พบผลลัพธ์ทั้งหมด 164 รายการ
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 1057/2511 เวอร์ชัน 3 คำพิพากษาฎีกานี้ มีเนื้อหาจากเว็บทางการหลายรูปแบบ
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
เจตนาฆ่า พยายามฆ่า และการพิจารณาจากพฤติการณ์ การแทงด้วยอาวุธอันตรายหลายครั้ง
ขณะเกิดเหตุจำเลยใช้แขนรัดคอผู้เสียหายบังคับให้ไปด้วยกัน มิฉะนั้นจะแทงให้ตาย เมื่อผู้เสียหายวิ่งหนีไปล้มลง จำเลยวิ่งตามไปใช้มีดปลายแหลมยาว 1 คืบเศษ ใบมีดโตประมาณ 1 นิ้ว แทงผู้เสียหายตามบริเวณหน้าอก ราวนม และด้านหลังรวม 7 แผล หากแต่มีผู้มาพบเข้าจำเลยจึงผละหนีไป การใช้อาวุธตามขนาดดังกล่าว แทงที่ตำแหน่งสำคัญของร่างกายเช่นนี้ เป็นการกระทำโดยมีเจตนาฆ่า แต่ผู้เสียหายไม่ถึงแก่ความตาย จึงมีความผิดขั้นพยายาม
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 1057/2511
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
เจตนาฆ่า พยายามฆ่า: การพิจารณาจากพฤติการณ์ใช้กำลังทำร้ายด้วยอาวุธมีดหลายแผล
ขณะเกิดเหตุจำเลยใช้แขนรัดคอผู้เสียหายบังคับให้ไปด้วยกัน. มิฉะนั้นจะแทงให้ตาย. เมื่อผู้เสียหายวิ่งหนีไปล้มลง จำเลยวิ่งตามไปใช้มีดปลายแหลมยาว 1 คืบเศษ ใบมีดโตประมาณ 1 นิ้ว. แทงผู้เสียหายตามบริเวณหน้าอก ราวนมและด้านหลังรวม 7 แผล. หากแต่มีผู้มาพบเข้าจำเลยจึงผละหนีไป. การใช้อาวุธตามขนาดดังกล่าว แทงที่ตำแหน่งสำคัญของร่างกายเช่นนี้. เป็นการกระทำโดยมีเจตนาฆ่า. แต่ผู้เสียหายไม่ถึงแก่ความตาย. จึงมีความผิดในขั้นพยายาม.
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 1055/2511 เวอร์ชัน 2 คำพิพากษาฎีกานี้ มีเนื้อหาจากเว็บทางการหลายรูปแบบ
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
ภาษีอากรค้างชำระในคดีล้มละลาย: สิทธิในการขอรับชำระหนี้ แม้ยังไม่ถึงกำหนดชำระ
เจ้าพนักงานผู้ตรวจภาษี ตรวจพบภายหลังจำเลยผู้ล้มละลายได้ยื่นรายการเสียภาษีต่ำกว่าจำนวนที่ควรต้องเสีย จึงมีหนังสือแจ้งจำนวนเงินที่จะต้องชำระอีกไปยังจำเลยผู้ต้องเสียภาษีเพิ่มเติม โดยอาศัยประมวลรัษฎากร มาตรา 19,20 และ 22 ดังนี้มูลหนี้ย่อมเกิดขึ้นตั้งแต่จำเลยยื่นรายงานแสดงรายการภาษีไม่ถูกต้องครบถ้วนนั้น เพราะเจ้าพนักงานย่อมมีสิทธิจะเรียกให้จำเลยชำระหนี้ที่เพิ่มขึ้นนั้นได้ตามกฎหมายดังกล่าวตั้งแต่บัดนั้น เจ้าพนักงานซึ่งเป็นเจ้าหนี้จึงมีสิทธิขอรับชำระหนี้ได้ตามนัยแห่งมาตรา 94 แห่งพระราชบัญญัติล้มละลาย พ.ศ.2483
