีนั้นถึงที่สุดโดยศาลอุทธรณ์พิพากษาว่า โจทก์ในคดีนี้มิใช่ผู้เสียหาย.เพราะเป็นกรณีต่างวิวาททำร้ายร่างกายซึ่งกันและกัน. โจทก์ไม่มีสิทธิฟ้องหรือเข้าร่วมเป็นโจทก์ได้. คำพิพากษาศาลอุทธรณ์ดังกล่าวเป็นคำพิพากษาในลักษณะคดี. แม้จำเลยที่ 1 ที่2 จะมิได้เป็นคู่ความในคดีดังกล่าว. ก็ย่อมได้รับผลนี้ด้วย. ฉะนั้น โจทก์จะมาฟ้องหาว่าจำเลยที่ 1 ที่2 ร่วมกับจำเลยที่ 3 กระทำความผิดฐานทำร้ายร่างกายโจทก์ในมูลคดีเดียวกับคดีที่ศาลอุทธรณ์ได้พิพากษาว่าโจทก์ไม่ใช่ผู้เสียหาย ไม่มีสิทธิฟ้องจำเลยที่ 3 แล้วหาได้ไม่. ส่วนความผิดข้ออื่นๆ โจทก์ยังเป็นผู้เสียหาย และมีอำนาจฟ้องในความผิดนั้นๆ ได้.
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 1604-1605/2512 เวอร์ชัน 2 คำพิพากษาฎีกานี้ มีเนื้อหาจากเว็บทางการหลายรูปแบบ
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
อำนาจฟ้องคดีอาญา: ผลคำพิพากษาคดีก่อนหน้ามีผลผูกพันผู้มิได้เป็นคู่ความ และการฟ้องซ้ำ
เรื่องอำนาจฟ้องเป็นข้อกฎหมายเกี่ยวด้วยความสงบเรียบร้อยของประชาชน แม้จะไม่ได้ยกขึ้นว่ากล่าวกันมาในศาลชั้นต้น ก็ฎีกาได้
โจทก์บรรยายฟ้องว่าจำเลยที่ 1 ที่ 2 ร่วมกับจำเลยที่ 3 ใช้กำลังกาย ไม้ตะพด เป็นอาวุธ ชกต่อยและตีประทุษร้ายร่างกายโจทก์ถูกบริเวณศีรษะแตกจนโลหิตไหล และถูกตามใบหน้าและลำตัวจนฟกช้ำดำเขียวหลายแห่ง เป็นเหตุให้เกิดอันตรายแก่โจทก์ ดังนี้ เป็นฟ้องที่บรรยายถึงข้อเท็จจริงและรายละเอียดเกี่ยวกับการกระทำผิดของจำเลยว่าจำเลยที่ 1 ที่ 2 ได้ร่วมกับจำเลยที่ 3 กระทำความผิดฐานทำร้ายร่างกายโจทก์จนโจทก์ได้รับอันตรายแก่กายของส่วนใดของร่างกาย และลักษณะบาดแผลที่เกิดจากถูกจำเลยทำร้ายเป็นอย่างไร ไว้ชัดแจ้งเพียงพอที่จำเลยจะเข้าใจข้อหาได้ดีแล้ว ฟ้องโจทก์เป็นฟ้องที่ไม่เคลือบคลุม และเป็นฟ้องที่สมบูรณ์ตามประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความอาญา มาตรา 158(5)
พนักงานอัยการเป็นโจทก์ฟ้องจำเลยที่ 3 ในคดีนี้แต่ผู้เดียวในข้อหาว่าทำร้ายร่างกายโจทก์ในคดีนี้ มิได้ฟ้องจำเลยที่ 1 ที่ 2 ด้วย แม้มูลคดีเรื่องนั้นจะเป็นเรื่องเดียวกับคดีนี้ และโจทก์ในคดีนี้จะได้เข้าเป็นโจทก์ร่วมกับพนักงานอัยการในคดีนั้นก็ตาม ฟ้องโจทก์คดีนี้ในส่วนที่เกี่ยวกับจำเลย ที่ 1 ที่ 2 ก็หาเป็นฟ้องซ้ำไม่ เพราะจำเลยที่ 1 ที่ 2 ยังไม่เคยถูกฟ้องและมีคำพิพากษาเสร็จเด็ดขาดในความผิดซึ่งได้ฟ้องในมูลคดีเดียวกันนี้มาก่อน
