พบผลลัพธ์ทั้งหมด 422 รายการ
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 1452/2511 เวอร์ชัน 3 คำพิพากษาฎีกานี้ มีเนื้อหาจากเว็บทางการหลายรูปแบบ
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
ดอกเบี้ยเกินอัตราในสัญญากู้เป็นโมฆะ การชำระหนี้ด้วยวิธีอื่นตามตกลง ทำให้หนี้ระงับสิ้นไป
คิดดอกเบี้ยล่วงหน้าเกินอัตราที่กฎหมายกำหนด เอามารวมเป็นต้นเงินกู้ในสัญญา ดอกเบี้ยนั้นย่อมตกเป็นโมฆะทั้งหมด มิใช่เป็นโมฆะเฉพาะส่วนที่เกิน (อ้างฎีกาที่478/2488)
โจทก์ฟ้องว่าจำเลยกู้เงิน 14,000 บาท จำเลยให้การว่ากู้และรับเงินเพียง 10,000 บาท ส่วนอีก 4,000 บาทเอาดอกเบี้ยร้อยละ 5 ต่อเดือน จำนวน 8 เดือน มารวมเข้าเป็นเงินต้นด้วย เป็นคำให้การที่ต่อสู้ถึงหนี้ตามสัญญากู้ 4,000 บาท ว่าไม่สมบูรณ์
การต่อสู้ว่าหนี้ตามเอกสารไม่สมบูรณ์ คู่ความมีสิทธินำพยานบุคคลมาสืบประกอบข้ออ้างได้
การที่เจ้าหนี้ยอมรับชำระหนี้โดยวิธีที่ลูกหนี้มอบฉันทะให้บุตรของเจ้าหนี้ไปรับเงินบำนาญพิเศษที่ลูกหนี้กับบุตรมีสิทธิจะได้รับ แล้วเอามาหักชำระหนี้เงินกู้แทนการชำระหนี้ที่ได้ตกลงกันไว้ มิใช่เป็นกรณีเจ้าหนี้ตั้งตัวแทนรับชำระหนี้ แต่เป็นการตกลงที่เจ้าหนี้ยอมรับการชำระหนี้อย่างอื่นตามประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ มาตรา 321หนี้นั้นย่อมเป็นอันระงับสิ้นไป
โจทก์ฟ้องว่าจำเลยกู้เงิน 14,000 บาท จำเลยให้การว่ากู้และรับเงินเพียง 10,000 บาท ส่วนอีก 4,000 บาทเอาดอกเบี้ยร้อยละ 5 ต่อเดือน จำนวน 8 เดือน มารวมเข้าเป็นเงินต้นด้วย เป็นคำให้การที่ต่อสู้ถึงหนี้ตามสัญญากู้ 4,000 บาท ว่าไม่สมบูรณ์
การต่อสู้ว่าหนี้ตามเอกสารไม่สมบูรณ์ คู่ความมีสิทธินำพยานบุคคลมาสืบประกอบข้ออ้างได้
การที่เจ้าหนี้ยอมรับชำระหนี้โดยวิธีที่ลูกหนี้มอบฉันทะให้บุตรของเจ้าหนี้ไปรับเงินบำนาญพิเศษที่ลูกหนี้กับบุตรมีสิทธิจะได้รับ แล้วเอามาหักชำระหนี้เงินกู้แทนการชำระหนี้ที่ได้ตกลงกันไว้ มิใช่เป็นกรณีเจ้าหนี้ตั้งตัวแทนรับชำระหนี้ แต่เป็นการตกลงที่เจ้าหนี้ยอมรับการชำระหนี้อย่างอื่นตามประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ มาตรา 321หนี้นั้นย่อมเป็นอันระงับสิ้นไป
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 1204/2511
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
ภารจำยอมโดยอายุความ การปิดทางละเมิด ค่าเสียหาย และอำนาจฟ้องจำเลยร่วม
ค่าเสียหายฐานทำละเมิดปิดทางภารจำยอมติดต่อกันตลอดมา.คงขาดอายุความเฉพาะส่วนที่เกินหนึ่งปีก่อนฟ้อง.