พระราชบัญญัติล้มละลาย พ.ศ.2483 มาตรา 130(6) ที่ว่า"ค่าภาษีอากรฯลฯที่ถึงกำหนดชำระภายใน 6 เดือน ก่อนมีคำสั่งพิทักษ์ทรัพย์" นั้น ไม่หมายความว่าหนี้นั้นจะต้องถึงกำหนดชำระก่อนที่ศาลมีคำสั่งพิทักษ์ทรัพย์เท่านั้นแต่หมายความว่า ถ้าหนี้นั้นถึงกำหนดชำระก่อนวันที่ศาลมีคำสั่งพิทักษ์ทรัพย์แล้ว ก็ต้องถึงกำหนดชำระภายใน 6 เดือน ก่อนที่ศาลจะมีคำสั่งดังกล่าว จึงจะเป็นหนี้ที่อยู่ในลำดับแห่งมาตรา 130(6) แต่ถ้าเป็นหนี้ค่าภาษีอากรที่ถึงกำหนดชำระภายหลังวันที่ศาลมีคำสั่งพิทักษ์ทรัพย์เช่นในคดีนี้ ที่กำหนดให้ชำระหนี้ภายใน 30 วันนับแต่วันได้รับหนังสือและวันได้รับแจ้งการประเมินตามลำดับ ซึ่งเป็นเวลาภายหลังที่ศาลมีคำสั่งพิทักษ์ทรัพย์จำเลยนั้น ไม่มีกฎหมายจำกัดไว้ จึงเป็นหนี้ที่อยู่ในลำดับแห่งมาตรา130(6) ด้วย เพราะในคดีล้มละลายนั้น การขอรับชำระหนี้ย่อมขอรับได้รวมทั้งหนี้ที่ยังไม่ถึงกำหนดชำระเมื่อลูกหนี้ตกเป็นคนล้มละลาย เจ้าหนี้อื่นใดจะฟ้องก็ไม่ได้ได้แต่ขอรับชำระหนี้ ถ้าไม่ยอมให้เจ้าหนี้ซึ่งยังไม่ถึงกำหนดได้รับชำระหนี้ร้องขอชำระหนี้ เจ้าหนี้นั้นก็อาจไม่ได้รับชำระหนี้เลย เพราะพ้นเวลาขอรับชำระหนี้เสียแล้ว ฉะนั้นเจ้าหนี้ผู้ขอรับชำระหนี้จึงมีสิทธิขอรับชำระหนี้รายการอันดับ 8-9 ตามมาตรา 130(6)แห่งพระราชบัญญัติล้มละลาย พ.ศ.2483
พระราชบัญญัติล้มละลาย พ.ศ.2483 มาตรา 130(6) ที่ว่า"ค่าภาษีอากรฯลฯที่ถึงกำหนดชำระภายใน 6 เดือน ก่อนมีคำสั่งพิทักษ์ทรัพย์" นั้น ไม่หมายความว่าหนี้นั้นจะต้องถึงกำหนดชำระก่อนที่ศาลมีคำสั่งพิทักษ์ทรัพย์เท่านั้นแต่หมายความว่า ถ้าหนี้นั้นถึงกำหนดชำระก่อนวันที่ศาลมีคำสั่งพิทักษ์ทรัพย์แล้ว ก็ต้องถึงกำหนดชำระภายใน 6 เดือน ก่อนที่ศาลจะมีคำสั่งดังกล่าว จึงจะเป็นหนี้ที่อยู่ในลำดับแห่งมาตรา 130(6) แต่ถ้าเป็นหนี้ค่าภาษีอากรที่ถึงกำหนดชำระภายหลังวันที่ศาลมีคำสั่งพิทักษ์ทรัพย์เช่นในคดีนี้ ที่กำหนดให้ชำระหนี้ภายใน 30 วันนับแต่วันได้รับหนังสือและวันได้รับแจ้งการประเมินตามลำดับ ซึ่งเป็นเวลาภายหลังที่ศาลมีคำสั่งพิทักษ์ทรัพย์จำเลยนั้น ไม่มีกฎหมายจำกัดไว้ จึงเป็นหนี้ที่อยู่ในลำดับแห่งมาตรา130(6) ด้วย เพราะในคดีล้มละลายนั้น การขอรับชำระหนี้ย่อมขอรับได้รวมทั้งหนี้ที่ยังไม่ถึงกำหนดชำระเมื่อลูกหนี้ตกเป็นคนล้มละลาย เจ้าหนี้อื่นใดจะฟ้องก็ไม่ได้ได้แต่ขอรับชำระหนี้ ถ้าไม่ยอมให้เจ้าหนี้ซึ่งยังไม่ถึงกำหนดได้รับชำระหนี้ร้องขอชำระหนี้ เจ้าหนี้นั้นก็อาจไม่ได้รับชำระหนี้เลย เพราะพ้นเวลาขอรับชำระหนี้เสียแล้ว ฉะนั้นเจ้าหนี้ผู้ขอรับชำระหนี้จึงมีสิทธิขอรับชำระหนี้รายการอันดับ 8-9 ตามมาตรา 130(6)แห่งพระราชบัญญัติล้มละลาย พ.ศ.2483
