พบผลลัพธ์ทั้งหมด 389 รายการ
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 1761/2512 เวอร์ชัน 3 คำพิพากษาฎีกานี้ มีเนื้อหาจากเว็บทางการหลายรูปแบบ
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
การอายัดเงินจากลูกหนี้ของจำเลย: ศาลฎีกาชี้ว่าประเด็นที่ไม่ได้ยกขึ้นในศาลชั้นต้นและศาลอุทธรณ์ไม่ถือเป็นเหตุให้คำสั่งอายัดไม่ชอบด้วยกฎหมาย
โจทก์ยื่นคำขอให้ศาลออกหมายอายัดเงินหรือสิทธิเรียกร้องของจำเลยที่จะได้รับชำระจากลูกหนี้ของจำเลยในคดีอื่นตามกฎหมาย การที่ศาลชั้นต้นออกหมายบังคับคดีให้เจ้าพนักงานบังคับคดีทำการอายัดเงินของลูกหนี้จำเลย โดยมิได้ปฏิบัติตามประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความแพ่ง มาตรา 310,311 จะมีผลเป็นคำสั่งอายัดที่ถูกต้องตามกฎหมายหรือไม่นั้น เมื่อลูกหนี้ของจำเลยมิได้โต้แย้งคัดค้านข้อนี้ทั้งในศาลชั้นต้นและศาลอุทธรณ์ประการใด จึงไม่มีประเด็น ที่ศาลจะยกขึ้นวินิจฉัยให้เป็นโทษแก่โจทก์ผู้ยื่นคำขอให้ศาลออกหมายอายัด เพราะเป็นการวินิจฉัยนอกประเด็นแห่งคำฟ้องอุทธรณ์.
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 1761/2512
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
การอายัดทรัพย์จากลูกหนี้ของลูกหนี้: ศาลต้องปฏิบัติตามขั้นตอนตามประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความแพ่ง หากไม่ปฏิบัติตามคำสั่งอายัดไม่สมบูรณ์
โจทก์ยื่นคำขอให้ศาลออกหมายอายัดเงินหรือสิทธิเรียกร้องของจำเลยที่จะได้รับชำระจากลูกหนี้ของจำเลยในคดีอื่นตามกฎหมาย. การที่ศาลชั้นต้นออกหมายบังคับคดีให้เจ้าพนักงานบังคับคดีทำการอายัดเงินของลูกหนี้จำเลย โดยมิได้ปฏิบัติตามประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความแพ่ง มาตรา 310,311. จะมีผลเป็นคำสั่งอายัดที่ถูกต้องตามกฎหมายหรือไม่นั้น. เมื่อลูกหนี้ของจำเลยมิได้โต้แย้งคัดค้านข้อนี้ทั้งในศาลชั้นต้นและศาลอุทธรณ์ประการใด. จึงไม่มีประเด็น.ที่ศาลจะยกขึ้นวินิจฉัยให้เป็นโทษแก่โจทก์ผู้ยื่นคำขอให้ศาลออกหมายอายัด เพราะเป็นการวินิจฉัยนอกประเด็นแห่งคำฟ้องอุทธรณ์.
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 1761/2512 เวอร์ชัน 2 คำพิพากษาฎีกานี้ มีเนื้อหาจากเว็บทางการหลายรูปแบบ
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
การอายัดเงินจากลูกหนี้ของลูกหนี้จำเลย: ศาลฎีกาวินิจฉัยว่าการวินิจฉัยของศาลอุทธรณ์เกินกรอบคำฟ้องอุทธรณ์
โจทก์ยื่นคำขอให้ศาลออกหมายอายัดเงินหรือสิทธิเรียกร้องของจำเลยที่จะได้รับชำระจากลูกหนี้ของจำเลยในคดีอื่นตามกฎหมาย การที่ศาลชั้นต้นออกหมายบังคับคดีให้เจ้าพนักงานบังคับคดีทำการอายัดเงินของลูกหนี้จำเลย โดยมิได้ปฏิบัติตามประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความแพ่ง มาตรา 310,311 จะมีผลเป็นคำสั่งอายัดที่ถูกต้องตามกฎหมายหรือไม่นั้น เมื่อลูกหนี้ของจำเลยมิได้โต้แย้งคัดค้านข้อนี้ทั้งในศาลชั้นต้นและศาลอุทธรณ์ประการใด จึงไม่มีประเด็นที่ศาลจะยกขึ้นวินิจฉัยให้เป็นโทษแก่โจทก์ผู้ยื่นคำขอให้ศาลออกหมายอายัด เพราะเป็นการวินิจฉัยนอกประเด็นแห่งคำฟ้องอุทธรณ์
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 1760/2512
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
สัญญาทำเหมืองแร่, การผิดสัญญา, การกระทำโดยตัวแทน, ความรับผิดร่วมกัน, ค่าเสียหาย
โจทก์ยื่นคำขอให้ศาลออกมายอายัดเงินหรือสิทธิเรียกร้องของจำเลยที่จะได้รับชำระจากลูกหนี้ของจำเลยในคดีอื่นตามกฎหมาย การที่ศาลชั้นต้นออกหมายบังคับคดีให้เจ้าพนักงานบังคับคดีทำการอายัดเงินของลูกหนี้จำเลย โดยมิได้ปฏิบัติตามประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความแพ่ง มาตรา 300 ,301 จะมีผลเป็นคำสั่งอายัดที่ถูกต้องตามกฎหมายหรือไม่นั้น เมื่อลูกหนี้ของจำเลยมิได้โต้แย้งคัดค้านข้อนี้ ทั้งในศาลชั้นต้นและศาลอุทธรณ์ประการใด จึงไม่มีประเด็นที่ศาลจะยกขึ้นวินิจฉัยให้เป็นโทษแก่โจทก์ผู้ยื่นคำขอให้ศาลออกหมายอายัด เพราะเป็นการวินิจฉัยนอกประเด็นแห่งคำฟ้องอุทธรณ์
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 1730/2512
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
สัญญาทำเหมืองแร่, การผิดสัญญา, และความรับผิดของคู่สัญญา/ตัวแทน
เมื่อศาลอนุญาตให้โจทก์ฟ้องอย่างคนอนาถาได้. การที่โจทก์จะขอแก้ฟ้องในภายหลังได้หรือไม่นั้น ต้องอยู่ในบังคับแห่งประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความแพ่ง มาตรา 179. คือคำฟ้องเดิมและคำฟ้องภายหลังจะต้องเกี่ยวข้องกันพอที่จะรวมการพิจารณาและชี้ขาดตัดสินเข้าด้วยกันได้. เมื่อศาลเห็นว่าเป็นคำฟ้องที่เกี่ยวข้องกัน ซึ่งอนุญาตให้แก้ฟ้องได้แล้ว. ก็หาจำเป็นที่ศาลจะต้องไต่สวนเพื่อมีคำสั่งอนุญาตให้ฟ้องอย่างคนอนาถาสำหรับคำฟ้องภายหลังอีกไม่.เพราะถือได้ว่า ยังคงเป็นคำฟ้องในคดีเดียวกันซึ่งศาลได้ไต่สวนและมีคำสั่งอนุญาตไว้แล้ว.