เมื่อจำเลยจงใจทำผิดกฎหมายโดยแกล้งปิดทาง เป็นเหตุให้โจทก์เสียหายย่อมเป็นผู้ทำละเมิด และจำต้องชดใช้ค่าสินไหมทดแทน. แม้โจทก์นำสืบถึงค่าเสียหายเป็นจำนวนแน่นอนไม่ได้. ศาลก็อาจกำหนดให้ตามควรแก่พฤติการณ์และความร้ายแรงแห่งละเมิด.
โจทก์ใช้ทางพิพาทผ่านที่ดินจำเลยสำหรับล้อเกวียนบรรทุกข้าวเข้าออกระหว่างโรงสีโจทก์ (ซึ่งปลูกอยู่ในที่ดินโจทก์)กับทางสาธารณประโยชน์ตลอดมากว่า 10 ปี. ทางพิพาทย่อมตกเป็นภารจำยอมโดยทางอายุความ. แม้เพื่อประโยชน์การค้าก็ไม่มีกฎหมายจำกัด.ว่าจะเป็นภารจำยอมไม่ได้.
คำร้องของโจทก์ที่ขอให้เรียกบุคคลภายนอกเข้ามาเป็นจำเลยร่วมนั้นไม่ใช่คำฟ้อง. แต่เมื่อศาลมีคำสั่งอนุญาตให้หมายเรียกบุคคลภายนอกเข้ามาเป็นคู่ความแล้ว.บุคคลภายนอกก็ย่อมเป็นคู่ความตามประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความแพ่ง มาตรา 57(3). แม้มิได้เป็นคู่ความตามคำฟ้องมาแต่แรก. ศาลก็มีอำนาจพิพากษาให้จำเลยร่วมนั้นเสียค่าฤชาธรรมเนียมและค่าทนายความแทนโจทก์ได้.
เมื่อจำเลยจงใจทำผิดกฎหมายโดยแกล้งปิดทาง เป็นเหตุให้โจทก์เสียหายย่อมเป็นผู้ทำละเมิด และจำต้องชดใช้ค่าสินไหมทดแทน. แม้โจทก์นำสืบถึงค่าเสียหายเป็นจำนวนแน่นอนไม่ได้. ศาลก็อาจกำหนดให้ตามควรแก่พฤติการณ์และความร้ายแรงแห่งละเมิด.
โจทก์ใช้ทางพิพาทผ่านที่ดินจำเลยสำหรับล้อเกวียนบรรทุกข้าวเข้าออกระหว่างโรงสีโจทก์ (ซึ่งปลูกอยู่ในที่ดินโจทก์)กับทางสาธารณประโยชน์ตลอดมากว่า 10 ปี. ทางพิพาทย่อมตกเป็นภารจำยอมโดยทางอายุความ. แม้เพื่อประโยชน์การค้าก็ไม่มีกฎหมายจำกัด.ว่าจะเป็นภารจำยอมไม่ได้.
คำร้องของโจทก์ที่ขอให้เรียกบุคคลภายนอกเข้ามาเป็นจำเลยร่วมนั้นไม่ใช่คำฟ้อง. แต่เมื่อศาลมีคำสั่งอนุญาตให้หมายเรียกบุคคลภายนอกเข้ามาเป็นคู่ความแล้ว.บุคคลภายนอกก็ย่อมเป็นคู่ความตามประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความแพ่ง มาตรา 57(3). แม้มิได้เป็นคู่ความตามคำฟ้องมาแต่แรก. ศาลก็มีอำนาจพิพากษาให้จำเลยร่วมนั้นเสียค่าฤชาธรรมเนียมและค่าทนายความแทนโจทก์ได้.