โจทก์ฟ้องกล่าวหาจำเลยที่ 1 ที่ 2 ร่วมกับจำเลยที่ 3 กระทำความผิดรวม 4 กระทงคือความผิดต่อร่างกายความผิดต่อตำแหน่งหน้าที่ราชการ ความผิดต่อเจ้าพนักงานในการยุติธรรม และความผิดต่อเสรีภาพ โดยเฉพาะข้อหาว่าจำเลยร่วมกันกระทำความผิดต่อร่างกายนั้น ปรากฏว่าเป็นข้อหาเดียวกับที่พนักงานอัยการได้ฟ้องจำเลยที่ 3 ในคดีนี้หาว่าทำร้ายร่างกายโจทก์ไว้ในสำนวนคดีอื่นซึ่งโจทก์ในคดีนี้ได้เข้าร่วมเป็นโจทก์กับพนักงานอัยการ คดีนั้นถึงที่สุดโดยศาลอุทธรณ์พิพากษาว่า โจทก์ในคดีนี้มิใช่ผู้เสียหายเพราะเป็นกรณีต่างวิวาททำร้ายร่างกายซึ่งกันและกัน โจทก์ไม่มีสิทธิฟ้องหรือเข้าร่วมเป็นโจทก์ได้ คำพิพากษาศาลอุทธรณ์ดังกล่าวเป็นคำพิพากษาในลักษณะคดี แม้จำเลยที่ 1 ที่ 2 จะมิได้เป็นคู่ความในคดีดังกล่าว ก็ย่อมได้รับผลนี้ด้วย ฉะนั้น โจทก์จะมาฟ้องหาว่าจำเลยที่ 1 ที่ 2 ร่วมกับจำเลยที่ 3 กระทำความผิดฐานทำร้ายร่างกายโจทก์ในมูลคดีเดียวกับคดีที่ศาลอุทธรณ์ได้พิพากษาว่าโจทก์ไม่ใช่ผู้เสียหาย ไม่มีสิทธิฟ้องจำเลยที่ 3 แล้วหาได้ไม่ ส่วนความผิดข้ออื่นๆ โจทก์ยังเป็นผู้เสียหาย และมีอำนาจฟ้องในความผิดนั้นๆ ได้
โจทก์บรรยายฟ้องว่าจำเลยที่ 1 ที่ 2 ร่วมกับจำเลยที่ 3 ใช้กำลังกาย ไม้ตะพด เป็นอาวุธ ชกต่อยและตีประทุษร้ายร่างกายโจทก์ถูกบริเวณศีรษะแตกจนโลหิตไหล และถูกตามใบหน้าและลำตัวจนฟกช้ำดำเขียวหลายแห่ง เป็นเหตุให้เกิดอันตรายแก่โจทก์ ดังนี้ เป็นฟ้องที่บรรยายถึงข้อเท็จจริงและรายละเอียดเกี่ยวกับการกระทำผิดของจำเลยว่าจำเลยที่ 1 ที่ 2 ได้ร่วมกับจำเลยที่ 3 กระทำความผิดฐานทำร้ายร่างกายโจทก์จนโจทก์ได้รับอันตรายแก่กายของส่วนใดของร่างกาย และลักษณะบาดแผลที่เกิดจากถูกจำเลยทำร้ายเป็นอย่างไร ไว้ชัดแจ้งเพียงพอที่จำเลยจะเข้าใจข้อหาได้ดีแล้ว ฟ้องโจทก์เป็นฟ้องที่ไม่เคลือบคลุม และเป็นฟ้องที่สมบูรณ์ตามประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความอาญา มาตรา 158(5)
พนักงานอัยการเป็นโจทก์ฟ้องจำเลยที่ 3 ในคดีนี้แต่ผู้เดียวในข้อหาว่าทำร้ายร่างกายโจทก์ในคดีนี้ มิได้ฟ้องจำเลยที่ 1 ที่ 2 ด้วย แม้มูลคดีเรื่องนั้นจะเป็นเรื่องเดียวกับคดีนี้ และโจทก์ในคดีนี้จะได้เข้าเป็นโจทก์ร่วมกับพนักงานอัยการในคดีนั้นก็ตาม ฟ้องโจทก์คดีนี้ในส่วนที่เกี่ยวกับจำเลย ที่ 1 ที่ 2 ก็หาเป็นฟ้องซ้ำไม่ เพราะจำเลยที่ 1 ที่ 2 ยังไม่เคยถูกฟ้องและมีคำพิพากษาเสร็จเด็ดขาดในความผิดซึ่งได้ฟ้องในมูลคดีเดียวกันนี้มาก่อน
โจทก์ฟ้องกล่าวหาจำเลยที่ 1 ที่ 2 ร่วมกับจำเลยที่ 3 กระทำความผิดรวม 4 กระทงคือความผิดต่อร่างกายความผิดต่อตำแหน่งหน้าที่ราชการ ความผิดต่อเจ้าพนักงานในการยุติธรรม และความผิดต่อเสรีภาพ โดยเฉพาะข้อหาว่าจำเลยร่วมกันกระทำความผิดต่อร่างกายนั้น ปรากฏว่าเป็นข้อหาเดียวกับที่พนักงานอัยการได้ฟ้องจำเลยที่ 3 ในคดีนี้หาว่าทำร้ายร่างกายโจทก์ไว้ในสำนวนคดีอื่นซึ่งโจทก์ในคดีนี้ได้เข้าร่วมเป็นโจทก์กับพนักงานอัยการ คดีนั้นถึงที่สุดโดยศาลอุทธรณ์พิพากษาว่า โจทก์ในคดีนี้มิใช่ผู้เสียหายเพราะเป็นกรณีต่างวิวาททำร้ายร่างกายซึ่งกันและกัน