ตามคำฟ้องเดิม โจทก์ฟ้องว่า โจทก์กับจำเลยทำสัญญากันให้จำเลยชำระหนี้แทนโจทก์และรับโอนที่ดินประทานบัตรของโจทก์ไว้เพื่อจัดตั้งบริษัทร่วมทุนระหว่างโจทก์จำเลยประกอบกิจการทำเหมืองแร่. จำเลยไม่ปฏิบัติตามสัญญา.ไม่จัดตั้งบริษัทขึ้น. แต่กลับขุดเอาแร่ของโจทก์ไปขายเป็นประโยชน์ส่วนตัว เป็นทั้งผิดสัญญาและละเมิด.คำร้องขอแก้ฟ้องของโจทก์กล่าวความเดิมที่จำเลยทำผิดสัญญาและโจทก์บอกเลิกสัญญาแล้ว. ขอให้ศาลพิพากษาให้คู่สัญญากลับคืนสู่ฐานะเดิม โดยให้จำเลยรับชำระหนี้ที่ออกใช้แทนโจทก์ไป และโอนประทานบัตรพิพาทคืนให้โจทก์. ดังนี้ย่อมเป็นคำฟ้องที่เกี่ยวข้องกันพอที่จะรวมการพิจารณาและชี้ขาดตัดสินเข้าด้วยกันได้.
โจทก์กับจำเลยที่ 1 ทำสัญญาฉบับแรก แล้วต่อมาทำสัญญาอีกฉบับหนึ่งซึ่งมีข้อความลบล้างสัญญาฉบับแรก. เพื่อใช้ขู่เจ้าหนี้ของโจทก์ให้ยอมรับชำระหนี้และโอนที่ดินประทานบัตรซึ่งเป็นประกันคืนโดยโจทก์จำเลยมิได้มีเจตนาผูกพันกันจริงจัง. ดังนี้ สัญญาฉบับหลังหามีผลเป็นการยกเลิกสัญญาฉบับแรกไม่.
ตามสัญญาที่โจทก์กับจำเลยที่ 1 ทำไว้ต่อกัน. จำเลยจะต้องชำระหนี้แทนโจทก์และรับโอนที่ดินประทานบัตรของโจทก์เพื่อจัดตั้งบริษัทร่วมทุนระหว่างโจทก์กับจำเลยที่ 1ประกอบกิจการทำเหมืองแร่. แต่จำเลยที่ 2 โดยจำเลยที่1 ซึ่งเป็นกรรมการผู้จัดการ ได้เข้าปฏิบัติการชำระหนี้ให้แก่เจ้าหนี้และรับโอนประทานบัตรของโจทก์มาในนามจำเลยที่2. ถือได้ว่าการชำระหนี้และรับโอนประทานบัตรดังกล่าวจำเลยที่ 2 กระทำในฐานะเป็นตัวแทนของจำเลยที่ 1.
ตามสัญญาที่ทำไว้ โจทก์กับจำเลยที่ 1 จะต้องจัดตั้งบริษัทขึ้น เพื่อประกอบกิจการทำเหมืองแร่ในที่ดินประทานบัตรของโจทก์ที่โอนให้จำเลย. โดยโจทก์จำเลยต่างเป็นผู้ถือหุ้นตามเงื่อนไขที่กำหนดไว้. แต่เมื่อบริษัทยังมิได้จัดตั้งขึ้นตามสัญญา. จำเลยจะถือสิทธิเข้าไปทำเหมืองแร่ในที่ดินประทานบัตรนั้นโดยลำพังหาได้ไม่.เพราะผิดข้อตกลงที่ทำไว้. การที่จำเลยที่ 1 เข้าดำเนินการและในฐานะที่จำเลยที่ 1 เป็นกรรมการผู้จัดการและผู้แทนของจำเลยที่ 2 ซึ่งเป็นนิติบุคคล.ยินยอมให้จำเลยที่ 2 เข้าร่วมดำเนินการขุดหาแร่ โดยโจทก์มิได้รู้เห็นยินยอมหรือเกี่ยวข้องด้วย. ย่อมเป็นการใช้สิทธิไม่สุจริต. และเป็นการผิดสัญญาที่จำเลยที่ 1ทำไว้กับโจทก์ โจทก์มีสิทธิบอกเลิกสัญญาเสียได้.
