พบผลลัพธ์ทั้งหมด 164 รายการ
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 901/2511 เวอร์ชัน 2 คำพิพากษาฎีกานี้ มีเนื้อหาจากเว็บทางการหลายรูปแบบ
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
อำนาจศาลในคดีขัดทรัพย์: พิจารณาตามทุนทรัพย์เดิมของคดี
การพิจารณาชั้นร้องขัดทรัพย์ถือเป็นการพิจารณาในเรื่องเดิมที่โจทก์ฟ้องจำเลยฉะนั้น แม้คดีร้องขัดทรัพย์ ผู้ร้องได้ตั้งจำนวนทุนทรัพย์มา 5,000 บาท ก็หาเกินอำนาจศาลแขวงที่จะพิจารณาพิพากษาไม่
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 872/2511
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
ที่ดินมือเปล่าและสาธารณสมบัติ: การพิสูจน์กรรมสิทธิ์และการใช้ประโยชน์
ใบเหยียบย่ำเป็นเพียงพยานว่าผู้รับใบเหยียบย่ำได้จับจองที่พิพาทตั้งแต่วันดังกล่าวในใบเหยียบย่ำ และมีกำหนดอายุเพียง 2 ปีเท่านั้น. ผู้รับใบเหยียบย่ำไม่มีกรรมสิทธิ์ในที่ดินรายพิพาท. ส่วนการขึ้นทะเบียนราชพัสดุ ก็ไม่เป็นหลักฐานแสดงกรรมสิทธิ์เช่นกัน. เมื่อที่ดินรายพิพาทไม่มีหนังสือสำคัญแสดงกรรมสิทธิ. จึงเป็นที่ดินมือเปล่า.
จำเลยที่ 1(กรมทางหลวงแผ่นดิน) ขอจับจองที่พิพาทและได้รับใบเหยียบย่ำเช่นเดียวกับเอกชนที่จับจองที่ดินธรรมดาไม่ปรากฏว่าได้ใช้ประโยชน์อะไรนอกจากปลูกอาคารรับรองไว้หลังเดียวในเนื้อที่อันกว้างขวาง. เฉพาะที่พิพาทมิได้เกี่ยวข้องในการก่อสร้างอาคารรับรองอยู่เหนือที่พิพาทประมาณ40 เมตร. มีบ้านเรือนราษฏรถึง 35 หลังปลูกในเขตที่จำเลยอ้างว่าเป็นของจำเลย. ไม่ได้ความว่ามีการสงวนไว้หรือมีการใช้ที่แปลงนี้เพื่อสาธารณประโยชน์. ดังนี้ ที่พิพาทหาใช่สาธารณสมบัติของแผ่นดินไม่. เพราะมิใช่เป็นที่ซึ่งใช้เพื่อสาธารณประโยชน์ หรือสงวนไว้เพื่อประโยชน์ร่วมกัน. โจทก์ย่อมยกอายุความขึ้นต่อสู้ได้. ไม่ต้องห้ามตามประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ มาตรา 1306.
จำเลยที่ 1(กรมทางหลวงแผ่นดิน) ขอจับจองที่พิพาทและได้รับใบเหยียบย่ำเช่นเดียวกับเอกชนที่จับจองที่ดินธรรมดาไม่ปรากฏว่าได้ใช้ประโยชน์อะไรนอกจากปลูกอาคารรับรองไว้หลังเดียวในเนื้อที่อันกว้างขวาง. เฉพาะที่พิพาทมิได้เกี่ยวข้องในการก่อสร้างอาคารรับรองอยู่เหนือที่พิพาทประมาณ40 เมตร. มีบ้านเรือนราษฏรถึง 35 หลังปลูกในเขตที่จำเลยอ้างว่าเป็นของจำเลย. ไม่ได้ความว่ามีการสงวนไว้หรือมีการใช้ที่แปลงนี้เพื่อสาธารณประโยชน์. ดังนี้ ที่พิพาทหาใช่สาธารณสมบัติของแผ่นดินไม่. เพราะมิใช่เป็นที่ซึ่งใช้เพื่อสาธารณประโยชน์ หรือสงวนไว้เพื่อประโยชน์ร่วมกัน. โจทก์ย่อมยกอายุความขึ้นต่อสู้ได้. ไม่ต้องห้ามตามประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ มาตรา 1306.