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 1204/2511 เวอร์ชัน 3 คำพิพากษาฎีกานี้ มีเนื้อหาจากเว็บทางการหลายรูปแบบ
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
ภารจำยอมโดยอายุความ ทางพิพาทปิดกั้น ค่าเสียหายละเมิด และอำนาจฟ้องจำเลยร่วม
ค่าเสียหายฐานทำละเมิดปิดทางภารจำยอมติดต่อกันตลอดมาคงขาดอายุความเฉพาะส่วนที่เกินหนึ่งปีก่อนฟ้อง
เมื่อจำเลยจงใจทำผิดกฎหมายโดยแกล้งปิดทาง เป็นเหตุให้โจทก์เสียหายย่อมเป็นผู้ทำละเมิด และจำต้องชดใช้ค่าสินไหมทดแทน แม้โจทก์นำสืบถึงค่าเสียหายเป็นจำนวนแน่นอนไม่ได้ ศาลก็อาจกำหนดให้ตามควรแก่พฤติการณ์และความร้ายแรงแห่งละเมิด
โจทก์ใช้ทางพิพาทผ่านที่ดินจำเลยสำหรับล้อเกวียนบรรทุกข้าวเข้าออกระหว่างโรงสีโจทก์ (ซึ่งปลูกอยู่ในที่ดินโจทก์)กับทางสาธารณประโยชน์ตลอดมากว่า 10 ปี ทางพิพาทย่อมตกเป็นภารจำยอมโดยทางอายุความ แม้เพื่อประโยชน์การค้าก็ไม่มีกฎหมายจำกัด ว่าจะเป็นภารจำยอมไม่ได้
คำร้องของโจทก์ที่ขอให้เรียกบุคคลภายนอกเข้ามาเป็นจำเลยร่วมนั้นไม่ใช่คำฟ้อง แต่เมื่อศาลมีคำสั่งอนุญาตให้หมายเรียกบุคคลภายนอกเข้ามาเป็นคู่ความแล้ว บุคคลภายนอกก็ย่อมเป็นคู่ความตามประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความแพ่ง มาตรา 57(3) แม้มิได้เป็นคู่ความตามคำฟ้องมาแต่แรก ศาลก็มีอำนาจพิพากษาให้จำเลยร่วมนั้นเสียค่าฤชาธรรมเนียมและค่าทนายความแทนโจทก์ได้
เมื่อจำเลยจงใจทำผิดกฎหมายโดยแกล้งปิดทาง เป็นเหตุให้โจทก์เสียหายย่อมเป็นผู้ทำละเมิด และจำต้องชดใช้ค่าสินไหมทดแทน แม้โจทก์นำสืบถึงค่าเสียหายเป็นจำนวนแน่นอนไม่ได้ ศาลก็อาจกำหนดให้ตามควรแก่พฤติการณ์และความร้ายแรงแห่งละเมิด
โจทก์ใช้ทางพิพาทผ่านที่ดินจำเลยสำหรับล้อเกวียนบรรทุกข้าวเข้าออกระหว่างโรงสีโจทก์ (ซึ่งปลูกอยู่ในที่ดินโจทก์)กับทางสาธารณประโยชน์ตลอดมากว่า 10 ปี ทางพิพาทย่อมตกเป็นภารจำยอมโดยทางอายุความ แม้เพื่อประโยชน์การค้าก็ไม่มีกฎหมายจำกัด ว่าจะเป็นภารจำยอมไม่ได้
คำร้องของโจทก์ที่ขอให้เรียกบุคคลภายนอกเข้ามาเป็นจำเลยร่วมนั้นไม่ใช่คำฟ้อง แต่เมื่อศาลมีคำสั่งอนุญาตให้หมายเรียกบุคคลภายนอกเข้ามาเป็นคู่ความแล้ว บุคคลภายนอกก็ย่อมเป็นคู่ความตามประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความแพ่ง มาตรา 57(3) แม้มิได้เป็นคู่ความตามคำฟ้องมาแต่แรก ศาลก็มีอำนาจพิพากษาให้จำเลยร่วมนั้นเสียค่าฤชาธรรมเนียมและค่าทนายความแทนโจทก์ได้