การที่จำเลยทั้งสองเข้าดำเนินการขุดเอาแร่ในที่ดินประทานบัตรของโจทก์ไปเป็นประโยชน์ของตนฝ่ายเดียว.จำเลยต้องร่วมกันรับผิดต่อโจทก์ โดยจำเลยที่ 1 ต้องรับผิดในฐานผิดสัญญาและข้อตกลง. ส่วนจำเลยที่ 2 ซึ่งไม่มีสิทธิอย่างใด.ในการขุดเอาแร่ในที่ดินประทานบัตรของโจทก์ ต้องรับผิดฐานละเมิด.
ตามประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความแพ่ง มาตรา 161 ศาลมีอำนาจใช้ดุลพินิจพิพากษาให้คู่ความฝ่ายใดฝ่ายหนึ่งเป็นผู้เสียค่าฤชาธรรมเนียมทั้งปวง หรือจะให้เป็นพับกันไปก็ได้.
ตามคำฟ้องเดิม โจทก์ฟ้องว่า โจทก์กับจำเลยทำสัญญากันให้จำเลยชำระหนี้แทนโจทก์และรับโอนที่ดินประทานบัตรของโจทก์ไว้เพื่อจัดตั้งบริษัทร่วมทุนระหว่างโจทก์จำเลยประกอบกิจการทำเหมืองแร่. จำเลยไม่ปฏิบัติตามสัญญา.ไม่จัดตั้งบริษัทขึ้น. แต่กลับขุดเอาแร่ของโจทก์ไปขายเป็นประโยชน์ส่วนตัว เป็นทั้งผิดสัญญาและละเมิด.คำร้องขอแก้ฟ้องของโจทก์กล่าวความเดิมที่จำเลยทำผิดสัญญาและโจทก์บอกเลิกสัญญาแล้ว. ขอให้ศาลพิพากษาให้คู่สัญญากลับคืนสู่ฐานะเดิม โดยให้จำเลยรับชำระหนี้ที่ออกใช้แทนโจทก์ไป และโอนประทานบัตรพิพาทคืนให้โจทก์. ดังนี้ย่อมเป็นคำฟ้องที่เกี่ยวข้องกันพอที่จะรวมการพิจารณาและชี้ขาดตัดสินเข้าด้วยกันได้.
โจทก์กับจำเลยที่ 1 ทำสัญญาฉบับแรก แล้วต่อมาทำสัญญาอีกฉบับหนึ่งซึ่งมีข้อความลบล้างสัญญาฉบับแรก. เพื่อใช้ขู่เจ้าหนี้ของโจทก์ให้ยอมรับชำระหนี้และโอนที่ดินประทานบัตรซึ่งเป็นประกันคืนโดยโจทก์จำเลยมิได้มีเจตนาผูกพันกันจริงจัง. ดังนี้ สัญญาฉบับหลังหามีผลเป็นการยกเลิกสัญญาฉบับแรกไม่.
ตามสัญญาที่โจทก์กับจำเลยที่ 1 ทำไว้ต่อกัน. จำเลยจะต้องชำระหนี้แทนโจทก์และรับโอนที่ดินประทานบัตรของโจทก์เพื่อจัดตั้งบริษัทร่วมทุนระหว่างโจทก์กับจำเลยที่ 1ประกอบกิจการทำเหมืองแร่. แต่จำเลยที่ 2 โดยจำเลยที่1 ซึ่งเป็นกรรมการผู้จัดการ ได้เข้าปฏิบัติการชำระหนี้ให้แก่เจ้าหนี้และรับโอนประทานบัตรของโจทก์มาในนามจำเลยที่2. ถือได้ว่าการชำระหนี้และรับโอนประทานบัตรดังกล่าวจำเลยที่ 2 กระทำในฐานะเป็นตัวแทนของจำเลยที่ 1.
ตามสัญญาที่ทำไว้ โจทก์กับจำเลยที่ 1 จะต้องจัดตั้งบริษัทขึ้น เพื่อประกอบกิจการทำเหมืองแร่ในที่ดินประทานบัตรของโจทก์ที่โอนให้จำเลย. โดยโจทก์จำเลยต่างเป็นผู้ถือหุ้นตามเงื่อนไขที่กำหนดไว้. แต่เมื่อบริษัทยังมิได้จัดตั้งขึ้นตามสัญญา. จำเลยจะถือสิทธิเข้าไปทำเหมืองแร่ในที่ดินประทานบัตรนั้นโดยลำพังหาได้ไม่.เพราะผิดข้อตกลงที่ทำไว้. การที่จำเลยที่ 1 เข้าดำเนินการและในฐานะที่จำเลยที่ 1 เป็นกรรมการผู้จัดการและผู้แทนของจำเลยที่ 2 ซึ่งเป็นนิติบุคคล.ยินยอมให้จำเลยที่ 2 เข้าร่วมดำเนินการขุดหาแร่ โดยโจทก์มิได้รู้เห็นยินยอมหรือเกี่ยวข้องด้วย. ย่อมเป็นการใช้สิทธิไม่สุจริต. และเป็นการผิดสัญญาที่จำเลยที่ 1ทำไว้กับโจทก์ โจทก์มีสิทธิบอกเลิกสัญญาเสียได้.
การที่จำเลยทั้งสองเข้าดำเนินการขุดเอาแร่ในที่ดินประทานบัตรของโจทก์ไปเป็นประโยชน์ของตนฝ่ายเดียว.จำเลยต้องร่วมกันรับผิดต่อโจทก์ โดยจำเลยที่ 1 ต้องรับผิดในฐานผิดสัญญาและข้อตกลง. ส่วนจำเลยที่ 2 ซึ่งไม่มีสิทธิอย่างใด.ในการขุดเอาแร่ในที่ดินประทานบัตรของโจทก์ ต้องรับผิดฐานละเมิด.
ตามประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความแพ่ง มาตรา 161 ศาลมีอำนาจใช้ดุลพินิจพิพากษาให้คู่ความฝ่ายใดฝ่ายหนึ่งเป็นผู้เสียค่าฤชาธรรมเนียมทั้งปวง หรือจะให้เป็นพับกันไปก็ได้.
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 1730/2512 เวอร์ชัน 2 คำพิพากษาฎีกานี้ มีเนื้อหาจากเว็บทางการหลายรูปแบบ
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
สัญญาทำเหมืองแร่, การผิดสัญญา, ละเมิด, ตัวแทน, ความรับผิดร่วม
เมื่อศาลอนุญาตให้โจทก์ฟ้องอย่างคนอนาถาได้ การที่โจทก์จะขอแก้ฟ้องในภายหลังได้หรือไม่นั้น ต้องอยู่ในบังคับแห่งประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความแพ่ง มาตรา 179 คือคำฟ้องเดิมและคำฟ้องภายหลังจะต้องเกี่ยวข้องกันพอที่จะรวมการพิจารณาและชี้ขาดตัดสินเข้าด้วยกันได้ เมื่อศาลเห็นว่าเป็นคำฟ้องที่เกี่ยวข้องกัน ซึ่งอนุญาตให้แก้ฟ้องได้แล้ว ก็หาจำเป็นที่ศาลจะต้องไต่สวนเพื่อมีคำสั่งอนุญาตให้ฟ้องอย่างคนอนาถาสำหรับคำฟ้องภายหลังอีกไม่เพราะถือได้ว่า ยังคงเป็นคำฟ้องในคดีเดียวกันซึ่งศาลได้ไต่สวนและมีคำสั่งอนุญาตไว้แล้ว
ตามคำฟ้องเดิม โจทก์ฟ้องว่า โจทก์กับจำเลยทำสัญญากันให้จำเลยชำระหนี้แทนโจทก์และรับโอนที่ดินประทานบัตรของโจทก์ไว้เพื่อจัดตั้งบริษัทร่วมทุนระหว่างโจทก์จำเลยประกอบกิจการทำเหมืองแร่ จำเลยไม่ปฏิบัติตามสัญญา ไม่จัดตั้งบริษัทขึ้น แต่กลับขุดเอาแร่ของโจทก์ไปขายเป็นประโยชน์ส่วนตัว เป็นทั้งผิดสัญญาและละเมิดคำร้องขอแก้ฟ้องของโจทก์กล่าวความเดิมที่จำเลยทำผิดสัญญาและโจทก์บอกเลิกสัญญาแล้ว ขอให้ศาลพิพากษาให้คู่สัญญากลับคืนสู่ฐานะเดิม โดยให้จำเลยรับชำระหนี้ที่ออกใช้แทนโจทก์ไป และโอนประทานบัตรพิพาทคืนให้โจทก์ ดังนี้ย่อมเป็นคำฟ้องที่เกี่ยวข้องกันพอที่จะรวมการพิจารณาและชี้ขาดตัดสินเข้าด้วยกันได้
โจทก์กับจำเลยที่ 1 ทำสัญญาฉบับแรก แล้วต่อมาทำสัญญาอีกฉบับหนึ่งซึ่งมีข้อความลบล้างสัญญาฉบับแรก เพื่อใช้ขู่เจ้าหนี้ของโจทก์ให้ยอมรับชำระหนี้และโอนที่ดินประทานบัตรซึ่งเป็นประกันคืนโดยโจทก์จำเลยมิได้มีเจตนาผูกพันกันจริงจัง ดังนี้ สัญญาฉบับหลังหามีผลเป็นการยกเลิกสัญญาฉบับแรกไม่
ตามสัญญาที่โจทก์กับจำเลยที่ 1 ทำไว้ต่อกัน จำเลยจะต้องชำระหนี้แทนโจทก์และรับโอนที่ดินประทานบัตรของโจทก์เพื่อจัดตั้งบริษัทร่วมทุนระหว่างโจทก์กับจำเลยที่ 1 ประกอบกิจการทำเหมืองแร่ แต่จำเลยที่ 2 โดยจำเลยที่ 1 ซึ่งเป็นกรรมการผู้จัดการ ได้เข้าปฏิบัติการชำระหนี้ให้แก่เจ้าหนี้และรับโอนประทานบัตรของโจทก์มาในนามจำเลยที่ 2 ถือได้ว่าการชำระหนี้และรับโอนประทานบัตรดังกล่าวจำเลยที่ 2 กระทำในฐานะเป็นตัวแทนของจำเลยที่ 1
ตามสัญญาที่ทำไว้ โจทก์กับจำเลยที่ 1 จะต้องจัดตั้งบริษัทขึ้น เพื่อประกอบกิจการทำเหมืองแร่ในที่ดินประทานบัตรของโจทก์ที่โอนให้จำเลย โดยโจทก์จำเลยต่างเป็นผู้ถือหุ้นตามเงื่อนไขที่กำหนดไว้ แต่เมื่อบริษัทยังมิได้จัดตั้งขึ้นตามสัญญา จำเลยจะถือสิทธิเข้าไปทำเหมืองแร่ในที่ดินประทานบัตรนั้นโดยลำพังหาได้ไม่เพราะผิดข้อตกลงที่ทำไว้ การที่จำเลยที่ 1 เข้าดำเนินการและในฐานะที่จำเลยที่ 1 เป็นกรรมการผู้จัดการและผู้แทนของจำเลยที่ 2 ซึ่งเป็นนิติบุคคลยินยอมให้จำเลยที่ 2 เข้าร่วมดำเนินการขุดหาแร่ โดยโจทก์มิได้รู้เห็นยินยอมหรือเกี่ยวข้องด้วย ย่อมเป็นการใช้สิทธิไม่สุจริต และเป็นการผิดสัญญาที่จำเลยที่ 1 ทำไว้กับโจทก์ โจทก์มีสิทธิบอกเลิกสัญญาเสียได้