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 872/2511 เวอร์ชัน 2 คำพิพากษาฎีกานี้ มีเนื้อหาจากเว็บทางการหลายรูปแบบ
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
กรรมสิทธิ์ที่ดินมือเปล่า - สาธารณสมบัติ - อายุความ: การพิสูจน์กรรมสิทธิ์และการยกอายุความในที่ดิน
ใบเหยียบย่ำเป็นเพียงพยานว่าผู้รับใบเหยียบย่ำได้จับจองที่พิพาทตั้งแต่วันดังกล่าวในใบเหยียบย่ำ และมีกำหนดอายุเพียง 2 ปีเท่านั้นผู้รับใบเหยียบย่ำไม่มีกรรมสิทธิ์ในที่ดินรายพิพาทส่วนการขึ้นทะเบียนราชพัสดุ ก็ไม่เป็นหลักฐานแสดงกรรมสิทธิ์เช่นกันเมื่อที่ดินรายพิพาทไม่มีหนังสือสำคัญแสดงกรรมสิทธิ จึงเป็นที่ดินมือเปล่า
จำเลยที่ 1(กรมทางหลวงแผ่นดิน) ขอจับจองที่พิพาทและได้รับใบเหยียบย่ำเช่นเดียวกับเอกชนที่จับจองที่ดินธรรมดาไม่ปรากฏว่าได้ใช้ประโยชน์อะไรนอกจากปลูกอาคารรับรองไว้หลังเดียวในเนื้อที่อันกว้างขวางเฉพาะที่พิพาทมิได้เกี่ยวข้องในการก่อสร้างอาคารรับรองอยู่เหนือที่พิพาทประมาณ40 เมตร มีบ้านเรือนราษฏรถึง 35 หลังปลูกในเขตที่จำเลยอ้างว่าเป็นของจำเลยไม่ได้ความว่ามีการสงวนไว้หรือมีการใช้ที่แปลงนี้เพื่อสาธารณประโยชน์ดังนี้ ที่พิพาทหาใช่สาธารณสมบัติของแผ่นดินไม่เพราะมิใช่เป็นที่ซึ่งใช้เพื่อสาธารณประโยชน์ หรือสงวนไว้เพื่อประโยชน์ร่วมกันโจทก์ย่อมยกอายุความขึ้นต่อสู้ได้ไม่ต้องห้ามตามประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ มาตรา 1306
จำเลยที่ 1(กรมทางหลวงแผ่นดิน) ขอจับจองที่พิพาทและได้รับใบเหยียบย่ำเช่นเดียวกับเอกชนที่จับจองที่ดินธรรมดาไม่ปรากฏว่าได้ใช้ประโยชน์อะไรนอกจากปลูกอาคารรับรองไว้หลังเดียวในเนื้อที่อันกว้างขวางเฉพาะที่พิพาทมิได้เกี่ยวข้องในการก่อสร้างอาคารรับรองอยู่เหนือที่พิพาทประมาณ40 เมตร มีบ้านเรือนราษฏรถึง 35 หลังปลูกในเขตที่จำเลยอ้างว่าเป็นของจำเลยไม่ได้ความว่ามีการสงวนไว้หรือมีการใช้ที่แปลงนี้เพื่อสาธารณประโยชน์ดังนี้ ที่พิพาทหาใช่สาธารณสมบัติของแผ่นดินไม่เพราะมิใช่เป็นที่ซึ่งใช้เพื่อสาธารณประโยชน์ หรือสงวนไว้เพื่อประโยชน์ร่วมกันโจทก์ย่อมยกอายุความขึ้นต่อสู้ได้ไม่ต้องห้ามตามประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ มาตรา 1306
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 872/2511 เวอร์ชัน 3 คำพิพากษาฎีกานี้ มีเนื้อหาจากเว็บทางการหลายรูปแบบ
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
ที่ดินมือเปล่าและสาธารณสมบัติ: การพิสูจน์กรรมสิทธิ์และการยกอายุความ
ใบเหยียบย่ำเป็นเพียงพยานว่า ผู้รับใบเหยียบย่ำได้จับจองที่พิพาทตั้งแต่วันดังกล่าวในใบเหยียบย่ำ และมีกำหนดอายุเพียง 2 ปีเท่านั้น ผู้รับใบเหยียบย่ำไม่มีกรรมสิทธิ์ในที่ดินรายพิพาท ส่วนการขึ้นทะเบียนราชพัสดุ ก็ไม่เป็นหลักฐานแสดงกรรมสิทธิ์เช่นกัน เมื่อที่ดินรายพิพาทไม่มีหนังสือสำคัญแสดงกรรมสิทธิ จึงเป็นที่ดินมือเปล่า
