คำพิพากษาที่เกี่ยวข้องกับผู้พิพากษา
อาจิต ไชยาคำ

พบผลลัพธ์ทั้งหมด 422 รายการ

คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 50/2513 เวอร์ชัน 2 คำพิพากษาฎีกานี้ มีเนื้อหาจากเว็บทางการหลายรูปแบบ

ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้ การยึดทรัพย์ซ้ำและการซื้อขายที่ตกเป็นโมฆะ ผู้ซื้อไม่มีสิทธิเรียกร้องให้ปล่อยทรัพย์
ทรัพย์สินของลูกหนี้ตามคำพิพากษาที่เจ้าหนี้ตามคำพิพากษาได้นำเจ้าพนักงานบังคับคดียึดบังคับคดีไว้แล้ว เจ้าหนี้ตามคำพิพากษาอื่นได้แต่จะขอเข้าเฉลี่ยในทรัพย์นั้นหรือเงินที่ขายหรือจำหน่ายได้เท่านั้น จะยึดทรัพย์นั้นซ้ำอีกไม่ได้ ฉะนั้นหากมีการยึดทรัพย์ซ้ำกับเจ้าหนี้ตามคำพิพากษารายแรก และปรากฏว่าผู้ร้องเป็นผู้ประมูลซื้อทรัพย์ได้จากการขายทอดตลาดทรัพย์ที่เจ้าหนี้ตามคำพิพากษานำยึดซ้ำรายหลังนี้ การซื้อขายอันเป็นผลมาจากการยึดที่ต้องห้ามตามกฎหมายนี้ย่อมไม่ชอบด้วยเช่นกัน และกรณีไม่ต้องด้วยมาตรา 296 แห่งประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความแพ่ง ผู้ร้องจึงจะร้องให้ปล่อยทรัพย์ที่เจ้าหนี้ตามคำพิพากษานำยึดไว้ก่อนไม่ได้

คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 50/2513

ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้ การยึดทรัพย์ซ้ำและการซื้อขายที่ตกเป็นโมฆะ เนื่องจากเป็นการยึดซ้ำตามประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความแพ่ง
ทรัพย์สินของลูกหนี้ตามคำพิพากษาที่เจ้าหนี้ตามคำพิพากษาได้นำเจ้าพนักงานบังคับคดียึดบังคับคดีไว้แล้ว เจ้าหนี้ตามคำพิพากษาอื่นได้แต่จะขอเข้าเฉลี่ยในทรัพย์นั้นหรือเงินที่ขายหรือจำหน่ายได้เท่านั้นจะยึดทรัพย์นั้นซ้ำอีกไม่ได้ ฉะนั้นหากมีการยึดทรัพย์ซ้ำกับเจ้าหนี้ตามคำพิพากษารายแรก และปรากฏว่าผู้ร้องเป็นผู้ประมูลซื้อทรัพย์ได้จากการขายทอดตลาดทรัพย์ที่เจ้าหนี้ตามคำพิพากษานำยึดซ้ำรายหลังนี้การซื้อขายอันเป็นผลมาจากการยึดที่ต้องห้ามตามกฎหมายนี้ย่อมไม่ชอบด้วยเช่นกัน และกรณีไม่ต้องด้วยมาตรา 296 แห่งประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความแพ่ง ผู้ร้องจึงจะร้องให้ปล่อยทรัพย์ที่เจ้าหนี้ตามคำพิพากษานำยึดไว้ก่อนไม่ได้

คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 37/2513

ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้ ภารจำยอม-ทางจำเป็น: การพิสูจน์สิทธิ-หนังสือยินยอม-การเลิกสัญญา
การนำสืบข้อเท็จจริงว่า ที่พิพาทเป็นทางภารจำยอมหรือไม่ ไม่มีกฎหมายบังคับให้ต้องมีพยานเอกสารมาแสดง แม้จะมีหนังสือของเจ้าของที่ดินระบุว่าที่พิพาทเป็นทางเดินมาก่อนนานแล้ว ก็เป็นเพียงพยานหลักฐานอย่างหนึ่งซึ่งอาจนำสืบพยานบุคคลเปลี่ยนแปลงแก้ไขข้อความในเอกสารนั้นได้
จำเลยทำหนังสือยินยอมว่ายอมให้โจทก์ใช้ที่ดินของจำเลยเป็นทางเข้าออกสู่ถนนสาธารณะได้โดยไม่ขอรับค่าตอบแทนใดๆและบุคคลคนหนึ่งเป็นผู้นำหนังสือนั้นมาให้โจทก์ยึดถือไว้ ก็มีผลเป็นแต่เพียงให้โจทก์มีสิทธิเดินตามทางพิพาทได้โดยไม่เป็นละเมิด แต่โจทก์ไม่มีสิทธิยกเอาความยินยอมนั้นผูกพันจำเลยตลอดไป จำเลยอาจเลิกไม่ให้ใช้เดินเสียเมื่อไรก็ได้(อ้างคำพิพากษาฎีกาที่ 1084/2507)

คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 37/2513 เวอร์ชัน 2 คำพิพากษาฎีกานี้ มีเนื้อหาจากเว็บทางการหลายรูปแบบ

ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้ ภารจำยอม-ทางจำเป็น: พยานบุคคลสำคัญกว่าเอกสาร, หนังสือยินยอมไม่ผูกพันตลอดไป
การนำสืบข้อเท็จจริงว่า ที่พิพาทเป็นทางภารจำยอมหรือไม่ ไม่มีกฎหมายบังคับให้ต้องมีพยานเอกสารมาแสดง แม้จะมีหนังสือของเจ้าของที่ดินระบุว่าที่พิพาทเป็นทางเดินมาก่อนนานแล้ว ก็เป็นเพียงพยานหลักฐานอย่างหนึ่ง ซึ่งอาจนำสืบพยานบุคคลเปลี่ยนแปลงแก้ไขข้อความในเอกสารนั้นได้
จำเลยทำหนังสือยินยอมว่ายอมให้โจทก์ใช้ที่ดินของจำเลยเป็นทางเข้าออกสู่ถนนสาธารณะได้ โดยไม่ขอรับค่าตอบแทนใด ๆ และบุคคลคนหนึ่งเป็นผู้นำหนังสือนั้นมาให้โจทก์ยึดถือไว้ ก็มีผลเป็นแต่เพียงให้โจทก์มีสิทธิเดินตามทางพิพาทได้โดยไม่เป็นละเมิด แต่โจทก์ไม่มีสิทธิยกเอาความยินยอมนั้นผูกพันจำเลยตลอดไป จำเลยอาจเลิกไม่ให้ใช้เดินเสียเมื่อไรก็ได้ (อ้างคำพิพากษาฎีกาที่ 1084/2507)

คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 24/2513

ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้ อำนาจฟ้องกักกันของ ผู้ว่าคดีศาลแขวง และอำนาจพิจารณาพิพากษาของศาลแขวงตามประมวลกฎหมายอาญา
ผู้ว่าคดีศาลแขวงย่อมอยู่ในความหมายของคำว่า พนักงานอัยการตามประมวลกฎหมายอาญา มาตรา 43 ทั้งนี้โดยนัยแห่ง พระราชบัญญัติจัดตั้งศาลแขวงและวิธีพิจารณาความอาญาในศาลแขวง มาตรา 5 ประกอบกับประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความอาญา มาตรา 2(5) ฉะนั้นจึงย่อมมีอำนาจฟ้องขอให้กักกันจำเลยได้
กักกันมิใช่โทษอาญา แต่เป็นวิธีการเพื่อความปลอดภัยตามประมวลกฎหมายอาญา มาตรา 39(1) ซึ่งมีลักษณะเบากว่าโทษจำคุก(คำพิพากษาฎีกาในที่ประชุมใหญ่ที่ 1455/2511) ฉะนั้น จึงย่อมอยู่ในอำนาจของศาลแขวงที่จะพิจารณาพิพากษาให้กักกันจำเลยตามที่ผู้ว่าคดีฟ้องขอมาได้

คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 24/2513 เวอร์ชัน 2 คำพิพากษาฎีกานี้ มีเนื้อหาจากเว็บทางการหลายรูปแบบ

ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้ อำนาจฟ้องคดีและการกักกันผู้กระทำผิดซ้ำในศาลแขวง
ผู้ว่าคดีศาลแขวงย่อมอยู่ในความหมายของคำว่า พนักงานอัยการ ตามประมวลกฎหมายอาญา มาตรา 43 ทั้งนี้โดยนัยแห่งพระราชบัญญัติจัดตั้งศาลแขวงและวิธีพิจารณาความอาญาในศาลแขวง มาตรา 5 ประกอบกับประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความอาญา มาตรา 2 (5) ฉะนั้นจึงย่อมมีอำนาจฟ้องขอให้กักกันจำเลยได้
กักกันมิใช่โทษอาญา แต่เป็นวิธีการเพื่อความปลอดภัยตามประมวลกฎหมายอาญา มาตรา 39 (1) ซึ่งมีลักษณะเบากว่าโทษจำคุก (คำพิพากษาฎีกาในที่ประชุมใหญ่ที่ 1455/2511) ฉะนั้น จึงย่อมอยู่ในอำนาจของศาลแขวงที่จะพิจารณาพิพากษาให้กักกันจำเลยตามที่ผู้ว่าคดีฟ้องขอมาได้

คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 1900/2512 เวอร์ชัน 2 คำพิพากษาฎีกานี้ มีเนื้อหาจากเว็บทางการหลายรูปแบบ

ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้ การยื่นคำร้องขอพิจารณาใหม่หลังศาลบังคับคดี การนับระยะเวลา และผลของการยื่นล่าช้า
ศาลชั้นต้นประกาศคำบังคับโดยทางหนังสือเมื่อวันที่ 27 กันยายน2510 โดยกำหนดให้จำเลยปฏิบัติตามคำพิพากษาให้เสร็จสิ้นภายในวันที่ 28 ตุลาคม 2511 คำบังคับมีผลใช้ได้ตั้งแต่วันที่ 12 ตุลาคม 2511 ตามประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความแพ่ง มาตรา 79 วรรคสอง ให้มีผลใช้ได้ต่อเมื่อกำหนดเวลา 15 วันล่วงพ้นไปแล้ว แต่คำขอให้พิจารณาใหม่ต้องยื่นภายใน 15 วันนับจากวันที่ส่งคำบังคับ ฉะนั้น เมื่อนับจากวันที่ 13 ตุลาคม 2511 ก็ครบกำหนดในวันที่ 27 ตุลาคม 2511 ซึ่งเป็นวันหยุดราชการ จำเลยจึงมีสิทธิยื่นคำร้องขอให้มีคำสั่งใหม่ได้ภายในวันที่ 28 ตุลาคม 2511 แต่จำเลยยื่นคำร้องวันที่ 30 ตุลาคม 2511 จึงล่วงพ้นกำหนดเวลาที่จะยื่นได้
จำเลยทราบประกาศคำบังคับวันที่ 24 ตุลาคม 2511 สามารถยื่นคำร้องขอให้พิจารณาคดีใหม่ได้ในวันที่ 25 ถึงวันที่ 28 ตุลาคม 2511 ซึ่งอยู่ภายในระยะเวลาที่กฎหมายบัญญัติ จำเลยเคยยื่นคำร้องฉบับลงวันที่ 25 ตุลาคม 2511 แต่คำร้องฉบับนั้นถูกศาลสั่งยกไปแล้ว จำเลยยื่นคำร้องฉบับลงวันที่ 30 ตุลาคม 2511 พ้นระยะเวลาที่จะยื่นได้โดยไม่ได้แสดงเหตุแห่งการล่าช้า ศาลจึงไม่อาจรับไว้พิจารณา

คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 1900/2512 เวอร์ชัน 3 คำพิพากษาฎีกานี้ มีเนื้อหาจากเว็บทางการหลายรูปแบบ

ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้ การยื่นคำร้องขอพิจารณาคดีใหม่พ้นกำหนดระยะเวลาตามกฎหมาย และการนับวันหยุดราชการ
ศาลชั้นต้นประกาศคำบังคับโดยทางหนังสือเมื่อวันที่ 27 กันยายน 2511 โดยกำหนดให้จำเลยปฏิบัติตามคำพิพากษาให้เสร็จสิ้นภายในวันที่ 28 ตุลาคม 2511 คำบังคับมีผลใช้ได้ตั้งแต่วันที่ 12 ตุลาคม 2511 ตามประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความแพ่ง มาตรา 79 วรรค 2 ให้บังผลใช้ได้ต่อเมื่อกำหนดเวลา 15 วันล่วงพ้นไปแล้ว แต่คำขอให้พิจารณาใหม่ต้องยื่นภายใน 15 วันนับจากวันที่ส่งบังคับ ฉะนั้น เมื่อนับจากวันที่ 13 ตุลาคม 2511 ก็ครบกำหนดในวันที่ 27 ตุลาคม 2511 ซึ่งเป็นวันหยุดราชการ จำเลยจึงมีสิทธิยื่นคำร้องขอให้มีคำสั่งใหม่ได้ภายในวันที่ 28 ตุลาคม 2511 แต่จำเลยยื่นคำร้องวันที่ 30ตุลาคม 2511
จำเลยทราบประกาศคำบังคับวันที่ 24 ตุลาคม 2511 สามารถยื่นคำร้องขอให้พิจารณาคดีใหม่ในวันที่ 25 ถึงวันที่ 28 ตุลาคม 2511 ซึ่งอยู่ภายในระยะเวลาที่กฎหมายบัญญัติ จำเลยเคยยื่นคำร้องฉบับลงวันที่ 25 ตุลาคม 2511 แต่คำร้องฉบับนั้นถูกศาลสั่งยกไปแล้ว จำเลยยืนคำร้องฉบับลงวันที่ 30 ตุลาคม 2511 พ้นระยะเวลาที่จะยื่นได้โดยไม่ได้แสดงเหตุแห่งการล่าช้า ศาลจึงไม่อาจรับไว้พิจารณา

คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 1900/2512

ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้ การยื่นคำร้องขอพิจารณาคดีใหม่พ้นกำหนดเวลา แม้จะทราบประกาศคำบังคับแล้ว ศาลไม่รับพิจารณา
ศาลชั้นต้นประกาศคำบังคับโดยทางหนังสือเมื่อวันที่ 27กันยายน 2510. โดยกำหนดให้จำเลยปฏิบัติตามคำพิพากษาให้เสร็จสิ้นภายในวันที่ 28 ตุลาคม 2511. คำบังคับมีผลใช้ได้ตั้งแต่วันที่ 12 ตุลาคม 2511. ตามประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความแพ่ง มาตรา 79 วรรคสอง ให้มีผลใช้ได้ต่อเมื่อกำหนดเวลา 15 วันล่วงพ้นไปแล้ว. แต่คำขอให้พิจารณาใหม่ต้องยื่นภายใน 15 วันนับจากวันที่ส่งคำบังคับ. ฉะนั้น เมื่อนับจากวันที่ 13 ตุลาคม 2511ก็ครบกำหนดในวันที่ 27 ตุลาคม 2511 ซึ่งเป็นวันหยุดราชการ จำเลยจึงมีสิทธิยื่นคำร้องขอให้มีคำสั่งใหม่ได้ภายในวันที่ 28 ตุลาคม 2511 แต่จำเลยยื่นคำร้องวันที่ 30 ตุลาคม 2511 จึงล่วงพ้นกำหนดเวลาที่จะยื่นได้.
จำเลยทราบประกาศคำบังคับวันที่ 24 ตุลาคม 2511 สามารถยื่นคำร้องขอให้พิจารณาคดีใหม่ได้ในวันที่ 25 ถึงวันที่28 ตุลาคม 2511 ซึ่งอยู่ภายในระยะเวลาที่กฎหมายบัญญัติ.จำเลยเคยยื่นคำร้องฉบับลงวันที่ 25 ตุลาคม 2511 แต่คำร้องฉบับนั้นถูกศาลสั่งยกไปแล้ว. จำเลยยื่นคำร้องฉบับลงวันที่ 30 ตุลาคม 2511 พ้นระยะเวลาที่จะยื่นได้โดยไม่ได้แสดงเหตุแห่งการล่าช้า. ศาลจึงไม่อาจรับไว้พิจารณา.

คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 1897/2512

ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้ การผ่อนชำระหนี้ตามสัญญานอกศาล ไม่ผูกพันการบังคับคดี หากโจทก์ไม่รับรองการชำระหนี้ครบถ้วน
จำเลยอ้างว่าได้ผ่อนชำระหนี้ตามสัญญายอมความในศาลเสร็จสิ้นแล้ว. โดยตกลงกันว่าโจทก์จะไม่คิดดอกเบี้ยตามสัญญา.โจทก์ปฏิเสธว่าจำเลยไม่เคยชำระหนี้. ไม่เคยตกลงยอมไม่คิดดอกเบี้ย. ดังนี้ เป็นเรื่องที่จำเลยกระทำการนอกศาล โดยศาลไม่รับรู้ด้วย. เมื่อโจทก์ไม่รับรองว่าได้รับเงินครบถ้วนแล้ว. จำเลยจะยกมาเป็นเหตุให้ศาลงดการบังคับคดีไม่ได้.
of 43