การที่จำเลยทั้งสองเข้าดำเนินการขุดเอาแร่ในที่ดินประทานบัตรของโจทก์ไปเป็นประโยชน์ของตนฝ่ายเดียว จำเลยต้องร่วมกันรับผิดต่อโจทก์ โดยจำเลยที่ 1 ต้องรับผิดในฐานผิดสัญญาและข้อตกลง ส่วนจำเลยที่ 2 ซึ่งไม่มีสิทธิอย่างใด ในการขุดเอาแร่ในที่ดินประทานบัตรของโจทก์ ต้องรับผิดฐานละเมิด
ตามประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความแพ่ง มาตรา 161 ศาลมีอำนาจใช้ดุลพินิจพิพากษาให้คู่ความฝ่ายใดฝ่ายหนึ่งเป็นผู้เสียค่าฤชาธรรมเนียมทั้งปวง หรือจะให้เป็นพับกันไปก็ได้
ตามคำฟ้องเดิม โจทก์ฟ้องว่า โจทก์กับจำเลยทำสัญญากันให้จำเลยชำระหนี้แทนโจทก์และรับโอนที่ดินประทานบัตรของโจทก์ไว้เพื่อจัดตั้งบริษัทร่วมทุนระหว่างโจทก์จำเลยประกอบกิจการทำเหมืองแร่ จำเลยไม่ปฏิบัติตามสัญญา ไม่จัดตั้งบริษัทขึ้น แต่กลับขุดเอาแร่ของโจทก์ไปขายเป็นประโยชน์ส่วนตัว เป็นทั้งผิดสัญญาและละเมิดคำร้องขอแก้ฟ้องของโจทก์กล่าวความเดิมที่จำเลยทำผิดสัญญาและโจทก์บอกเลิกสัญญาแล้ว ขอให้ศาลพิพากษาให้คู่สัญญากลับคืนสู่ฐานะเดิม โดยให้จำเลยรับชำระหนี้ที่ออกใช้แทนโจทก์ไป และโอนประทานบัตรพิพาทคืนให้โจทก์ ดังนี้ย่อมเป็นคำฟ้องที่เกี่ยวข้องกันพอที่จะรวมการพิจารณาและชี้ขาดตัดสินเข้าด้วยกันได้
โจทก์กับจำเลยที่ 1 ทำสัญญาฉบับแรก แล้วต่อมาทำสัญญาอีกฉบับหนึ่งซึ่งมีข้อความลบล้างสัญญาฉบับแรก เพื่อใช้ขู่เจ้าหนี้ของโจทก์ให้ยอมรับชำระหนี้และโอนที่ดินประทานบัตรซึ่งเป็นประกันคืนโดยโจทก์จำเลยมิได้มีเจตนาผูกพันกันจริงจัง ดังนี้ สัญญาฉบับหลังหามีผลเป็นการยกเลิกสัญญาฉบับแรกไม่
ตามสัญญาที่โจทก์กับจำเลยที่ 1 ทำไว้ต่อกัน จำเลยจะต้องชำระหนี้แทนโจทก์และรับโอนที่ดินประทานบัตรของโจทก์เพื่อจัดตั้งบริษัทร่วมทุนระหว่างโจทก์กับจำเลยที่ 1 ประกอบกิจการทำเหมืองแร่ แต่จำเลยที่ 2 โดยจำเลยที่ 1 ซึ่งเป็นกรรมการผู้จัดการ ได้เข้าปฏิบัติการชำระหนี้ให้แก่เจ้าหนี้และรับโอนประทานบัตรของโจทก์มาในนามจำเลยที่ 2 ถือได้ว่าการชำระหนี้และรับโอนประทานบัตรดังกล่าวจำเลยที่ 2 กระทำในฐานะเป็นตัวแทนของจำเลยที่ 1
ตามสัญญาที่ทำไว้ โจทก์กับจำเลยที่ 1 จะต้องจัดตั้งบริษัทขึ้น เพื่อประกอบกิจการทำเหมืองแร่ในที่ดินประทานบัตรของโจทก์ที่โอนให้จำเลย โดยโจทก์จำเลยต่างเป็นผู้ถือหุ้นตามเงื่อนไขที่กำหนดไว้ แต่เมื่อบริษัทยังมิได้จัดตั้งขึ้นตามสัญญา จำเลยจะถือสิทธิเข้าไปทำเหมืองแร่ในที่ดินประทานบัตรนั้นโดยลำพังหาได้ไม่เพราะผิดข้อตกลงที่ทำไว้ การที่จำเลยที่ 1 เข้าดำเนินการและในฐานะที่จำเลยที่ 1 เป็นกรรมการผู้จัดการและผู้แทนของจำเลยที่ 2 ซึ่งเป็นนิติบุคคลยินยอมให้จำเลยที่ 2 เข้าร่วมดำเนินการขุดหาแร่ โดยโจทก์มิได้รู้เห็นยินยอมหรือเกี่ยวข้องด้วย ย่อมเป็นการใช้สิทธิไม่สุจริต และเป็นการผิดสัญญาที่จำเลยที่ 1 ทำไว้กับโจทก์ โจทก์มีสิทธิบอกเลิกสัญญาเสียได้
การที่จำเลยทั้งสองเข้าดำเนินการขุดเอาแร่ในที่ดินประทานบัตรของโจทก์ไปเป็นประโยชน์ของตนฝ่ายเดียว จำเลยต้องร่วมกันรับผิดต่อโจทก์ โดยจำเลยที่ 1 ต้องรับผิดในฐานผิดสัญญาและข้อตกลง ส่วนจำเลยที่ 2 ซึ่งไม่มีสิทธิอย่างใด ในการขุดเอาแร่ในที่ดินประทานบัตรของโจทก์ ต้องรับผิดฐานละเมิด
ตามประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความแพ่ง มาตรา 161 ศาลมีอำนาจใช้ดุลพินิจพิพากษาให้คู่ความฝ่ายใดฝ่ายหนึ่งเป็นผู้เสียค่าฤชาธรรมเนียมทั้งปวง หรือจะให้เป็นพับกันไปก็ได้
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 1730/2512 เวอร์ชัน 3 คำพิพากษาฎีกานี้ มีเนื้อหาจากเว็บทางการหลายรูปแบบ
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
สัญญาทำเหมืองแร่, การผิดสัญญา, ความรับผิดร่วมกัน, ตัวแทน, ละเมิด
เมื่อศาลอนุญาตให้โจทก์ฟ้องอย่างคนอนาถาได้ การที่โจทก์จะขอแก้ฟ้องในภายหลังได้หรือไม่นั้น ต้องอยู่ในบังคับแห่งประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความแพ่ง มาตรา 179 คือคำฟ้องเดิมและคำฟ้องหลังจะต้องเกี่ยวข้องกันพอที่จะรวมการพิจารณาและชี้ขาดตัดสินเข้าด้วยกันได้ เมื่อศาลเห็นว่าเป็นคำฟ้องที่เกี่ยวข้องกัน ซึ่งอนุญาตให้แก้ฟ้องได้แล้ว ก็หาจำเป็นที่ศาลจะต้องไต่สวนเพื่อมีคำสั่งอนุญาตให้ฟ้องอย่างคนอนาถาสำหรับคำฟ้องภายหลังอีกไม่ เพราะถือได้ว่า ยังคงเป็นคำฟ้องในคดีเดียวกัน ซึ่งศาลได้ไต่สวนและมีคำสั่งอนุญาตไว้แล้ว
ตามคำฟ้องเดิม โจทก์ฟ้องว่า โจทก์กังจำเลยทำสัญญากันให้จำเลยชำระหนี้แทนโจทก์ และรับโอนที่ดินประทานบัตรของโจทก์ไว้เพื่อจัดตั้งบริษัทร่วมทุนระหว่างโจทก์จำเลยประกอบกิจการทำเหมืองแร่ จำเลยไม่ปฏิบัติตามสัญญา ไม่จัดตั้งบริษัทขึ้น แต่กลับขุดเอาแร่ของโจทก์ไปขายเป็นประโยชน์ส่วนตัว เป็นทั้งผิดสัญญาและละเมิด คำร้องขอแก้ฟ้องของโจทก์กล่าวความเดิมที่จำเลยผิดสัญญาและโจทก์บอกเลิกสัญญาแล้วขอให้ศาลพิพากษาให้คู่สัญญากลับคืนสู่ฐานะเดิม โดยให้จำเลยชำระหนี้ที่ออกให้แทนโจทก์ไป และโอนประทานบัตรพิพาทคืนให้โจทก์ ดังนี้ ย่อมเป็นคำฟ้องที่เกี่ยวข้องกันพอที่จะรวมการพิจารณาและชี้ขาดตัดสินเข้าด้วยกันลบล้างสัญญาฉบับแรก เพื่อใช้ขู่เจ้าหนี้ของโจทก์ให้ยอมรับชำระหนี้และโอนที่ดินประทานบัตรซึ่งเป็นประกันคืนโดยโจทก์จำเลยมิได้มีเจตนาผูกพันกันจริงจัง ดังนี้ สัญญาฉบับหลังหามีผลเป็นการยกเลิกสัญญาฉบับแรกไม่
ตามสัญญาที่โจทก์กับจำเลยที่ 1 ทำไว้ต่อกัน จำเลยจะต้องชำระหนี้แทนโจทก์และรับโอนที่ดินประทานบัตรของโจทก์เพื่อจัดตั้งบริษัทร่วมทุนระหว่างโจทก์กับจำเลยที่ 1 ประกอบกิจการทำเหมืองแร่แต่จำเลยที่ 2 โดยจำเลยที่ 1 ซึ่งเป็นกรรมการผู้จัดการ ได้เข้าปฏิบัติการชำระหนี้ให้แก่เจ้าหนี้และรับโอนประทานบัตรของโจทก์มาในนามจำเลยที่ 2 ถือได้ว่าการชำระหนี้และรับโอนประทานบัตรดังกล่าวจำเลยที่ 2 กระทำในฐานะเป็นตัวแทนของจำเลยที่ 1
ตามสัญญาที่ทำไว้ โจทก์กับจำเลยที่ 1 จะต้องตั้งบริษัทขึ้น เพื่อประกอบกิจการทำเหมืองแร่ในที่ดินประทานบัตรของโจทก์ที่โอนให้จำเลย โดยโจทก์จำเลยต่างเป็นผู้ถือหุ้นตามเงื่อนไขที่กำหนดไว้ แต่เมื่อบริษัทยังมิได้จัดตั้งขึ้นตามสัญญา จำเลยจะถือสิทธิเข้าไปทำเหมืองแร่ในที่ดินประทานบัตรนั้นโดยลำพังหาได้ไม่ เพราะผิดข้อตกลงที่ทำไว้ การที่จำเลยที่ 1 เข้าดำเนินการและในฐานะที่จำเลยที่1 เป็นกรรมการผู้จัดการและผู้แทนของจำเลยที่ 2 ซึ่งเป็นนิติบุคคลยินยอมให้จำเลยที่ 2 เข้าร่วมดำเนินการขุดหาแร่ โดยโจทก์มิได้รู้เห็นยินยอมหรือเกี่ยวข้องด้วยย่อมเป็นการใช้สิทธิไม่สุจริต และเป็นการผิดสัญญาที่จำเลยที่ 1 ทำไว้กับโจทก์ โจทก์มีสิทธิบอกเลิกสัญญาเสียได้