จำเลยที่ 1 (กรมทางหลวงแผ่นดิน) ขอจับจองที่พิพาทและได้รับใบเหยียบย่ำเช่นเดียวกับเอกชนที่จับจองที่ดินธรรมดาไม่ปรากฏว่าได้ใช้ประโยชน์อะไรนอกจากปลูกอาคารรับรองไว้หลังเดียวในเนื้อที่อันกว้างขวาง เฉพาะที่พิพาทมิได้เกี่ยวข้องในการก่อสร้างอาคารรับรองอยู่เหนือที่พิพาทประมาณ 40 เมตร มีบ้านเรือนราษฎรถึง 35 หลังปลูกในเขตที่จำเลยอ้างว่าเป็นของจำเลย ไม่ได้ความว่ามีการสงวนไว้หรือมีการใช้ที่แปลงนี้เพื่อสาธารณประโยชน์ ดังนี้ ที่พิพาทหาใช่สาธารณสมบัติของแผ่นดินไม่ เพราะมิใช่เป็นที่ซึ่งใช้เพื่อสาธารณประโยชน์ หรือสงวนไว้เพื่อประโยชน์ร่วมกัน โจทก์ย่อมยกอายุความขึ้นต่อสู้ได้ ไม่ต้องห้ามตามประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ มาตรา 1306
จำเลยที่ 1 (กรมทางหลวงแผ่นดิน) ขอจับจองที่พิพาทและได้รับใบเหยียบย่ำเช่นเดียวกับเอกชนที่จับจองที่ดินธรรมดาไม่ปรากฏว่าได้ใช้ประโยชน์อะไรนอกจากปลูกอาคารรับรองไว้หลังเดียวในเนื้อที่อันกว้างขวาง เฉพาะที่พิพาทมิได้เกี่ยวข้องในการก่อสร้างอาคารรับรองอยู่เหนือที่พิพาทประมาณ 40 เมตร มีบ้านเรือนราษฎรถึง 35 หลังปลูกในเขตที่จำเลยอ้างว่าเป็นของจำเลย ไม่ได้ความว่ามีการสงวนไว้หรือมีการใช้ที่แปลงนี้เพื่อสาธารณประโยชน์ ดังนี้ ที่พิพาทหาใช่สาธารณสมบัติของแผ่นดินไม่ เพราะมิใช่เป็นที่ซึ่งใช้เพื่อสาธารณประโยชน์ หรือสงวนไว้เพื่อประโยชน์ร่วมกัน โจทก์ย่อมยกอายุความขึ้นต่อสู้ได้ ไม่ต้องห้ามตามประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ มาตรา 1306
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 855/2511 เวอร์ชัน 3 คำพิพากษาฎีกานี้ มีเนื้อหาจากเว็บทางการหลายรูปแบบ
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
รายละเอียดวันปิดรั้วไม่เป็นข้อสำคัญในคำฟ้องภารจำยอม ศาลพิจารณาจากสภาพแห่งข้อหาและคำขอบังคับ
รายละเอียดเกี่ยวกับเวลาที่จำเลยทำรั้วลวดหนามปิดกั้นทางเดินซึ่งเป็นภารจำยอม ไม่ใช่ข้อสารสำคัญที่จะต้องกล่าวในคำฟ้องคดีแพ่ง เป็นแต่เพียงข้อที่อาจนำสืบได้ในชั้นพิจารณาเท่านั้น
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 855/2511 เวอร์ชัน 2 คำพิพากษาฎีกานี้ มีเนื้อหาจากเว็บทางการหลายรูปแบบ
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
ข้อจำกัดในการระบุเวลาในคำฟ้องคดีภารจำยอม ไม่ถือเป็นฟ้องเคลือบคลุม หากบรรยายสภาพแห่งข้อหาชัดเจน
รายละเอียดเกี่ยวกับเวลาที่จำเลยทำรั้วลวดหนามปิดกั้นทางเดินซึ่งเป็นภารจำยอมไม่ใช่ข้อสารสำคัญที่จะต้องกล่าวในคำฟ้องคดีแพ่งเป็นแต่เพียงข้อที่อาจนำสืบได้ในชั้นพิจารณาเท่านั้น
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 855/2511
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
การฟ้องคดีภารจำยอม: เวลาปิดกั้นทางเดินไม่ใช่ข้อสาระสำคัญในคำฟ้อง
รายละเอียดเกี่ยวกับเวลาที่จำเลยทำรั้วลวดหนามปิดกั้นทางเดินซึ่งเป็นภารจำยอม. ไม่ใช่ข้อสารสำคัญที่จะต้องกล่าวในคำฟ้องคดีแพ่ง. เป็นแต่เพียงข้อที่อาจนำสืบได้ในชั้นพิจารณาเท่านั้น.