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 1055/2511 เวอร์ชัน 3 คำพิพากษาฎีกานี้ มีเนื้อหาจากเว็บทางการหลายรูปแบบ
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
หนี้ภาษีที่เกิดขึ้นหลังคำสั่งพิทักษ์ทรัพย์ สามารถขอรับชำระหนี้ในคดีล้มละลายได้ตามมาตรา 130(6) พ.ร.บ.ล้มละลาย
เจ้าพนักงานผู้ตรวจภาษี ตรวจพบภายหลังจำเลยผู้ล้มละลายได้ยื่นรายการเสียภาษีต่ำกว่าจำนวนได้ควรต้องเสีย จึงมีหนังสือแจ้งจำนวนเงินที่จะต้องชำระอีกไปยังจำเลยผู้ต้องเสียภาษีเพิ่มเติม โดยอาศัยประมวลรัษฎากร มาตรา 19, 20 และ 22 ดังนี้ มูลหนี้ย่อมเกิดขึ้นตั้งแต่จำเลยยื่นรายงานแสดงรายการภาษีไม่ถูกต้องครบถ้วนนั้น เพราะเจ้าพนักงานย่อมมีสิทธิจะเรียกให้จำเลยชำระหนี้ที่เพิ่มขึ้นนั้นได้ตามกฎหมายดังกล่าวตั้งแต่บัดนั้น เจ้าพนักงานซึ่งเป็นเจ้าหนี้จึงมีสิทธิขอรับชำระหนี้ได้ตามนัยแห่งมาตรา 94 แห่งพระราชบัญญัติล้มละลาย พ.ศ. 2483
พระราชบัญญัติล้มละลาย พ.ศ. 2483 มาตรา 130 (6) ที่ว่า "ค่าภาษีอากรฯลฯ ที่ถึงกำหนดชำระภายใน 6 เดือน ก่อนมีคำสั่งพิทักษ์ทรัพย์" นั้น ไม่หมายความว่าหนี้นั้นจะต้องถึงกำหนดชำระก่อนที่ศาลมีคำสั่งพิทักษ์ทรัพย์เท่านั้น แต่หมายความว่า ถ้าหนี้นั้นถึงกำหนดชำระก่อนวันที่ศาลมีคำสั่งพิทักษ์ทรัพย์แล้ว ก็ต้องถึงกำหนดชำระภายใน 6 เดือน ก่อนที่ศาลจะมีคำสั่งดังกล่าว จึงจะเป็นหนี้ที่อยู่ในลำดับแห่งมาตรา 130 (6) แต่ถ้าเป็นหนี้ค่าภาษีอากรที่ถึงกำหนดชำระภายหลังวันที่ศาลมีคำสั่งพิทักษ์ทรัพย์เช่นในคดีนี้ ที่กำหนดให้ชำระหนี้ภายใน 30 วันนับแต่วันได้รับหนังสือและวันได้รับแจ้งการประเมินตามลำดับ ซึ่งเป็นเวลาภายหลังที่ศาลมีคำสั่งพิทักษ์ทรัพย์จำเลยนั้น ไม่มีกฎหมายจำกัดไว้ จึงเป็นหนี้ที่อยู่ในลำดับแห่งมาตรา 130 (6) ด้วย เพราะในคดีล้มละลายนั้น การขอรับชำระหนี้ย่อมขอรับได้รวมทั้งหนี้ที่ยังไม่ถึงกำหนดชำระเมื่อลูกหนี้ตกเป็นคนล้มละลาย เจ้าหนี้อื่นใดจะฟ้องก็ไม่ได้ ได้แต่ชอรับชำระหนี้ ถ้าไม่ยอมให้เจ้าหนี้ซึ่งยังไม่ถึงกำหนดได้รับชำระหนี้ร้องขอชำระเจ้าหนี้นั้นก็อาจไม่ได้รับชำระหนี้เลย เพราะพ้นเวลาขอรับชำระหนี้เสียแล้ว ฉะนั้น เจ้าหนี้ผู้ขอรับชำระหนี้จึงมีสิทธิขอรับชำระหนี้รายการอันดับ 8-9 ตามมาตรา 130 (6) แห่งพระราชบัญญัติล้มละลาย พ.ศ. 2483
