คำพิพากษาที่เกี่ยวข้องกับผู้พิพากษา
ปันโน สุขทรรศนีย์

พบผลลัพธ์ทั้งหมด 235 รายการ

คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 1122-1123/2511 เวอร์ชัน 2 คำพิพากษาฎีกานี้ มีเนื้อหาจากเว็บทางการหลายรูปแบบ

ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้ ฟ้องแย้งเรียกค่าใช้จ่ายในการจัดการมรดกที่ตกลงกันไว้ในสัญญา เป็นการเรียกร้องสิทธิเกี่ยวกับฟ้องเดิม
ค่าฤชาธรรมเนียมและค่าทนายความที่จำเลยเสียไปในการดำเนินคดีร้องขอเป็นผู้จัดการมรดกของผู้ตาย ซึ่งโจทก์จำเลยเป็นผู้ร้องขอร่วมกันและโจทก์ตกลงจะชดใช้ให้จำเลยครั้งหนึ่ง โดยระบุไว้ในสัญญาแบ่งมรดก แต่ภายหลังกลับถอนคำร้องเสีย เนื่องจากตกลงกันในการจัดการมรดกไม่ได้นั้น เมื่อโจทก์มาฟ้องคดีขอรับมรดกแต่ผู้เดียว และขอให้ศาลพิพากษาว่าสัญญาแบ่งมรดกเป็นโมฆะ จำเลยย่อมฟ้องแย้งเรียกค่าฤชาธรรมเนียมและค่าทนายความตามที่ตกลงไว้ในสัญญาแบ่งมรดกจากโจทก์ได้ เพราะเป็นฟ้องแย้งที่เกี่ยวกับคำฟ้องเดิม

คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 1122-1123/2511 เวอร์ชัน 3 คำพิพากษาฎีกานี้ มีเนื้อหาจากเว็บทางการหลายรูปแบบ

ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้ ฟ้องแย้งเรียกค่าใช้จ่ายจากการดำเนินคดีจัดการมรดกที่เกี่ยวข้องกับสัญญาแบ่งมรดกที่ถูกฟ้องให้เป็นโมฆะ ชอบด้วยกฎหมาย
ค่าฤชาธรรมเนียมและค่าทนายความที่จำเลยเสียไปในการดำเนินคดีร้างขอเป็นผู้จัดการมรดกของผู้ตาย ซึ่งโจทก์จำเลยเป็นผู้ร้องขอร่วมกันและโจทก์ตกลงจะชดใช้ให้จำเลยครึ่งหนึ่ง โดยระบุไว้ในสัญญาแบ่งมรดก แต่ภายหลังกลับถอนคำร้องเสีย เนื่องจากตกลงกันในการจัดการมรดกไม่ได้นั้น เมื่อโจทก์มาฟ้องคดีขอรับมรดกแต่ผู้เดียว และขอให้ศาลพิพากษาว่าสัญญาแบ่งมรดกเป็นโมฆะ จำเลยย่อมฟ้องแย้งเรียกค่าฤชาธรรมเนียมและค่าหมายความตามที่ตกลงไว้ในสัญญาแบ่งมรดกจากโจทก์ได้ เพราะเป็นฟ้องแย้งที่เกี่ยวกับคำฟ้องเดิม

คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 1099/2511 เวอร์ชัน 3 คำพิพากษาฎีกานี้ มีเนื้อหาจากเว็บทางการหลายรูปแบบ

ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้ พินัยกรรมกำหนดผู้จัดการทรัพย์สินโดยไม่จำกัดสิทธิ และการตัดทายาทโดยธรรมต้องชัดเจน
ตามข้อกำหนดในพินัยกรรมข้อ 3 กำหนดการเผื่อตายในเรื่องทรัพย์สินตามที่ระบุไว้ข้อเดียวกันนั้นว่า เมื่อตนถึงแก่ความตายไปแล้ว ให้จำเลยทั้งสี่เป็นผู้จัดการศพ ปกครองทรัพย์และจัดการในเรื่องทรัพย์สินของผู้ตาย แม้จะมีคำว่าข้าพเจ้าเต็มใจยกให้จำเลยทั้งสี่ แต่ก็มีข้อความติดต่อเกี่ยวเนื่องกันต่อไปว่า เป็นผู้ปกครองทรัพย์ของข้าพเจ้า ข้อความต่อไปที่ว่า นอกจากจำเลยทั้งสี่ที่ระบุนามในหนังสือนี้แล้ว ผู้อื่นไม่มีสิทธิจะปกครองทรัพย์ของข้าพเจ้า ข้อความต่อไปที่ว่า นอกจากจำเลยทั้งสี่ที่ระบุนามในหนังสือนี้แล้ว ผู้อื่นไม่มีสิทธิจะปกครองทรัพย์ของข้าพเจ้าเป็นอันขาด ก็มีความหมายเป็นในเรื่องการปกครองทรัพย์เช่นเดียวกับข้อความในตอนแรก ต่างกับข้อความที่กำหนดไว้ในข้อ 1 และ 2 แห่งพินัยกรรมฉบับเดียวกันซึ่งมีข้อความกำหนดไว้เป็นที่แน่นอนว่า ได้ยกทรัพย์สิ่งใดให้แก่บุคคลใด โดยระบุชื่อไว้อย่างชัดแจ้งไม่มีข้อความต่อไปว่า ยกให้ปกครองและจัดการดังที่กล่าวไว้ในข้อ 3 ส่วนข้อความต่อไปที่ว่าทรัพย์สินที่ข้าพเจ้าได้ระบุไว้และมิได้ระบุให้เป็นอำนาจของจำเลยทั้งสี่จัดการโดยเด็ดขาดหากเห็นว่าควรจะยกให้แก่ผู้ใด ก็ให้ดำเนินการได้ตามความประสงค์ถ้าไม่เห็นสมควรประการใด ก็แล้วแต่จำเลยทั้งสี่จะจัดการให้เป็นไปตามความประสงค์ทั้งสิ้นนั้น ข้อความดังกล่าวเห็นได้ว่า การที่จะยกทรัพย์ตามพินัยกรรมให้แก่บุคคลใด มากน้อยก็สุดแล้วแต่ใจของจำเลยทั้งสี่ กล่าวคือ ให้เป็นไปตามความประสงค์ของจำเลยทั้งสี่ ข้อกำหนดดังกล่าวจึงเป็นการกำหนดบุคคลซึ่งไม่อาจจะทราบตัวแน่นอนได้ เป็นผู้รับพินัยกรรม และเป็นข้อกำหนดที่ให้บุคคลใดยกทรัพย์สินมากน้อยเท่าใดก็ได้ตามแต่ใจของบุคคลนั้น ข้อกำหนดดังกล่าวจึงเป็นโมฆะตามประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ มาตรา 1706
ข้อความในพินัยกรรมกล่าวแต่เพียงว่า บุคคลอื่นแม้จะเกี่ยวเป็นญาติพี่น้องลูกหลานของข้าพเจ้าไม่มีสิทธิเรียกร้องเอาทรัพย์หรือปกครองทรัพย์ของช้าพเจ้าเท่านั้น ไม่มีข้อความตอนใดหรือในที่ใดระบุไว้ชัดแจ้งว่า ตัดนาง ย. หรือโจทก์ซึ่งเป็นบุตรของนาง ย. มิให้รับมรดก ฉะนั้น โจทก์ซึ่งเป็นผู้รับมรดกแทนที่ของนาง ย. ซึ่งเป็นที่ของนาง บ. จึงมีสิทธิรับมรดกของนางบ.

คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 1099/2511

ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้ ข้อกำหนดพินัยกรรมมอบอำนาจจัดการทรัพย์สินให้ผู้รับมรดกโดยไม่จำกัดจำนวนทรัพย์สินเป็นโมฆะ และการตัดทายาทต้องระบุชัดเจน
ตามข้อกำหนดในพินัยกรรมข้อ 3 กำหนดการเผื่อตายในเรื่องทรัพย์สินตามที่ระบุไว้ในข้อเดียวกันนั้นว่า. เมื่อตนถึงแก่ความตายไปแล้ว ให้จำเลยทั้งสี่เป็นผู้จัดการศพปกครองทรัพย์และจัดการในเรื่องทรัพย์สินของผู้ตาย. แม้จะมีคำว่าข้าพเจ้าเต็มใจยกให้จำเลยทั้งสี่ แต่ก็มีข้อความติดต่อเกี่ยวเนื่องกันต่อไปว่า. เป็นผู้ปกครองทรัพย์ของข้าพเจ้า. ข้อความต่อไปที่ว่า. นอกจากจำเลยทั้งสี่ที่ระบุนามในหนังสือนี้แล้ว. ผู้อื่นไม่มีสิทธิจะปกครองทรัพย์ของข้าพเจ้าเป็นอันขาด. ก็มีความหมายเป็นในเรื่องการปกครองทรัพย์เช่นเดียวกับข้อความในตอนแรก. ต่างกับข้อความที่กำหนดไว้ในข้อ 1 และ 2 แห่งพินัยกรรมฉบับเดียวกันซึ่งมีข้อความกำหนดไว้เป็นที่แน่นอนว่า. ได้ยกทรัพย์สิ่งใดให้แก่บุคคลใด โดยระบุชื่อไว้อย่างชัดแจ้ง.ไม่มีข้อความต่อไปว่า. ยกให้ปกครองและจัดการดังที่กล่าวไว้ในข้อ 3. ส่วนข้อความต่อไปที่ว่า.ทรัพย์สินที่ข้าพเจ้าได้ระบุไว้และมิได้ระบุให้เป็นอำนาจของจำเลยทั้งสี่จัดการโดยเด็ดขาด. หากเห็นว่าควรจะยกให้แก่ผู้ใดก็ให้ดำเนินการได้ตามความประสงค์ถ้าไม่เห็นสมควรประการใด. ก็แล้วแต่จำเลยทั้งสี่จะจัดการให้เป็นไปตามความประสงค์ทั้งสิ้นนั้น. ข้อความดังกล่าวเห็นได้ว่า. การที่จะยกทรัพย์ตามพินัยกรรมให้แก่บุคคลใด มากน้อยก็สุดแล้วแต่ใจของจำเลยทั้งสี่. กล่าวคือ ให้เป็นไปตามความประสงค์ของจำเลยทั้งสี่. ข้อกำหนดดังกล่าวจึงเป็นการกำหนดบุคคลซึ่งไม่อาจจะทราบตัวแน่นอนได้. เป็นผู้รับพินัยกรรม. และเป็นข้อกำหนดที่ให้บุคคลใดยกทรัพย์สินมากน้อยเท่าใดก็ได้ตามแต่ใจของบุคคลนั้น. ข้อกำหนดดังกล่าวจึงเป็นโมฆะตามประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ มาตรา 1706.
ข้อความในพินัยกรรมกล่าวแต่เพียงว่า บุคคลอื่นแม้จะเกี่ยวเป็นญาติพี่น้องลูกหลานของข้าพเจ้าไม่มีสิทธิเรียกร้องเอาทรัพย์หรือปกครองทรัพย์ของข้าพเจ้าเท่านั้น. ไม่มีข้อความตอนใดหรือในที่ใดระบุไว้ชัดแจ้งว่า. ตัดนาง ย. หรือโจทก์ซึ่งเป็นบุตรของนาง ย. มิให้รับมรดก. ฉะนั้นโจทก์ซึ่งเป็นผู้รับมรดกแทนที่ของนาง ย. ซึ่งเป็นพี่ของนาง บ. จึงมีสิทธิรับมรดกของนาง บ..

คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 1099/2511 เวอร์ชัน 2 คำพิพากษาฎีกานี้ มีเนื้อหาจากเว็บทางการหลายรูปแบบ

ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้ พินัยกรรมกำหนดให้ผู้จัดการศพจัดการทรัพย์สินตามความประสงค์เป็นโมฆะ และการตัดทายาทต้องระบุชัดเจน
ตามข้อกำหนดในพินัยกรรมข้อ 3 กำหนดการเผื่อตายในเรื่องทรัพย์สินตามที่ระบุไว้ในข้อเดียวกันนั้นว่า เมื่อตนถึงแก่ความตายไปแล้ว ให้จำเลยทั้งสี่เป็นผู้จัดการศพปกครองทรัพย์และจัดการในเรื่องทรัพย์สินของผู้ตาย แม้จะมีคำว่าข้าพเจ้าเต็มใจยกให้จำเลยทั้งสี่ แต่ก็มีข้อความติดต่อเกี่ยวเนื่องกันต่อไปว่า เป็นผู้ปกครองทรัพย์ของข้าพเจ้า ข้อความต่อไปที่ว่า นอกจากจำเลยทั้งสี่ที่ระบุนามในหนังสือนี้แล้ว ผู้อื่นไม่มีสิทธิจะปกครองทรัพย์ของข้าพเจ้าเป็นอันขาด ก็มีความหมายเป็นในเรื่องการปกครองทรัพย์เช่นเดียวกับข้อความในตอนแรก ต่างกับข้อความที่กำหนดไว้ในข้อ 1 และ 2 แห่งพินัยกรรมฉบับเดียวกันซึ่งมีข้อความกำหนดไว้เป็นที่แน่นอนว่า ได้ยกทรัพย์สิ่งใดให้แก่บุคคลใดโดยระบุชื่อไว้อย่างชัดแจ้ง ไม่มีข้อความต่อไปว่า ยกให้ปกครองและจัดการดังที่กล่าวไว้ในข้อ 3 ส่วนข้อความต่อไปที่ว่าทรัพย์สินที่ข้าพเจ้าได้ระบุไว้และมิได้ระบุให้เป็นอำนาจของจำเลยทั้งสี่จัดการโดยเด็ดขาด หากเห็นว่าควรจะยกให้แก่ผู้ใดก็ให้ดำเนินการได้ตามความประสงค์ถ้าไม่เห็นสมควรประการใด ก็แล้วแต่จำเลยทั้งสี่จะจัดการให้เป็นไปตามความประสงค์ทั้งสิ้นนั้น ข้อความดังกล่าวเห็นได้ว่า การที่จะยกทรัพย์ตามพินัยกรรมให้แก่บุคคลใด มากน้อยก็สุดแล้วแต่ใจของจำเลยทั้งสี่ กล่าวคือ ให้เป็นไปตามความประสงค์ของจำเลยทั้งสี่ ข้อกำหนดดังกล่าวจึงเป็นการกำหนดบุคคลซึ่งไม่อาจจะทราบตัวแน่นอนได้ เป็นผู้รับพินัยกรรม และเป็นข้อกำหนดที่ให้บุคคลใดยกทรัพย์สินมากน้อยเท่าใดก็ได้ตามแต่ใจของบุคคลนั้น ข้อกำหนดดังกล่าวจึงเป็นโมฆะตามประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ มาตรา 1706
ข้อความในพินัยกรรมกล่าวแต่เพียงว่า บุคคลอื่นแม้จะเกี่ยวเป็นญาติพี่น้องลูกหลานของข้าพเจ้าไม่มีสิทธิเรียกร้องเอาทรัพย์หรือปกครองทรัพย์ของข้าพเจ้าเท่านั้น ไม่มีข้อความตอนใดหรือในที่ใดระบุไว้ชัดแจ้งว่า ตัดนาง ย.หรือโจทก์ซึ่งเป็นบุตรของนางย. มิให้รับมรดก ฉะนั้นโจทก์ซึ่งเป็นผู้รับมรดกแทนที่ของนาง ย. ซึ่งเป็นพี่ของนาง บ. จึงมีสิทธิรับมรดกของนาง บ.

คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 1061/2511

ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้ สัญญาเช่าและเงินกินเปล่า: การบังคับสัญญาเช่าใหม่และสิทธิในการเรียกเงินคืน
ตามฟ้องโจทก์บรรยายว่า ในขณะที่โจทก์ผู้เช่าอ้างว่าได้เสียเงินกินเปล่าให้จำเลยผู้ให้เช่าไปนั้น. โจทก์ผู้เช่ากำลังเช่าห้องพิพาทอยู่แล้ว. ไม่ได้มีการก่อสร้างห้องเช่าใหม่. ดังนี้จึงถือไม่ได้ว่าเป็นเงินช่วยค่าก่อสร้าง.การเช่าระหว่างโจทก์จำเลยจึงเป็นการเช่ากันอย่างธรรมดา.การที่ผู้เช่าเสียเงินกินเปล่าให้แก่ผู้ให้เช่าในลักษณะเช่นนี้เพียงแต่ให้โจทก์ผู้เช่ามีสิทธิอยู่ในห้องเช่าต่อไปเท่านั้น. จึงไม่มีลักษณะเป็นสัญญาต่างตอบแทนพิเศษไปกว่าสัญญาเช่าธรรมดา. เมื่อไม่เป็นสัญญาต่างตอบแทนอย่างอื่นดังกล่าวแล้ว. โจทก์จะนำคดีมาฟ้องขอให้ศาลบังคับให้จำเลยทำหนังสือสัญญาเช่าให้โจทก์อยู่ในห้องเช่าต่อไปอีก 3 ปีหาได้ไม่.เพราะการฟ้องคดีนี้โจทก์มิได้มีหลักฐานเป็นหนังสืออย่างหนึ่งอย่างใดลงลายมือชื่อฝ่ายจำเลยผู้ต้องรับผิดเป็นสำคัญ. จึงต้องห้ามตามประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ มาตรา 538.
โจทก์ตกลงยอมเสียเงินกินเปล่า 120,000 บาท ให้จำเลยเพื่อสิทธิที่โจทก์จะได้เช่าห้องพิพาทต่อไปอีก 3 ปี นับตั้งแต่วันที่ 1 มกราคม 2506. ในการที่โจทก์ได้จ่ายเงินกินเปล่าล่วงหน้า 40,000 บาท ให้จำเลยไป. ความปรากฏในสำนวนว่าโจทก์ได้อยู่ในห้องเช่าตลอดมานับตั้งแต่วันที่ 1 มกราคม 2506 เกินกว่า 1 ปีแล้ว. เมื่อเทียบตามส่วนกับจำนวนเงินกินเปล่าที่โจทก์เสียไปเห็นได้ชัดว่าโจทก์ได้รับประโยชน์คุ้มกันกับเงินกินเปล่าที่โจทก์เสียไปแล้ว. โจทก์จึงหามีสิทธิเรียกเงินกินเปล่า 40,000 บาทนี้คืนจากจำเลยไม่.

คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 1061/2511 เวอร์ชัน 2 คำพิพากษาฎีกานี้ มีเนื้อหาจากเว็บทางการหลายรูปแบบ

ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้ สัญญาเช่าและการเรียกร้องเงินกินเปล่า: สิทธิของผู้เช่าเมื่อไม่มีสัญญาเป็นลายลักษณ์อักษร
ตามฟ้องโจทก์บรรยายว่า ในขณะที่โจทก์ผู้เช่าอ้างว่าได้เสียเงินกินเปล่าให้จำเลยผู้ให้เช่าไปนั้น โจทก์ผู้เช่ากำลังเช่าห้องพิพาทอยู่แล้ว ไม่ได้มีการก่อสร้างห้องเช่าใหม่ ดังนี้จึงถือไม่ได้ว่าเป็นเงินช่วยค่าก่อสร้างการเช่าระหว่างโจทก์จำเลยจึงเป็นการเช่ากันอย่างธรรมดาการที่ผู้เช่าเสียเงินกินเปล่าให้แก่ผู้ให้เช่าในลักษณะเช่นนี้เพียงแต่ให้โจทก์ผู้เช่ามีสิทธิอยู่ในห้องเช่าต่อไปเท่านั้น จึงไม่มีลักษณะเป็นสัญญาต่างตอบแทนพิเศษไปกว่าสัญญาเช่าธรรมดา เมื่อไม่เป็นสัญญาต่างตอบแทนอย่างอื่นดังกล่าวแล้ว โจทก์จะนำคดีมาฟ้องขอให้ศาลบังคับให้จำเลยทำหนังสือสัญญาเช่าให้โจทก์อยู่ในห้องเช่าต่อไปอีก 3 ปีหาได้ไม่ เพราะการฟ้องคดีนี้โจทก์มิได้มีหลักฐานเป็นหนังสืออย่างหนึ่งอย่างใดลงลายมือชื่อฝ่ายจำเลยผู้ต้องรับผิดเป็นสำคัญ จึงต้องห้ามตามประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ มาตรา 538
โจทก์ตกลงยอมเสียเงินกินเปล่า 120,000 บาท ให้จำเลยเพื่อสิทธิที่โจทก์จะได้เช่าห้องพิพาทต่อไปอีก 3 ปี นับตั้งแต่วันที่ 1 มกราคม 2506 ในการที่โจทก์ได้จ่ายเงินกินเปล่าล่วงหน้า 40,000 บาท ให้จำเลยไป ความปรากฏในสำนวนว่าโจทก์ได้อยู่ในห้องเช่าตลอดมานับตั้งแต่วันที่ 1 มกราคม 2506 เกินกว่า 1 ปีแล้ว เมื่อเทียบตามส่วนกับจำนวนเงินกินเปล่าที่โจทก์เสียไปเห็นได้ชัดว่าโจทก์ได้รับประโยชน์คุ้มกันกับเงินกินเปล่าที่โจทก์เสียไปแล้วโจทก์จึงหามีสิทธิเรียกเงินกินเปล่า 40,000 บาทนี้คืนจากจำเลยไม่

คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 1061/2511 เวอร์ชัน 3 คำพิพากษาฎีกานี้ มีเนื้อหาจากเว็บทางการหลายรูปแบบ

ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้ สัญญาเช่าและการเรียกร้องเงินกินเปล่า: การเช่าต่อเนื่องไม่ถือเป็นสัญญาต่างตอบแทนพิเศษ
ตามฟ้องโจทก์บรรยายว่า ในขณะที่โจทก์ผู้เช่าอ้างว่าได้เสียเงินกินเปล่าให้จำเลยผู้ให้เช่าไปนั้น โจทก์ผู้เช่ากำลังเช่าห้องพิพาทอยู่แล้ว ไม่ได้มีการก่อสร้างห้องเช่าใหม่ ดังนี้ จึงถือไม่ได้ว่าเป็นเงินช่วยค่าก่อสร้าง การเช่าระหว่างโจทก์จำเลยจึงเป็นการเช่ากันอย่างธรรมดา การที่ผู้เช่าเสียเงินกินเปล่าให้แก่ผู้ให้เช่าในลักษณะเช่นนี้เพียงแต่ให้โจทก์ผู้เช่ามีสิทธิอยู่ในห้องเช่าต่อไปเท่านั้น จึงไม่มีลักษณะเป็นสัญญาต่างตอบแทนพิเศษไปกว่าสัญญาเช่าธรรมดา เมื่อไม่เป็นสัญญาต่างตอบแทนอย่างอื่นดังกล่าวแล้ว โจทก์จะนำคดีมาฟ้องขอให้ศาลบังคับให้จำเลยทำหนังสือสัญญาเช่าให้โจทก์อยู่ในห้องเช่าต่อไปอีก 3 ปี หาได้ไม่เพราะการฟ้องคดีนี้โจทก์มิได้มีหลักฐานเป็นหนังสืออย่างหนึ่งอย่างใดลงลายมือชื่อฝ่ายจำเลยผู้ต้องรับผิดเป็นสำคัญ จึงต้องห้ามตามประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ มาตรา 538
โจทก์ตกลงยอมเสียเงินกินเปล่า 120,000 บาท ให้จำเลยเพื่อสิทธิที่โจทก์จะได้เช่าห้องพิพาทต่อไปอีก 3 ปี นับตั้งแต่วันที่ 1 มกราคม 2506 ในการที่โจทก์ได้จ่ายเงินกินเปล่าล่วงหน้า 40,000 บาท ให้จำเลยไป ความปรากฏในสำนวนว่าโจทก์ได้อยู่ในห้องเช่าตลอดมานับตั้งแต่วันที่ 1 มกราคม 2506 เกินกว่า 1 ปีแล้ว เมื่อเทียบตามส่วนกับจำนวนเงินกินเปล่าที่โจทก์เสียไปเห็นได้ชัดว่าโจทก์ได้รับประโยชน์คุ้มกันกับเงินกินเปล่าที่โจทก์เสียไปแล้ว โจทก์จึงมีสิทธิเรียกเงินกินเปล่า 40,000 บาทนี้คือจากจำเลยไม่

คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 1056/2511 เวอร์ชัน 3 คำพิพากษาฎีกานี้ มีเนื้อหาจากเว็บทางการหลายรูปแบบ

ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้ สัญญาผูกพันรับราชการ: การปลดออกจากราชการไม่ปลดจากพันธสัญญาค้ำประกัน
นักเรียนจ่าในสถานศึกษาของกองทัพเรือซึ่งทำสัญญาไว้ว่าเมื่อเรียนสำเร็จ จะต้องรับราชการในสังกัดกองทัพเรือไม่น้อยกว่า 5 ปี มิฉะนั้นต้องเสียค่าตอบแทน แม้การที่รับราชการไม่ครบ เป็นเพราะทางราชการสั่งปลด เนื่องจากกระทำผิดวินัยย่อมถือว่าผู้นั้นกระทำตนเองให้ไม่อาจรับราชการต่อไปได้ จึงต้องใช้ค่าตอบแทนตามสัญญา กรณีเช่นนี้ถือไม่ได้ว่ากองทัพเรือบอกเลิกสัญญาหรือบอกปัดการชำระหนี้ของลูกหนี้
เมื่อไม่ปรากฏว่าลูกหนี้ไปอยู่แห่งใดในพระราชอาณาเขต เจ้าหนี้ย่อมทวงให้ผู้ค้ำประกันชำระหนี้ได้
คดีฟ้องเรียกเงินค่าตอบแทนในการที่นักเรียนจ่ามิได้รับราชการให้ครบกำหนดตามสัญญา ไม่อยู่ในอายุความ 2 ปี ตามประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ มาตรา 165(11), (12), (13)
กองทัพเรือมีหน้าที่เตรียมกำลังกองทัพเรือและป้องกันราชอาณาจักรการจัดตั้งสถานศึกษาฝึกคนเตรียมกำลังไว้ย่อมเป็นหน้าที่ การที่กองทัพเรือทำสัญญาผูกมัดบุคคลที่เข้าศึกษาอบรมให้รับราชการในสังกัดตามระยะเวลาที่กำหนด มิฉะนั้นต้องเสียค่าตอบแทน ทั้งนี้ เพื่อป้องกันความเสียหาย ย่อมอยู่ในอำนาจของกองทัพเรือ หาเป็นการนอกขอบเขตแห่งวัตถุที่ประสงค์ไม่

คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 1056/2511

ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้ สัญญาฝึกอบรมรับราชการ: การกระทำผิดวินัยถือเป็นการผิดสัญญา และผู้ค้ำประกันต้องรับผิด
นักเรียนจ่าในสถานศึกษาของกองทัพเรือซึ่งทำสัญญาไว้ว่าเมื่อเรียนสำเร็จ จะต้องรับราชการในสังกัดกองทัพเรือไม่น้อยกว่า 5 ปี. มิฉะนั้นต้องเสียค่าตอบแทน. แม้การที่รับราชการไม่ครบ เป็นเพราะทางราชการสั่งปลด. เนื่องจากกระทำผิดวินัยย่อมถือว่าผู้นั้นกระทำตนเองให้ไม่อาจรับราชการต่อไปได้. จึงต้องใช้ค่าตอบแทนตามสัญญา. กรณีเช่นนี้ถือไม่ได้ว่ากองทัพเรือบอกเลิกสัญญาหรือบอกปัดการชำระหนี้ของลูกหนี้.
เมื่อไม่ปรากฏว่าลูกหนี้ไปอยู่แห่งใดในพระราชอาณาเขต.เจ้าหนี้ย่อมทวงให้ผู้ค้ำประกันชำระหนี้ได้.
คดีฟ้องเรียกเงินค่าตอบแทนในการที่นักเรียนจ่ามิได้รับราชการให้ครบกำหนดตามสัญญา. ไม่อยู่ในอายุความ 2 ปีตามประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ มาตรา 165(11),(12),(13).
กองทัพเรือมีหน้าที่เตรียมกำลังกองทัพเรือและป้องกันราชอาณาจักร. การจัดตั้งสถานศึกษาฝึกคนเตรียมกำลังไว้ย่อมเป็นหน้าที่. การที่กองทัพเรือทำสัญญาผูกมัดบุคคลที่เข้าศึกษาอบรมให้รับราชการในสังกัดตามระยะเวลาที่กำหนด มิฉะนั้นต้องเสียค่าตอบแทน. ทั้งนี้ เพื่อป้องกันความเสียหาย.ย่อมอยู่ในอำนาจของกองทัพเรือ. หาเป็นการนอกขอบเขตแห่งวัตถุที่ประสงค์ไม่.
of 24