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 852/2511 เวอร์ชัน 2 คำพิพากษาฎีกานี้ มีเนื้อหาจากเว็บทางการหลายรูปแบบ
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
สัญญาเบิกเงินเกินบัญชี: การยินยอมผูกพันตามระเบียบธนาคารที่ระบุในเอกสารเปิดบัญชี
เอกสารหมาย จ.73 มีข้อความตอนต้นทางด้านหน้าว่า'แบบขอเปิดบัญชีฝากกระแสรายวัน' แต่มีข้อความตอนท้ายของด้านเดียวกันว่า ฯลฯ ข้าพเจ้า(จำเลย)ได้ทราบระเบียบการบัญชีเงินฝากกระแสรายวันของธนาคารไทยพัฒนา จำกัด (โจทก์) ตามที่ระบุไว้ด้านหลังของแบบขอเปิดบัญชีและคำเตือนในสมุดเช็คแล้วและตกลงรับที่จะปฏิบัติและยอมเข้าผูกพันตามระเบียบการดังกล่าวโดยตลอดฯลฯ' และมีข้อความในระเบียบการบัญชีเงินฝากกระแสรายวันของธนาคารโจทก์ข้อ 11 ซึ่งอยู่ด้านหลังของเอกสารดังกล่าวว่า' ถ้าทางธนาคาร(โจทก์) ได้อนุมัติให้จ่ายตามเช็คที่สั่งจ่ายมากกว่าจำนวนเงินที่คงเหลืออยู่ในบัญชีผู้ฝากคงตกลงยินยอมรับผิดชดใช้ให้แก่ธนาคารจนครบถ้วนพร้อมด้วยดอกเบี้ยทบต้นตามประเพณีของธนาคารในอัตราร้อยละ 15 ต่อปีอีกโสดหนึ่งด้วย' กับข้อ 20 ซึ่งอยู่ในด้านเดียวกันมีข้อความว่า 'เมื่อธนาคารได้ยินยอมเปิดบัญชีเงินฝากให้ผู้ฝากรายใดตามที่ขอมาแล้ว เป็นอันถือว่าผู้ฝากรายนั้นได้ยอมรับปฏิบัติตามระเบียบการนี้โดยทุกประการ' จำเลยลงชื่อเป็นผู้ขอเปิดบัญชีในตอนท้ายของด้านหน้าแห่งเอกสารนี้ซึ่งมีข้อความในด้านนี้เกี่ยวข้องไปถึงข้อความทางด้านหลัง โดยใช้ข้อความว่า 'ข้าพเจ้าได้ทราบระเบียบการ ฯลฯ ตามที่ระบุไว้ด้านหลัง ฯลฯ ดีแล้ว และตกลงที่จะปฏิบัติและยอมเข้าผูกพันตามระเบียบดังกล่าวโดยตลอด ฯลฯ' แล้วมีข้อความที่ผู้ฝากตกลงยินยอมรับผิดชอบใช้เงินที่ธนาคารอนุมัติให้จ่ายตามเช็คที่สั่งจ่ายมากกว่าจำนวนเงินที่คงเหลือในบัญชีทั้งยอมปฏิบัติตามระเบียบด้านหลังเอกสารดังกล่าวเมื่อมีการตกลงกันเช่นนี้ เรียกได้ว่าเอกสารหมาย จ.73 เป็นสัญญาเบิกเงินเกินบัญชีระหว่างธนาคารโจทก์และจำเลย ซึ่งโจทก์จำเลยต้องผูกพันเมื่อจำเลยรับว่าเบิกเงินเกินบัญชีจำนวนเงิน 99,531.03 บาท ไปจากธนาคารโจทก์และจำเลยยอมชำระดอกเบี้ยทบต้นร้อยละ 15ต่อปีนับแต่วันฟ้อง จำเลยก็ต้องรับผิดชำระเงินและดอกเบี้ยดังกล่าวแก่โจทก์ตามฟ้อง