พระราชบัญญัติล้มละลาย พ.ศ. 2483 มาตรา 130 (6) ที่ว่า "ค่าภาษีอากรฯลฯ ที่ถึงกำหนดชำระภายใน 6 เดือน ก่อนมีคำสั่งพิทักษ์ทรัพย์" นั้น ไม่หมายความว่าหนี้นั้นจะต้องถึงกำหนดชำระก่อนที่ศาลมีคำสั่งพิทักษ์ทรัพย์เท่านั้น แต่หมายความว่า ถ้าหนี้นั้นถึงกำหนดชำระก่อนวันที่ศาลมีคำสั่งพิทักษ์ทรัพย์แล้ว ก็ต้องถึงกำหนดชำระภายใน 6 เดือน ก่อนที่ศาลจะมีคำสั่งดังกล่าว จึงจะเป็นหนี้ที่อยู่ในลำดับแห่งมาตรา 130 (6) แต่ถ้าเป็นหนี้ค่าภาษีอากรที่ถึงกำหนดชำระภายหลังวันที่ศาลมีคำสั่งพิทักษ์ทรัพย์เช่นในคดีนี้ ที่กำหนดให้ชำระหนี้ภายใน 30 วันนับแต่วันได้รับหนังสือและวันได้รับแจ้งการประเมินตามลำดับ ซึ่งเป็นเวลาภายหลังที่ศาลมีคำสั่งพิทักษ์ทรัพย์จำเลยนั้น ไม่มีกฎหมายจำกัดไว้ จึงเป็นหนี้ที่อยู่ในลำดับแห่งมาตรา 130 (6) ด้วย เพราะในคดีล้มละลายนั้น การขอรับชำระหนี้ย่อมขอรับได้รวมทั้งหนี้ที่ยังไม่ถึงกำหนดชำระเมื่อลูกหนี้ตกเป็นคนล้มละลาย เจ้าหนี้อื่นใดจะฟ้องก็ไม่ได้ ได้แต่ชอรับชำระหนี้ ถ้าไม่ยอมให้เจ้าหนี้ซึ่งยังไม่ถึงกำหนดได้รับชำระหนี้ร้องขอชำระเจ้าหนี้นั้นก็อาจไม่ได้รับชำระหนี้เลย เพราะพ้นเวลาขอรับชำระหนี้เสียแล้ว ฉะนั้น เจ้าหนี้ผู้ขอรับชำระหนี้จึงมีสิทธิขอรับชำระหนี้รายการอันดับ 8-9 ตามมาตรา 130 (6) แห่งพระราชบัญญัติล้มละลาย พ.ศ. 2483
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 1055/2511
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
หนี้ภาษีที่เกิดขึ้นหลังคำสั่งพิทักษ์ทรัพย์ ยังคงมีสิทธิขอรับชำระหนี้ได้ตาม พ.ร.บ.ล้มละลาย
เจ้าพนักงานผู้ตรวจภาษี ตรวจพบภายหลังจำเลยผู้ล้มละลายได้ยื่นรายการเสียภาษีต่ำกว่าจำนวนที่ควรต้องเสีย. จึงมีหนังสือแจ้งจำนวนเงินที่จะต้องชำระอีกไปยังจำเลยผู้ต้องเสียภาษีเพิ่มเติม. โดยอาศัยประมวลรัษฎากร มาตรา 19, 20 และ 22. ดังนี้มูลหนี้ย่อมเกิดขึ้นตั้งแต่จำเลยยื่นรายงานแสดงรายการภาษีไม่ถูกต้องครบถ้วนนั้น. เพราะเจ้าพนักงานย่อมมีสิทธิจะเรียกให้จำเลยชำระหนี้ที่เพิ่มขึ้นนั้นได้ตามกฎหมายดังกล่าวตั้งแต่บัดนั้น. เจ้าพนักงานซึ่งเป็นเจ้าหนี้จึงมีสิทธิขอรับชำระหนี้ได้ตามนัยแห่งมาตรา94 แห่งพระราชบัญญัติล้มละลาย พ.ศ.2483.
