คำพิพากษาที่เกี่ยวข้องกับผู้พิพากษา
ชลัม รุทระวณิช

พบผลลัพธ์ทั้งหมด 164 รายการ

คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 439/2511 เวอร์ชัน 3 คำพิพากษาฎีกานี้ มีเนื้อหาจากเว็บทางการหลายรูปแบบ

ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้ ประมาทขับรถกินทาง-แซงรถ: ศาลฎีกาเน้นพฤติกรรมหลักที่ก่อให้เกิดอุบัติเหตุ
โจทก์ฟ้องว่าจำเลยประมาทโดยแซงรถจักรยานและจักรยานยนต์ข้างหน้าเป็นเหตุให้ต้องวิ่งรถเลยกึ่งกลางถนนมาแล้วเกิดชนกันขึ้น ข้อเท็จจริงอันเป็นสาระสำคัญของฟ้องว่าประมาท และเป็นต้นเหตุใกล้ชิดของการที่รถชนกันขึ้นอยู่ที่ขับรถกินทางไปทางขวาจนเกินทางของตน มิใช่การแซงรถ เมื่อข้อเท็จจริงฟังได้วาจำเลยขับรถกินทางไปทางขวา เกินกว่ากึ่งกลางถนนไปชนรถที่จำเลยอีกคนหนึ่งขับสวนมา แม้จะไม่มีการแซงรถก็ตรงกับฟ้องและความประสงค์ให้ลงโทษแล้ว ไม่ถือว่าโจทก์สืบไม่สมฟ้อง และข้อเท็จจริงที่ปรากฏในทางพิจารณาไม่ใช่เป็นเรื่องของโจทก์ไม่ประสงค์ให้ลงโทษ
รถยนต์บรรทุกของ ถ้าไม่รับจองบรรทุกก็เป็นรถบรรทุกส่วนบุคคล ไม่ใช่รถยนต์สาธารณะ จำเลยมีใบอนุญาตขับรถส่วนบุคคลจึงขับรถดังกล่าวนี้ได้ ไม่มีความผิด

คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 428/2511 เวอร์ชัน 3 คำพิพากษาฎีกานี้ มีเนื้อหาจากเว็บทางการหลายรูปแบบ

ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้ ลำคลองตื้นเขินยังคงเป็นสาธารณสมบัติของแผ่นดิน แม้ไม่มีผู้ใช้ประโยชน์และไม่ได้ถอนสภาพ
ลำคลองอันเป็นทางน้ำที่ประชาชนใช้สัญจรไปมาร่วมกัน เป็นสาธารณสมบัติของแผ่นดินตามประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ มาตรา 1304 แม้ลำคลองนั้นได้ตื้นเขินขึ้นโดยธรรมชาติ ไม่มีสภาพเป็นลำคลองมาประมาณ 30 ปีเศษ และไม่มีราษฎรได้ใช้ประโยชน์ก็ตาม แต่ยังไม่มีพระราชกฤษฎีกาถอนสภาพลำคลองนั้นจากการเป็นสาธารณสมบัติของแผ่นดิน ตามประมวลกฎหมายที่ดิน มาตรา 8 วรรค 2 และทางราชการยังถือเป็นที่หลวงหวงห้าม ลำคลองนั้นจึงยังคงเป็นสาธารณสมบัติของแผ่นดิน จะโอนแก่กันมิได้ และจะยกอายุความขึ้นต่อสู้แผ่นดินก็ไม่ได้ ต้องห้ามตามประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ มาตรา 1305, 1306

คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 428/2511 เวอร์ชัน 2 คำพิพากษาฎีกานี้ มีเนื้อหาจากเว็บทางการหลายรูปแบบ

ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้ ที่สาธารณสมบัติของแผ่นดิน แม้ตื้นเขินก็ยังไม่อาจโอนกรรมสิทธิ์ได้ จนกว่าจะมีกฤษฎีกาถอนสภาพ
ลำคลองอันเป็นทางน้ำที่ประชาชนใช้สัญจรไปมาร่วมกันเป็นสาธารณสมบัติของแผ่นดินตามประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ มาตรา 1304 แม้ลำคลองนั้นได้ตื้นเขินขึ้นโดยธรรมชาติ ไม่มีสภาพเป็นลำคลองมาประมาณ 30 ปีเศษ และไม่มีราษฎรได้ใช้ประโยชน์ก็ตามแต่ยังไม่มีพระราชกฤษฎีกาถอนสภาพลำคลองนั้นจากการเป็นสาธารณสมบัติของแผ่นดินตามประมวลกฎหมายที่ดิน มาตรา 8 วรรคสอง และทางราชการยังถือเป็นที่หลวงหวงห้ามลำคลองนั้นจึงยังคงเป็นสาธารณสมบัติของแผ่นดิน จะโอนแก่กันมิได้ และจะยกอายุความขึ้นต่อสู้แผ่นดินก็ไม่ได้ ต้องห้ามตามประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ มาตรา 1305,1306

คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 428/2511

ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้ ที่สาธารณสมบัติของแผ่นดินแม้ตื้นเขินก็ยังคงเป็นของรัฐ เอกชนไม่มีสิทธิครอบครองหรือโอน
ลำคลองอันเป็นทางน้ำที่ประชาชนใช้สัญจรไปมาร่วมกัน.เป็นสาธารณสมบัติของแผ่นดินตามประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ มาตรา 1304. แม้ลำคลองนั้นได้ตื้นเขินขึ้นโดยธรรมชาติ. ไม่มีสภาพเป็นลำคลองมาประมาณ 30 ปีเศษ. และไม่มีราษฎรได้ใช้ประโยชน์ก็ตาม. แต่ยังไม่มีพระราชกฤษฎีกาถอนสภาพลำคลองนั้นจากการเป็นสาธารณสมบัติของแผ่นดินตามประมวลกฎหมายที่ดิน มาตรา 8 วรรคสอง และทางราชการยังถือเป็นที่หลวงหวงห้ามลำคลองนั้นจึงยังคงเป็นสาธารณสมบัติของแผ่นดิน. จะโอนแก่กันมิได้. และจะยกอายุความขึ้นต่อสู้แผ่นดินก็ไม่ได้. ต้องห้ามตามประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ มาตรา 1305,1306.

คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 361/2511

ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้ กรรมสิทธิ์รถเช่าซื้อ: แม้ผู้เช่าใช้รถในธุรกิจ แต่กรรมสิทธิ์ยังเป็นของผู้ให้เช่าซื้อ
เมื่อทำสัญญาเช่าซื้อรถพิพาทแล้ว. จำเลยเอารถมาใช้รับส่งเด็กนักเรียนของจำเลย. ได้เขียนเครื่องหมายอักษรย่อชื่อโรงเรียนไว้ที่กระจกท้ายรถตลอดมา จนเจ้าพนักงานพิทักษ์ทรัพย์ไปยึดเอามา. แต่ที่กระจกหน้ารถมีกระดาษวงกลมของนายทะเบียนยานพาหนะระบุชื่อผู้เป็นเจ้าของรถ. และทะเบียนรถมีอยู่ที่กองทะเบียนยานพาหนะก็ลงว่าผู้ร้องเป็นเจ้าของรถ.ดังนี้ แม้รถจะอยู่ในความครอบครองหรืออำนาจสั่งการในธุรกิจของจำเลยด้วยความยินยอมของผู้ร้อง ตามพฤติการณ์ยังไม่ทำให้เห็นว่าจำเลยเป็นเจ้าของรถ เพราะป้ายทะเบียนวงกลมของนายทะเบียนยานพาหนะยังแสดงให้ประจักษ์แก่คนทั้งหลายว่าผู้ร้องเป็นเจ้าของรถ. ส่วนตราอักษรชื่อย่อของโรงเรียนเขียนไว้ที่กระจกด้านหลังรถก็เป็นเพียงแสดงให้รู้ว่าเป็นรถรับส่งนักเรียนโรงเรียนใดเท่านั้น. ไม่ได้ระบุว่าโรงเรียนเป็นเจ้าของรถ. แม้ที่รถมีทั้งป้ายวงกลมของกองทะเบียนและตราอักษรย่อชื่อโรงเรียนดังกล่าวอยู่ด้วย. ผู้เห็นจะต้องเข้าใจว่าผู้ร้องเป็นเจ้าของรถมากกว่าจะคิดว่าโรงเรียนเป็นเจ้าของ. และที่ผู้ร้องผู้เป็นเจ้าของรถอันแท้จริงยอมให้รถอยู่ในความครอบครองใช้สอยของจำเลย ก็เกิดจากสัญญาเช่าซื้อ. พฤติการณ์ดังกล่าวย่อมไม่ทำให้เห็นว่าจำเลยผู้ล้มละลายเป็นเจ้าของรถพิพาท. อันจะทำให้รถพิพาทตกเป็นทรัพย์สินในกองล้มละลายอันอาจแบ่งแก่เจ้าหนี้ได้ตามพระราชบัญญัติล้มละลาย พ.ศ.2483 มาตรา 109(3).

คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 361/2511 เวอร์ชัน 3 คำพิพากษาฎีกานี้ มีเนื้อหาจากเว็บทางการหลายรูปแบบ

ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้ กรรมสิทธิ์รถเช่าซื้อ: แม้ครอบครองเพื่อใช้ในธุรกิจ แต่ป้ายทะเบียนแสดงเจ้าของเดิม ยืนยันกรรมสิทธิ์
เมื่อทำสัญญาเช่าซื้อรถพิพาทแล้ว จำเลยเอารถมาใช้รับส่งเด็กนักเรียนของจำเลย ได้เขียนเครื่องหมายอักษรย่อชื่อโรงเรียนไว้ที่กระจกท้ายรถตลอดมา จนเจ้าพนักงานพิทักษ์ทรัพย์ไปยึดเอามา แต่ที่กระจกหน้ารถมีกระดาษวงกลมของนายทะเบียนยานพาหนะระบุชื่อผู้เป็นเจ้าของรถ และทะเบียนรถมีอยู่ที่กองทะเบียนยานพาหนะก็ลงว่าผู้ร้องเป็นเจ้าของรถ ดังนี้ แม้รถจะอยู่ในความครอบครองหรืออำนาจสั่งการในธุรกิจของจำเลยด้วยความยินยอมของผู้ร้อง ตามพฤติการณ์ยังไม่ทำให้เห็นว่าจำเลยเป็นเจ้าของรถ เพราะป้ายทะเบียนวงกลมของนายทะเบียนยานพาหนะยังแสดงให้ประจักษ์แก่คนทั้งหลายว่าผู้ร้องเป็นเจ้าของรถ ส่วนตราอักษรชื่อย่อของโรงเรียนเขียนไว้ที่กระจกด้านหลังรถก็เป็นเพียงแสดงให้รู้ว่าเป็นรถรับส่งนักเรียนโรงเรียนใดเท่านั้น ไม่ได้ระบุว่าโรงเรียนเป็นเจ้าของรถ แม้ที่รถมีทั้งป้ายวงกลมของกองทะเบียนและตราอักษรย่อชื่อโรงเรียนดังกล่าวอยู่ด้วย ผู้เห็นจะต้องเข้าใจว่าผู้ร้องเป็นเจ้าของรถมากกว่าจะคิดว่าโรงเรียนเป็นเจ้าของ และที่ผู้ร้องเป็นเจ้าของรถอันแท้จริง ยอมให้รถอยู่ในความครอบครองใช้สอยของจำเลย ก็เกิดจากสัญญาเช่าซื้อ พฤติการณ์ดังกล่าวย่อมไม่ทำให้เห็นว่าจำเลยผู้ล้มละลายเป็นเจ้าของรถพิพาท อันจะทำให้รถพิพาทตกเป็นทรัพย์สินในกองล้มละลายอันอาจแบ่งแก่เจ้าหนี้ได้ตามพระราชบัญญัติล้มละลาย พ.ศ. 2483 มาตรา 109 (3)

คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 361/2511 เวอร์ชัน 2 คำพิพากษาฎีกานี้ มีเนื้อหาจากเว็บทางการหลายรูปแบบ

ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้ กรรมสิทธิ์ในรถเช่าซื้อ: แม้ผู้เช่าใช้รถในธุรกิจ แต่กรรมสิทธิ์ยังเป็นของผู้ให้เช่าซื้อ
เมื่อทำสัญญาเช่าซื้อรถพิพาทแล้ว จำเลยเอารถมาใช้รับส่งเด็กนักเรียนของจำเลยได้เขียนเครื่องหมายอักษรย่อชื่อโรงเรียนไว้ที่กระจกท้ายรถตลอดมา จนเจ้าพนักงานพิทักษ์ทรัพย์ไปยึดเอามา แต่ที่กระจกหน้ารถมีกระดาษวงกลมของนายทะเบียนยานพาหนะระบุชื่อผู้เป็นเจ้าของรถและทะเบียนรถมีอยู่ที่กองทะเบียนยานพาหนะก็ลงว่าผู้ร้องเป็นเจ้าของรถดังนี้ แม้รถจะอยู่ในความครอบครองหรืออำนาจสั่งการในธุรกิจของจำเลยด้วยความยินยอมของผู้ร้อง ตามพฤติการณ์ยังไม่ทำให้เห็นว่าจำเลยเป็นเจ้าของรถ เพราะป้ายทะเบียนวงกลมของนายทะเบียนยานพาหนะยังแสดงให้ประจักษ์แก่คนทั้งหลายว่าผู้ร้องเป็นเจ้าของรถส่วนตราอักษรชื่อย่อของโรงเรียนเขียนไว้ที่กระจกด้านหลังรถก็เป็นเพียงแสดงให้รู้ว่าเป็นรถรับส่งนักเรียนโรงเรียนใดเท่านั้นไม่ได้ระบุว่าโรงเรียนเป็นเจ้าของรถ แม้ที่รถมีทั้งป้ายวงกลมของกองทะเบียนและตราอักษรย่อชื่อโรงเรียนดังกล่าวอยู่ด้วยผู้เห็นจะต้องเข้าใจว่าผู้ร้องเป็นเจ้าของรถมากกว่าจะคิดว่าโรงเรียนเป็นเจ้าของและที่ผู้ร้องผู้เป็นเจ้าของรถอันแท้จริงยอมให้รถอยู่ในความครอบครองใช้สอยของจำเลย ก็เกิดจากสัญญาเช่าซื้อพฤติการณ์ดังกล่าวย่อมไม่ทำให้เห็นว่าจำเลยผู้ล้มละลายเป็นเจ้าของรถพิพาทอันจะทำให้รถพิพาทตกเป็นทรัพย์สินในกองล้มละลายอันอาจแบ่งแก่เจ้าหนี้ได้ตามพระราชบัญญัติล้มละลาย พ.ศ.2483 มาตรา 109(3)

คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 333/2511 เวอร์ชัน 3 คำพิพากษาฎีกานี้ มีเนื้อหาจากเว็บทางการหลายรูปแบบ

ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้ นิติกรรมอำพรางสัญญาเช่าเพื่อหลีกเลี่ยงกฎหมายควบคุมการเช่าเคหะ ศาลอนุญาตให้จำเลยนำสืบหักล้างได้
โจทก์ให้จำเลยและคนอื่นแบ่งกันเช่าบ้านรายพิพาทอยู่หลายคน ต่างคนต่างเสียค่าเช่า จำเลยเช่า 1 ห้อง เสียค่าเช่าเดือนละ 700 บาท เมื่อรวมค่าเช่าทุกคนแล้วเป็นค่าเช่าเดือนละ 2,500 บาท โจทก์ให้จำเลยทำสัญญาเช่าบ้านพิพาทแต่ผู้เดียวในอัตราค่าเช่า เกินเดือนละ 1,000 บาท ก็เพื่อจะหลีกเลี่ยงให้พ้นจากการควบคุมของพระราชบัญญัติควบคุมการเช่าเคหะและที่ดิน พ.ศ. 2504 มาตรา 4 จึงเป็นสัญญาที่ทำขึ้นด้วยเจตนาฝ่าฝืนกฎหมาย จำเลยนำสืบหักล้างถึงความไม่สมบูรณ์แห่งสัญญาได้ตามประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความแพ่ง มาตรา 94 วรรคท้าย

คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 333/2511

ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้ นิติกรรมอำพรางสัญญาเช่าหลีกเลี่ยงกฎหมายควบคุมเคหะ: จำเลยมีสิทธิหักล้างได้
โจทก์ให้จำเลยและคนอื่นแบ่งกันเช่าบ้านรายพิพาทอยู่หลายคน ต่างคนต่างเสียค่าเช่า. จำเลยเช่า 1 ห้องเสียค่าเช่าเดือนละ 700 บาท เมื่อรวมค่าเช่าทุกคนแล้วเป็นค่าเช่าเดือนละ 2,500 บาท. โจทก์ให้จำเลยทำสัญญาเช่าบ้านพิพาทแต่ผู้เดียวในอัตราค่าเช่าเกินเดือนละ 1,000บาท ก็เพื่อจะหลีกเลี่ยงให้พ้นจากการควบคุมของพระราชบัญญัติควบคุมการเช่าเคหะและที่ดิน พ.ศ.2504 มาตรา 4. จึงเป็นสัญญาที่ทำขึ้นด้วยเจตนาฝ่าฝืนกฎหมายจำเลยนำสืบหักล้างถึงความไม่สมบูรณ์แห่งสัญญาได้ตามประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความแพ่ง มาตรา 94 วรรคท้าย.

คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 333/2511 เวอร์ชัน 2 คำพิพากษาฎีกานี้ มีเนื้อหาจากเว็บทางการหลายรูปแบบ

ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้ นิติกรรมอำพรางสัญญาเช่าเพื่อหลีกเลี่ยงกฎหมายควบคุมการเช่าเคหะและที่ดิน จำเลยมีสิทธิหักล้างได้
โจทก์ให้จำเลยและคนอื่นแบ่งกันเช่าบ้านรายพิพาทอยู่หลายคน ต่างคนต่างเสียค่าเช่าจำเลยเช่า 1 ห้องเสียค่าเช่าเดือนละ 700 บาท เมื่อรวมค่าเช่าทุกคนแล้วเป็นค่าเช่าเดือนละ 2,500 บาท โจทก์ให้จำเลยทำสัญญาเช่าบ้านพิพาทแต่ผู้เดียวในอัตราค่าเช่าเกินเดือนละ 1,000 บาทก็เพื่อจะหลีกเลี่ยงให้พ้นจากการควบคุมของพระราชบัญญัติควบคุมการเช่าเคหะและที่ดิน พ.ศ.2504 มาตรา 4 จึงเป็นสัญญาที่ทำขึ้นด้วยเจตนาฝ่าฝืนกฎหมายจำเลยนำสืบหักล้างถึงความไม่สมบูรณ์แห่งสัญญาได้ตามประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความแพ่ง มาตรา 94 วรรคท้าย
of 17