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 1204/2511 เวอร์ชัน 2 คำพิพากษาฎีกานี้ มีเนื้อหาจากเว็บทางการหลายรูปแบบ
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
ภารจำยอมโดยอายุความและผลกระทบของการปิดทาง การชดใช้ค่าเสียหายจากการละเมิด และการเป็นคู่ความ
ค่าเสียหายฐานทำละเมิดปิดทางภารจำยอมติดต่อกันตลอดมาคงขาดอายุความเฉพาะส่วนที่เกินหนึ่งปีก่อนฟ้อง
เมื่อจำเลยจงใจทำผิดกฎหมายโดยแกล้งปิดทาง เป็นเหตุให้โจทก์เสียหายย่อมเป็นผู้ทำละเมิด และจำต้องชดใช้ค่าสินไหมทดแทน แม้โจทก์นำสืบถึงค่าเสียหายเป็นจำนวนแน่นอนไม่ได้ ศาลก็อาจกำหนดให้ตามควรแก่พฤติการณ์และความร้ายแรงแห่งละเมิด
โจทก์ใช้ทางพิพาทผ่านที่ดินจำเลยสำหรับล้อเกวียนบรรทุกข้าวเข้าออกระหว่างโรงสีโจทก์ (ซึ่งปลูกอยู่ในที่ดินโจทก์) กับทางสาธารณประโยชน์ตลอดมากว่า 10 ปี ทางพิพาทย่อมตกเป็นภารจำยอมโดยทางอายุความ แม้เพื่อประโยชน์การค้าก็ไม่มีกฎหมายจำกัด ว่าจะเป็นภารจำยอมไม่ได้
คำร้องของโจทก์ที่ขอให้เรียกบุคคลภายนอกเข้ามาเป็นจำเลยร่วมนั้นไม่ใช่คำฟ้อง แต่เมื่อศาลมีคำสั่งอนุญาตให้หมายเรียกบุคคลภายนอกเข้ามาเป็นคู่ความแล้ว บุคคลภายนอกก็ย่อมเป็นคู่ความตามประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความแพ่ง มาตรา 57(3) แม้มิได้เป็นคู่ความตามคำฟ้องมาแต่แรกศาลก็มีอำนาจพิพากษาให้จำเลยร่วมนั้นเสียค่าฤชาธรรมเนียมและค่าทนายความแทนโจทก์ได้
เมื่อจำเลยจงใจทำผิดกฎหมายโดยแกล้งปิดทาง เป็นเหตุให้โจทก์เสียหายย่อมเป็นผู้ทำละเมิด และจำต้องชดใช้ค่าสินไหมทดแทน แม้โจทก์นำสืบถึงค่าเสียหายเป็นจำนวนแน่นอนไม่ได้ ศาลก็อาจกำหนดให้ตามควรแก่พฤติการณ์และความร้ายแรงแห่งละเมิด
โจทก์ใช้ทางพิพาทผ่านที่ดินจำเลยสำหรับล้อเกวียนบรรทุกข้าวเข้าออกระหว่างโรงสีโจทก์ (ซึ่งปลูกอยู่ในที่ดินโจทก์) กับทางสาธารณประโยชน์ตลอดมากว่า 10 ปี ทางพิพาทย่อมตกเป็นภารจำยอมโดยทางอายุความ แม้เพื่อประโยชน์การค้าก็ไม่มีกฎหมายจำกัด ว่าจะเป็นภารจำยอมไม่ได้