พระราชบัญญัติล้มละลาย พ.ศ.2483 มาตรา 130(6) ที่ว่า'ค่าภาษีอากรฯลฯที่ถึงกำหนดชำระภายใน 6 เดือน ก่อนมีคำสั่งพิทักษ์ทรัพย์' นั้น. ไม่หมายความว่าหนี้นั้นจะต้องถึงกำหนดชำระก่อนที่ศาลมีคำสั่งพิทักษ์ทรัพย์เท่านั้น.แต่หมายความว่า ถ้าหนี้นั้นถึงกำหนดชำระก่อนวันที่ศาลมีคำสั่งพิทักษ์ทรัพย์แล้ว. ก็ต้องถึงกำหนดชำระภายใน 6เดือน ก่อนที่ศาลจะมีคำสั่งดังกล่าว. จึงจะเป็นหนี้ที่อยู่ในลำดับแห่งมาตรา 130(6). แต่ถ้าเป็นหนี้ค่าภาษีอากรที่ถึงกำหนดชำระภายหลังวันที่ศาลมีคำสั่งพิทักษ์ทรัพย์เช่นในคดีนี้ ที่กำหนดให้ชำระหนี้ภายใน 30 วันนับแต่วันได้รับหนังสือและวันได้รับแจ้งการประเมินตามลำดับ. ซึ่งเป็นเวลาภายหลังที่ศาลมีคำสั่งพิทักษ์ทรัพย์จำเลยนั้น. ไม่มีกฎหมายจำกัดไว้. จึงเป็นหนี้ที่อยู่ในลำดับแห่งมาตรา130(6) ด้วย. เพราะในคดีล้มละลายนั้น. การขอรับชำระหนี้ย่อมขอรับได้รวมทั้งหนี้ที่ยังไม่ถึงกำหนดชำระเมื่อลูกหนี้ตกเป็นคนล้มละลาย. เจ้าหนี้อื่นใดจะฟ้องก็ไม่ได้ได้แต่ขอรับชำระหนี้. ถ้าไม่ยอมให้เจ้าหนี้ซึ่งยังไม่ถึงกำหนดได้รับชำระหนี้ร้องขอชำระหนี้. เจ้าหนี้นั้นก็อาจไม่ได้รับชำระหนี้เลย. เพราะพ้นเวลาขอรับชำระหนี้เสียแล้ว.ฉะนั้นเจ้าหนี้ผู้ขอรับชำระหนี้จึงมีสิทธิขอรับชำระหนี้รายการอันดับ 8-9 ตามมาตรา 130(6)แห่งพระราชบัญญัติล้มละลาย พ.ศ.2483.
พระราชบัญญัติล้มละลาย พ.ศ.2483 มาตรา 130(6) ที่ว่า'ค่าภาษีอากรฯลฯที่ถึงกำหนดชำระภายใน 6 เดือน ก่อนมีคำสั่งพิทักษ์ทรัพย์' นั้น. ไม่หมายความว่าหนี้นั้นจะต้องถึงกำหนดชำระก่อนที่ศาลมีคำสั่งพิทักษ์ทรัพย์เท่านั้น.แต่หมายความว่า ถ้าหนี้นั้นถึงกำหนดชำระก่อนวันที่ศาลมีคำสั่งพิทักษ์ทรัพย์แล้ว. ก็ต้องถึงกำหนดชำระภายใน 6เดือน ก่อนที่ศาลจะมีคำสั่งดังกล่าว. จึงจะเป็นหนี้ที่อยู่ในลำดับแห่งมาตรา 130(6). แต่ถ้าเป็นหนี้ค่าภาษีอากรที่ถึงกำหนดชำระภายหลังวันที่ศาลมีคำสั่งพิทักษ์ทรัพย์เช่นในคดีนี้ ที่กำหนดให้ชำระหนี้ภายใน 30 วันนับแต่วันได้รับหนังสือและวันได้รับแจ้งการประเมินตามลำดับ. ซึ่งเป็นเวลาภายหลังที่ศาลมีคำสั่งพิทักษ์ทรัพย์จำเลยนั้น. ไม่มีกฎหมายจำกัดไว้. จึงเป็นหนี้ที่อยู่ในลำดับแห่งมาตรา130(6) ด้วย. เพราะในคดีล้มละลายนั้น. การขอรับชำระหนี้ย่อมขอรับได้รวมทั้งหนี้ที่ยังไม่ถึงกำหนดชำระเมื่อลูกหนี้ตกเป็นคนล้มละลาย. เจ้าหนี้อื่นใดจะฟ้องก็ไม่ได้ได้แต่ขอรับชำระหนี้. ถ้าไม่ยอมให้เจ้าหนี้ซึ่งยังไม่ถึงกำหนดได้รับชำระหนี้ร้องขอชำระหนี้. เจ้าหนี้นั้นก็อาจไม่ได้รับชำระหนี้เลย. เพราะพ้นเวลาขอรับชำระหนี้เสียแล้ว.ฉะนั้นเจ้าหนี้ผู้ขอรับชำระหนี้จึงมีสิทธิขอรับชำระหนี้รายการอันดับ 8-9 ตามมาตรา 130(6)แห่งพระราชบัญญัติล้มละลาย พ.ศ.2483.