โจทก์ไม่มีสิทธิฟ้องหรือเข้าร่วมเป็นโจทก์ได้ คำพิพากษาศาลอุทธรณ์ดังกล่าวเป็นคำพิพากษาในลักษณะคดี แม้จำเลยที่ 1 ที่ 2 จะมิได้เป็นคู่ความในคดีดังกล่าว ก็ย่อมได้รับผลนี้ด้วย ฉะนั้น โจทก์จะมาฟ้องหาว่าจำเลยที่ 1 ที่ 2 ร่วมกับจำเลยที่ 3 กระทำความผิดฐานทำร้ายร่างกายโจทก์ในมูลคดีเดียวกับคดีที่ศาลอุทธรณ์ได้พิพากษาว่าโจทก์ไม่ใช่ผู้เสียหาย ไม่มีสิทธิฟ้องจำเลยที่ 3 แล้วหาได้ไม่ ส่วนความผิดข้ออื่นๆ โจทก์ยังเป็นผู้เสียหาย และมีอำนาจฟ้องในความผิดนั้นๆ ได้
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 1403/2512 เวอร์ชัน 2 คำพิพากษาฎีกานี้ มีเนื้อหาจากเว็บทางการหลายรูปแบบ
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
เจ้าพนักงานปฏิบัติหน้าที่โดยทุจริต ต้องเป็นหน้าที่ที่ได้รับมอบหมายโดยตรง การออกใบเบิกทางเกินอำนาจไม่ถือเป็นความผิด
การปฏิบัติหรือละเว้นการปฏิบัติโดยมิชอบ หรือโดยทุจริตอันจะเป็นความผิดตามประมวลกฎหมายอาญา มาตรา 157 นั้นจะต้องเป็นการปฏิบัติหรือละเว้นการปฏิบัติเฉพาะแต่ตามหน้าที่ของเจ้าพนักงานผู้นั้นโดยตรงตามที่ได้รับมอบหมายให้มีหน้าที่นั้นๆ เท่านั้น ถ้าการปฏิบัติหรือละเว้นปฏิบัติที่ไม่เกี่ยวกับหน้าที่ของพนักงานผู้นั้นโดยตรงแล้ว ก็ย่อมไม่เป็นความผิดตามมาตรานี้
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 1403/2512 เวอร์ชัน 3 คำพิพากษาฎีกานี้ มีเนื้อหาจากเว็บทางการหลายรูปแบบ
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
เจ้าพนักงานปฏิบัติหน้าที่เกินอำนาจ ไม่ถือเป็นความผิดตามมาตรา 157 หากไม่ใช่หน้าที่โดยตรง
การปฏิบัติหรือละเว้นการปฏิบัติโดยมิชอบ หรือโดยทุจริตอันจะเป็นความผิดตามประมวลกฎหมายอาญา มาตรา 157 นั้น จะต้องเป็นการปฏิบัติหรือละเว้นการปฏิบัติเฉพาะแต่ตามหน้าที่ของเจ้าพนักงานผู้นั้นโดยตรงตามที่ได้รับมอบหมายในหน้าที่นั้น ๆ เท่านั้น ถ้าการปฏิบัติหรือละเว้นปฏิบัติที่ไม่เกี่ยวกับหน้าที่ของพนักงานผู้นั้นโดยตรงแล้ว ก็ย่อมไม่เป็นความผิดตามมาตรานี้
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 1403/2512
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
เจ้าพนักงานปฏิบัติหน้าที่โดยมิชอบ ต้องเป็นหน้าที่ที่ได้รับมอบหมายโดยตรงเท่านั้น
การปฏิบัติหรือละเว้นการปฏิบัติโดยมิชอบ. หรือโดยทุจริตอันจะเป็นความผิดตามประมวลกฎหมายอาญา มาตรา 157 นั้น.จะต้องเป็นการปฏิบัติหรือละเว้นการปฏิบัติเฉพาะแต่ตามหน้าที่ของเจ้าพนักงานผู้นั้นโดยตรงตามที่ได้รับมอบหมายให้มีหน้าที่นั้นๆ เท่านั้น. ถ้าการปฏิบัติหรือละเว้นปฏิบัติที่ไม่เกี่ยวกับหน้าที่ของพนักงานผู้นั้นโดยตรงแล้ว. ก็ย่อมไม่เป็นความผิดตามมาตรานี้.