คำร้องของโจทก์ที่ขอให้เรียกบุคคลภายนอกเข้ามาเป็นจำเลยร่วมนั้นไม่ใช่คำฟ้อง แต่เมื่อศาลมีคำสั่งอนุญาตให้หมายเรียกบุคคลภายนอกเข้ามาเป็นคู่ความแล้ว บุคคลภายนอกก็ย่อมเป็นคู่ความตามประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความแพ่ง มาตรา 57(3) แม้มิได้เป็นคู่ความตามคำฟ้องมาแต่แรกศาลก็มีอำนาจพิพากษาให้จำเลยร่วมนั้นเสียค่าฤชาธรรมเนียมและค่าทนายความแทนโจทก์ได้
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 1159/2511 เวอร์ชัน 3 คำพิพากษาฎีกานี้ มีเนื้อหาจากเว็บทางการหลายรูปแบบ
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
ที่สาธารณสมบัติของแผ่นดินจะโอนให้เอกชนไม่ได้ และสิทธิภารจำยอมไม่เกิดขึ้นหากรุกล้ำที่สาธารณะ
ตามประมวลกฎหมายที่ดิน มาตรา 8 วรรคแรกนั้น มีความหมายว่า บรรดาที่หลวงทั้งหลายซึ่งเป็นสาธารณสมบัติของแผ่นดินตามประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ มาตรา 1304 ก็ดี หรือที่ดินอันเป็นทรัพย์สินของแผ่นดินตามธรรมดาไม่ไช่ทรัพย์นอกพาณิชย์ และไม่ใช่ทรัพย์ที่จะถือเอาหรือโอนกันไม่ได้เหล่าหนี้ก็ดี ถ้าไม่มีกฎหมายพิเศษได้กำหนดไว้เป็นอย่างอื่นแล้ว ก็เป็นอำนาจหน้าที่ของอธิบดีกรมที่ดินดูแลรักษาและดำเนินการคุ้มครองป้องกัน เว้นแต่รัฐมนตรีว่าการกระทรวงมหาดไทยจะมอบหมายให้ทบวงการเมืองอื่นเป็นผู้ใช้ก็ได้
ประมวลกฎหมายที่ดิน มาตรา 8 วรรคท้าย ซึ่งบัญญัติว่า "บรรดาที่ดินดังกล่าวในวรรคแรกนั้น เมื่อมีเหตุผลอันสมควร รัฐมนตรีมีอำนาจที่จะจัดขึ้นทะเบียนเป็นของทบวงการเมืองได้..." นั้น หมายความว่าถ้ารัฐเห็นสมควรจะให้ทบวงการเมืองใดรับผิดชอบดูแลรักษาและดำเนินการคุ้มครองป้องกันเอง รัฐมนตรีว่าการกระทรวงมหาดไทยก็มีอำนาจที่จะจัดขึ้นทะเบียนเป็นของทบวงการเมืองนั้นๆ ได้
ที่ดินที่ขึ้นทะเบียนเป็นของทบวงการเมืองอื่นไว้แล้วแต่เดิมก่อนประมวลกฎหมายที่ดินใช้บังคับนั้น ไม่มีคำสั่งกำหนดว่าให้ปฏิบัติอย่างไร และในทางปฏิบัติบรรดาที่ดินราชพัสดุที่ขึ้นทะเบียนไว้ต่อกระทรวงการคลัง กระทรวงการคลังก็คงใช้อำนาจปกครองอยู่เช่นเดิม ทั้งนี้เพราะถือได้ว่ารัฐมนตรีว่าการกระทรวงมหาดไทยได้จัดขึ้นทะเบียนเป็นของกระทรวงการคลังแล้วโดยอนุโลมตามความหมายแห่งประมวลกฎหมายที่ดินมาตรา 8 วรรคท้าย ซึ่งเป็นบทบัญญัติที่รับรองสิทธิของกระทรวงการคลังว่ายังคงมีอำนาจปกครองที่ดินที่ได้ขึ้นทะเบียนเป็นราชพัสดุไว้แล้วต่อไปตามเดิม อำนาจของกระทรวงการคลังจึงมิได้ถูกยกเลิกเพิกถอนไปโดยประมวลกฎหมายที่ดิน มาตรา 8 วรรคแรก ที่พิพาทได้ขึ้นทะเบียนเป็นที่ราชพัสดุของกระทรวงการคลังแล้ว กระทรวงการคลังโจทก์ที่ 1 จึงมีอำนาจฟ้องได้