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 1027/2511 เวอร์ชัน 2 คำพิพากษาฎีกานี้ มีเนื้อหาจากเว็บทางการหลายรูปแบบ
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
เจ้าพนักงานเรียกรับสินบนนำจับขัดต่อหน้าที่ตามกฎหมาย ข้อตกลงเป็นโมฆะ
โจทก์เป็นเจ้าพนักงานตำรวจซึ่งมีหน้าที่สืบสวนเกี่ยวกับการกระทำผิดอาญาเมื่อโจทก์รู้ว่ามีการกระทำผิดอาญาเกิดขึ้น โจทก์มีหน้าที่จับกุมผู้กระทำผิดหรือมีหน้าที่ต้องแจ้งการกระทำผิดนั้นต่อพนักงานเจ้าหน้าที่ผู้มีอำนาจจับกุม หากการกระทำผิดนั้นเกิดนอกเขตอำนาจของตน การที่โจทก์ไปแจ้งความต่อนายตรวจศุลกากรขอให้จับกุมผู้ลักลอบนำทองคำออกนอกราชอาณาจักร ทั้งที่โจทก์มีอำนาจจับกุมด้วยตนเองหรือมีหน้าที่แจ้งการกระทำผิดต่อพนักงานเจ้าหน้าที่ผู้มีอำนาจจับกุม โดยหวังจะขอรับเงินสินบนนำจับในการที่โจทก์จะปฏิบัติหน้าที่ ข้อตกลงในการเรียกและยอมให้เงินสินบนนำจับแก่เจ้าพนักงานเพื่อปฏิบัติการตามหน้าที่ย่อมมีวัตถุที่ประสงค์เป็นการต้องห้ามชัดแจ้งโดยกฎหมาย เพราะมีลักษณะเป็นการที่เจ้าพนักงานเรียกและรับสินบนฝ่าฝืนบทบัญญัติแห่งประมวลกฎหมายอาญา ข้อตกลงดังกล่าวจึงตกเป็นโมฆะ โจทก์ไม่มีสิทธิเรียกร้องเงินสินบนนำจับ (พิจารณาโดยที่ประชุมใหญ่ครั้งที่ 17-18/2511)
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 1027/2511 เวอร์ชัน 3 คำพิพากษาฎีกานี้ มีเนื้อหาจากเว็บทางการหลายรูปแบบ
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
เจ้าพนักงานเรียกรับสินบนเพื่อปฏิบัติหน้าที่ตามอำนาจที่มีอยู่แล้ว ข้อตกลงเป็นโมฆะ
โจทก์เป็นเจ้าพนักงานตำรวจซึ่งมีหน้าที่สืบสวนเกี่ยวกับการกระทำผิดอาญา เมื่อโจทก์รู้ว่ามีการกระทำผิดอาญาเกิดขึ้น โจทก์มีหน้าที่จับกุมผู้กระทำผิดหรือมีหน้าที่ต้องแจ้งการกระทำผิดนั้นต่อพนักงานเจ้าหน้าที่ผู้มีอำนาจจับกุม หากการะกระทำผิดนั้นเกิดนอกเขตอำนาจของตน การที่โจทก์ไปแจ้งความต่อนายตรวจศุลกากรขอให้จับกุมผู้ลักลอบนำทองคำต่อพนักงานเจ้าหน้าที่ผู้มีอำนาจจับกุม โดยหวังจะขอรับเงินสินบนนำจับในการที่โจทก์จะปฏิบัติหน้าที่ ข้อตกลงในการเรียกและยอมให้เงินสินบนนำจับแก่เจ้าพนักงานเพื่อปฏิบัติการตามหน้าที่ ย่อมมีวัตถุที่ประสงค์เป็นการต้องห้ามชัดแจ้งโดยกฎหมาย เพราะมีลักษณะเป็นการที่เจ้าพนักงานเรียกและรับสินบนฝ่าฝืนบทบัญญัติแห่งประมวลกฎหมายอาญา ข้อตกลงดังกล่าวจึงตกเป็นโมฆะ โจทก์ไม่มีสิทธิเรียกร้องเงินสินบนนำจับ