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 852/2511
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
สัญญาเบิกเงินเกินบัญชี: การผูกพันตามระเบียบธนาคารที่ระบุในเอกสารขอเปิดบัญชี
เอกสารหมาย จ.73 มีข้อความตอนต้นทางด้านหน้าว่า.'แบบขอเปิดบัญชีฝากกระแสรายวัน' แต่มีข้อความตอนท้ายของด้านเดียวกันว่า. ฯลฯ ข้าพเจ้า(จำเลย)ได้ทราบระเบียบการบัญชีเงินฝากกระแสรายวันของธนาคารไทยพัฒนา จำกัด (โจทก์).ตามที่ระบุไว้ด้านหลังของแบบขอเปิดบัญชีและคำเตือนในสมุดเช็คแล้ว. และตกลงรับที่จะปฏิบัติและยอมเข้าผูกพันตามระเบียบการดังกล่าวโดยตลอดฯลฯ'. และมีข้อความในระเบียบการบัญชีเงินฝากกระแสรายวันของธนาคารโจทก์ข้อ 11 ซึ่งอยู่ด้านหลังของเอกสารดังกล่าวว่า.'... ถ้าทางธนาคาร(โจทก์) ได้อนุมัติให้จ่ายตามเช็คที่สั่งจ่ายมากกว่าจำนวนเงินที่คงเหลืออยู่ในบัญชี...ผู้ฝากคงตกลงยินยอมรับผิดชดใช้ให้แก่ธนาคารจนครบถ้วนพร้อมด้วยดอกเบี้ยทบต้นตามประเพณีของธนาคารในอัตราร้อยละ 15 ต่อปีอีกโสดหนึ่งด้วย'. กับข้อ 20 ซึ่งอยู่ในด้านเดียวกันมีข้อความว่า 'เมื่อธนาคารได้ยินยอมเปิดบัญชีเงินฝากให้ผู้ฝากรายใดตามที่ขอมาแล้ว. เป็นอันถือว่าผู้ฝากรายนั้นได้ยอมรับปฏิบัติตามระเบียบการนี้โดยทุกประการ'. จำเลยลงชื่อเป็นผู้ขอเปิดบัญชีในตอนท้ายของด้านหน้าแห่งเอกสารนี้ซึ่งมีข้อความในด้านนี้เกี่ยวข้องไปถึงข้อความทางด้านหลัง โดยใช้ข้อความว่า 'ข้าพเจ้าได้ทราบระเบียบการ ฯลฯตามที่ระบุไว้ด้านหลัง ฯลฯ ดีแล้ว. และตกลงที่จะปฏิบัติและยอมเข้าผูกพันตามระเบียบดังกล่าวโดยตลอด ฯลฯ'. แล้วมีข้อความที่ผู้ฝากตกลงยินยอมรับผิดชอบใช้เงินที่ธนาคารอนุมัติให้จ่ายตามเช็คที่สั่งจ่ายมากกว่าจำนวนเงินที่คงเหลือในบัญชีทั้งยอมปฏิบัติตามระเบียบด้านหลังเอกสารดังกล่าวเมื่อมีการตกลงกันเช่นนี้. เรียกได้ว่าเอกสารหมาย จ.73 เป็นสัญญาเบิกเงินเกินบัญชีระหว่างธนาคารโจทก์และจำเลย. ซึ่งโจทก์จำเลยต้องผูกพัน. เมื่อจำเลยรับว่าเบิกเงินเกินบัญชีจำนวนเงิน 99,531.03 บาท ไปจากธนาคารโจทก์. และจำเลยยอมชำระดอกเบี้ยทบต้นร้อยละ 15ต่อปีนับแต่วันฟ้อง. จำเลยก็ต้องรับผิดชำระเงินและดอกเบี้ยดังกล่าวแก่โจทก์ตามฟ้อง.