การที่จำเลยทั้งสองเข้าดำเนินการขุดเอาแร่ในที่ดินประทานบัตรของโจทก์ไปเป็นประโยชน์ของตนฝ่ายเดียว จำเลยต้องร่วมกันรับผิดต่อโจทก์ โดยจำเลยที่ 1 ต้องรับผิดในฐานผิดสัญญาของข้อตกลง ส่วนจำเลยที่ 2 ซึ่งไม่มีสิทธิอย่างใดในการขุดเอาแร่ในที่ดินประทานบัตรของโจทก์ ต้องรับผิดฐานละเมิด
ตามประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความแพ่ง มาตรา 161 ศาลมีอำนาจใช้ดุลพินิจ พิพากษาให้คู่ความฝ่ายใดฝ่ายหนึ่งเป็นผู้เสียค่าฤชาธรรมเนียมทั้งปวง หรือจะให้เป็นพับกันไปก็ได้
ตามคำฟ้องเดิม โจทก์ฟ้องว่า โจทก์กังจำเลยทำสัญญากันให้จำเลยชำระหนี้แทนโจทก์ และรับโอนที่ดินประทานบัตรของโจทก์ไว้เพื่อจัดตั้งบริษัทร่วมทุนระหว่างโจทก์จำเลยประกอบกิจการทำเหมืองแร่ จำเลยไม่ปฏิบัติตามสัญญา ไม่จัดตั้งบริษัทขึ้น แต่กลับขุดเอาแร่ของโจทก์ไปขายเป็นประโยชน์ส่วนตัว เป็นทั้งผิดสัญญาและละเมิด คำร้องขอแก้ฟ้องของโจทก์กล่าวความเดิมที่จำเลยผิดสัญญาและโจทก์บอกเลิกสัญญาแล้วขอให้ศาลพิพากษาให้คู่สัญญากลับคืนสู่ฐานะเดิม โดยให้จำเลยชำระหนี้ที่ออกให้แทนโจทก์ไป และโอนประทานบัตรพิพาทคืนให้โจทก์ ดังนี้ ย่อมเป็นคำฟ้องที่เกี่ยวข้องกันพอที่จะรวมการพิจารณาและชี้ขาดตัดสินเข้าด้วยกันลบล้างสัญญาฉบับแรก เพื่อใช้ขู่เจ้าหนี้ของโจทก์ให้ยอมรับชำระหนี้และโอนที่ดินประทานบัตรซึ่งเป็นประกันคืนโดยโจทก์จำเลยมิได้มีเจตนาผูกพันกันจริงจัง ดังนี้ สัญญาฉบับหลังหามีผลเป็นการยกเลิกสัญญาฉบับแรกไม่
ตามสัญญาที่โจทก์กับจำเลยที่ 1 ทำไว้ต่อกัน จำเลยจะต้องชำระหนี้แทนโจทก์และรับโอนที่ดินประทานบัตรของโจทก์เพื่อจัดตั้งบริษัทร่วมทุนระหว่างโจทก์กับจำเลยที่ 1 ประกอบกิจการทำเหมืองแร่แต่จำเลยที่ 2 โดยจำเลยที่ 1 ซึ่งเป็นกรรมการผู้จัดการ ได้เข้าปฏิบัติการชำระหนี้ให้แก่เจ้าหนี้และรับโอนประทานบัตรของโจทก์มาในนามจำเลยที่ 2 ถือได้ว่าการชำระหนี้และรับโอนประทานบัตรดังกล่าวจำเลยที่ 2 กระทำในฐานะเป็นตัวแทนของจำเลยที่ 1
ตามสัญญาที่ทำไว้ โจทก์กับจำเลยที่ 1 จะต้องตั้งบริษัทขึ้น เพื่อประกอบกิจการทำเหมืองแร่ในที่ดินประทานบัตรของโจทก์ที่โอนให้จำเลย โดยโจทก์จำเลยต่างเป็นผู้ถือหุ้นตามเงื่อนไขที่กำหนดไว้ แต่เมื่อบริษัทยังมิได้จัดตั้งขึ้นตามสัญญา จำเลยจะถือสิทธิเข้าไปทำเหมืองแร่ในที่ดินประทานบัตรนั้นโดยลำพังหาได้ไม่ เพราะผิดข้อตกลงที่ทำไว้ การที่จำเลยที่ 1 เข้าดำเนินการและในฐานะที่จำเลยที่1 เป็นกรรมการผู้จัดการและผู้แทนของจำเลยที่ 2 ซึ่งเป็นนิติบุคคลยินยอมให้จำเลยที่ 2 เข้าร่วมดำเนินการขุดหาแร่ โดยโจทก์มิได้รู้เห็นยินยอมหรือเกี่ยวข้องด้วยย่อมเป็นการใช้สิทธิไม่สุจริต และเป็นการผิดสัญญาที่จำเลยที่ 1 ทำไว้กับโจทก์ โจทก์มีสิทธิบอกเลิกสัญญาเสียได้
การที่จำเลยทั้งสองเข้าดำเนินการขุดเอาแร่ในที่ดินประทานบัตรของโจทก์ไปเป็นประโยชน์ของตนฝ่ายเดียว จำเลยต้องร่วมกันรับผิดต่อโจทก์ โดยจำเลยที่ 1 ต้องรับผิดในฐานผิดสัญญาของข้อตกลง ส่วนจำเลยที่ 2 ซึ่งไม่มีสิทธิอย่างใดในการขุดเอาแร่ในที่ดินประทานบัตรของโจทก์ ต้องรับผิดฐานละเมิด
ตามประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความแพ่ง มาตรา 161 ศาลมีอำนาจใช้ดุลพินิจ พิพากษาให้คู่ความฝ่ายใดฝ่ายหนึ่งเป็นผู้เสียค่าฤชาธรรมเนียมทั้งปวง หรือจะให้เป็นพับกันไปก็ได้