(พิจารณาโดยที่ประชุมใหญ่ครั้งที่ 17-18/2511)
(พิจารณาโดยที่ประชุมใหญ่ครั้งที่ 17-18/2511)
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 1027/2511
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
เจ้าพนักงานเรียกรับสินบนนำจับขัดต่อหน้าที่ตามกฎหมาย ข้อตกลงเป็นโมฆะ
โจทก์เป็นเจ้าพนักงานตำรวจซึ่งมีหน้าที่สืบสวนเกี่ยวกับการกระทำผิดอาญาเมื่อโจทก์รู้ว่ามีการกระทำผิดอาญาเกิดขึ้น.โจทก์มีหน้าที่จับกุมผู้กระทำผิดหรือมีหน้าที่ต้องแจ้งการกระทำผิดนั้นต่อพนักงานเจ้าหน้าที่ผู้มีอำนาจจับกุม. หากการกระทำผิดนั้นเกิดนอกเขตอำนาจของตน. การที่โจทก์ไปแจ้งความต่อนายตรวจศุลกากรขอให้จับกุมผู้ลักลอบนำทองคำออกนอกราชอาณาจักร. ทั้งที่โจทก์มีอำนาจจับกุมด้วยตนเองหรือมีหน้าที่แจ้งการกระทำผิดต่อพนักงานเจ้าหน้าที่ผู้มีอำนาจจับกุม. โดยหวังจะขอรับเงินสินบนนำจับในการที่โจทก์จะปฏิบัติหน้าที่. ข้อตกลงในการเรียกและยอมให้เงินสินบนนำจับแก่เจ้าพนักงานเพื่อปฏิบัติการตามหน้าที่.ย่อมมีวัตถุที่ประสงค์เป็นการต้องห้ามชัดแจ้งโดยกฎหมาย.เพราะมีลักษณะเป็นการที่เจ้าพนักงานเรียกและรับสินบนฝ่าฝืนบทบัญญัติแห่งประมวลกฎหมายอาญา. ข้อตกลงดังกล่าวจึงตกเป็นโมฆะ. โจทก์ไม่มีสิทธิเรียกร้องเงินสินบนนำจับ. (พิจารณาโดยที่ประชุมใหญ่ครั้งที่ 17-18/2511).
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 901/2511 เวอร์ชัน 3 คำพิพากษาฎีกานี้ มีเนื้อหาจากเว็บทางการหลายรูปแบบ
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
อำนาจศาลแขวงในการพิจารณาคำร้องขัดทรัพย์ แม้ทุนทรัพย์เกิน 5,000 บาท
การพิจารณาชั้นร้องขัดทรัพย์ถือเป็นการพิจารณาในเรื่องเดิมที่โจทก์ฟ้องจำเลย ฉะนั้น แม้คดีร้องขัดทรัพย์ ผู้ร้องได้ตั้งจำนวนทุนทรัพย์มา 5,000 บาท ก็หาเกินอำนาจศาลแขวงที่จะพิจารณาพิพากษาไม่
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 901/2511
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
อำนาจศาลในคดีขัดทรัพย์: พิจารณาตามทุนทรัพย์เดิมที่ฟ้อง
การพิจารณาชั้นร้องขัดทรัพย์ถือเป็นการพิจารณาในเรื่องเดิมที่โจทก์ฟ้องจำเลย. ฉะนั้น แม้คดีร้องขัดทรัพย์ ผู้ร้องได้ตั้งจำนวนทุนทรัพย์มา 5,000 บาท ก็หาเกินอำนาจศาลแขวงที่จะพิจารณาพิพากษาไม่.