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 852/2511 เวอร์ชัน 3 คำพิพากษาฎีกานี้ มีเนื้อหาจากเว็บทางการหลายรูปแบบ
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
สัญญาเบิกเงินเกินบัญชี: การยินยอมและผลผูกพันตามระเบียบธนาคาร
เอกสารหมาย จ.73 มีข้อความตอนต้นทางด้านหน้าว่า'แบบขอเปิดบัญชีฝากกระแสรายวัน' แต่มีข้อความตอนท้ายของด้านเดียวกันว่า ฯลฯ ข้าพเจ้า(จำเลย)ได้ทราบระเบียบการบัญชีเงินฝากกระแสรายวันของธนาคารไทยพัฒนา จำกัด (โจทก์) ตามที่ระบุไว้ด้านหลังของแบบขอเปิดบัญชีและคำเตือนในสมุดเช็คแล้ว และตกลงรับที่จะปฏิบัติและยอมเข้าผูกพันตามระเบียบการดังกล่าวโดยตลอดฯลฯ' และมีข้อความในระเบียบการบัญชีเงินฝากกระแสรายวันของธนาคารโจทก์ข้อ 11 ซึ่งอยู่ด้านหลังของเอกสารดังกล่าวว่า' ... ถ้าทางธนาคาร(โจทก์) ได้อนุมัติให้จ่ายตามเช็คที่สั่งจ่ายมากกว่าจำนวนเงินที่คงเหลืออยู่ในบัญชี...ผู้ฝากคงตกลงยินยอมรับผิดชดใช้ให้แก่ธนาคารจนครบถ้วนพร้อมด้วยดอกเบี้ยทบต้นตามประเพณีของธนาคารในอัตราร้อยละ 15 ต่อปีอีกโสดหนึ่งด้วย' กับข้อ 20 ซึ่งอยู่ในด้านเดียวกันมีข้อความว่า 'เมื่อธนาคารได้ยินยอมเปิดบัญชีเงินฝากให้ผู้ฝากรายใดตามที่ขอมาแล้ว. เป็นอันถือว่าผู้ฝากรายนั้นได้ยอมรับปฏิบัติตามระเบียบการนี้โดยทุกประการ' จำเลยลงชื่อเป็นผู้ขอเปิดบัญชีในตอนท้ายของด้านหน้าแห่งเอกสารนี้ซึ่งมีข้อความในด้านนี้เกี่ยวข้องไปถึงข้อความทางด้านหลัง โดยใช้ข้อความว่า 'ข้าพเจ้าได้ทราบระเบียบการ ฯลฯตามที่ระบุไว้ด้านหลัง ฯลฯ ดีแล้ว และตกลงที่จะปฏิบัติและยอมเข้าผูกพันตามระเบียบดังกล่าวโดยตลอด ฯลฯ' แล้วมีข้อความที่ผู้ฝากตกลงยินยอมรับผิดชอบใช้เงินที่ธนาคารอนุมัติให้จ่ายตามเช็คที่สั่งจ่ายมากกว่าจำนวนเงินที่คงเหลือในบัญชีทั้งยอมปฏิบัติตามระเบียบด้านหลังเอกสารดังกล่าวเมื่อมีการตกลงกันเช่นนี้ เรียกได้ว่าเอกสารหมาย จ.73 เป็นสัญญาเบิกเงินเกินบัญชีระหว่างธนาคารโจทก์และจำเลย ซึ่งโจทก์จำเลยต้องผูกพัน เมื่อจำเลยรับว่าเบิกเงินเกินบัญชีจำนวนเงิน 99,531.03 บาท ไปจากธนาคารโจทก์ และจำเลยยอมชำระดอกเบี้ยทบต้นร้อยละ 15ต่อปีนับแต่วันฟ้อง จำเลยก็ต้องรับผิดชำระเงินและดอกเบี้ยดังกล่าวแก่โจทก์ตามฟ้อง