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 1721/2512 เวอร์ชัน 3 คำพิพากษาฎีกานี้ มีเนื้อหาจากเว็บทางการหลายรูปแบบ
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
การถือหุ้นของรัฐในบริษัทจำกัด และความผิดของพนักงานรัฐวิสาหกิจ
ผู้ถือหุ้นชนิดใดในบรษัทจำกัดย่อมถือว่าเป็นผู้ลงทุนในบริษัทเท่าจำนวนหุ้นที่ถือตามประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ มาตรา 1096 ฉะนั้นเมื่อรัฐถือหุ้นสามัญและหุ้นบุริมสิทธิรวมกันเกินกว่าร้อยละห้าสิบของจำนวนหุ้นทั้งหมดของธนาคารเกษตร จำกัด แล้ว ก็ถือว่าธนาคารเกษตร จำกัด มีทุนเกินกว่าร้อยละห้าสิบเป็นของรัฐ โดยไม่ต้องคำนึงว่าหุ้นเหล่านั้นเป็นหุ้นที่ใช้ค่าหุ้นเป็นตัวเงินหรือเป็นหุ้นที่ออกให้เสมือนหนึ่งได้ใช้เต็มค่าแล้ว ฉะนั้นเมื่อจำเลยซึ่งเป็นพนักงานธนาคารเกษตร จำกัด ยักยอกเงินของธนาคาร จึงต้องมีความผิดตามพระราชบัญญัติว่าด้วยความผิดของพนักงานในองค์หรือหน่วยงานของรัฐ พ.ศ. 2502
(ประชุมใหญ่ ครั้งที่ 23/2502)
(ประชุมใหญ่ ครั้งที่ 23/2502)
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 1721/2512 เวอร์ชัน 2 คำพิพากษาฎีกานี้ มีเนื้อหาจากเว็บทางการหลายรูปแบบ
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
การถือหุ้นของรัฐในบริษัทจำกัดและการเป็นพนักงานหน่วยงานของรัฐเพื่อใช้บังคับกฎหมายอาญา
ผู้ถือหุ้นชนิดใดในบริษัทจำกัดย่อมถือว่าเป็นผู้ลงทุนในบริษัทเท่าจำนวนหุ้นที่ถือตามประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ มาตรา 1096 ฉะนั้นเมื่อรัฐถือหุ้นสามัญและหุ้นบุริมสิทธิรวมกันเกินกว่าร้อยละห้าสิบของจำนวนหุ้นทั้งหมดของธนาคารเกษตร จำกัด แล้ว ก็ถือว่าธนาคารเกษตร จำกัด มีทุนเกินกว่าร้อยละห้าสิบเป็นของรัฐ โดย ไม่ต้องคำนึงว่าหุ้นเหล่านั้นเป็นหุ้นที่ใช้ค่าหุ้นเป็นตัวเงินหรือเป็นหุ้นที่ออกให้เสมือนหนึ่งได้ใช้เต็มค่าแล้ว ฉะนั้นเมื่อจำเลยซึ่งเป็นพนักงานธนาคารเกษตร จำกัด ยักยอกเงินของธนาคาร จึงต้องมีความผิดตามพระราชบัญญัติว่าด้วยความผิดของพนักงานในองค์การหรือหน่วยงานของรัฐ พ.ศ.2502 (ประชุมใหญ่ ครั้งที่ 23/2512)
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 1721/2512
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
การถือหุ้นของรัฐในบริษัทจำกัดและการเป็นพนักงานหน่วยงานของรัฐเพื่อใช้บังคับกฎหมายอาญา
ผู้ถือหุ้นชนิดใดในบริษัทจำกัดย่อมถือว่าเป็นผู้ลงทุนในบริษัทเท่าจำนวนหุ้นที่ถือตามประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์มาตรา 1096. ฉะนั้นเมื่อรัฐถือหุ้นสามัญและหุ้นบุริมสิทธิรวมกันเกินกว่าร้อยละห้าสิบของจำนวนหุ้นทั้งหมดของธนาคารเกษตร จำกัด แล้ว. ก็ถือว่าธนาคารเกษตร จำกัด มีทุนเกินกว่าร้อยละห้าสิบเป็นของรัฐ. โดย.ไม่ต้องคำนึงว่าหุ้นเหล่านั้นเป็นหุ้นที่ใช้ค่าหุ้นเป็นตัวเงินหรือเป็นหุ้นที่ออกให้เสมือนหนึ่งได้ใช้เต็มค่าแล้ว. ฉะนั้นเมื่อจำเลยซึ่งเป็นพนักงานธนาคารเกษตร จำกัด ยักยอกเงินของธนาคาร จึงต้องมีความผิดตามพระราชบัญญัติว่าด้วยความผิดของพนักงานในองค์การหรือหน่วยงานของรัฐพ.ศ.2502. (ประชุมใหญ่ ครั้งที่ 23/2512).