การเปลี่ยนชื่อกระทรวงทบงกรมต่างๆ จะทำได้ก็โดยตราขึ้นเป็นกฎหมาย ฉะนั้นจึงเป็นข้อที่ศาลรับรู้ได้เองว่ากระทรวงพระคลังฯ นั้นคือกระทรวงการคลัง
กำแพงเมืองและคูเมืองเป็นทรัพย์สินใช้เพื่อประโยชน์ของแผ่นดินโดยเฉพาะแม้ต่อมากำแพงจะถูกรื้อทำลายลง และคูเมืองตื้นเขินขึ้นก็ตาม แต่ทางราชการก็ได้ถือว่าเป็นที่หลวงหวงห้ามตลอดมา ไม่ยอมให้ราษฎรยึดถือเอาเป็นเจ้าของ แม้จะขอเช่าก็ต้องได้รับอนุญาตก่อน ดังนี้ กำแพงเมืองและคูเมืองจึงยังคงเป็นสาธารณสมบัติของแผ่นดินเพราะเป็นที่สงวนไว้เพื่อประโยชน์ร่วมกัน
แม้นายอำเภอจะได้ทำนิติกรรมซื้อขายที่พิพาทให้จำเลย ก็ไม่ทำให้จำเลยได้สิทธิในที่พิพาท เพราะที่พิพาทเป็นสาธารณสมบัติของแผ่นดินซึ่งจะโอนแก่กันมิได้ และจะยกอายุความขึ้นต่อสู้แผ่นดินไม่ได้
การได้สิทธิจดทะเบียนการจำยอมตามประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์มาตรา 1312 นั้น จะต้องเป็นการสร้างโรงเรือนรุกล้ำเข้าไปในที่ดินของผู้อื่นโดยสุจริตแต่ที่พิพาทเป็นสาธารณสมบัติของแผ่นดิน ไม่ใช่ทรัพย์สินของแผ่นดินธรรมดาหรือของเอกชนจะนำมาใช้บังคับในกรณีนี้หาได้ไม่ ดังนั้น แม้จำเลยจะปลูกสร้างโดยสุจริตก็ตาม จำเลยก็ไม่มีสิทธิขอให้จดทะเบียนการจำยอมได้
(ประชุมใหญ่ครั้งที่ 20/2511)
ประมวลกฎหมายที่ดิน มาตรา 8 วรรคท้าย ซึ่งบัญญัติว่า "บรรดาที่ดินดังกล่าวในวรรคแรกนั้น เมื่อมีเหตุผลอันสมควร รัฐมนตรีมีอำนาจที่จะจัดขึ้นทะเบียนเป็นของทบวงการเมืองได้..." นั้น หมายความว่าถ้ารัฐเห็นสมควรจะให้ทบวงการเมืองใดรับผิดชอบดูแลรักษาและดำเนินการคุ้มครองป้องกันเอง รัฐมนตรีว่าการกระทรวงมหาดไทยก็มีอำนาจที่จะจัดขึ้นทะเบียนเป็นของทบวงการเมืองนั้นๆ ได้
ที่ดินที่ขึ้นทะเบียนเป็นของทบวงการเมืองอื่นไว้แล้วแต่เดิมก่อนประมวลกฎหมายที่ดินใช้บังคับนั้น ไม่มีคำสั่งกำหนดว่าให้ปฏิบัติอย่างไร และในทางปฏิบัติบรรดาที่ดินราชพัสดุที่ขึ้นทะเบียนไว้ต่อกระทรวงการคลัง กระทรวงการคลังก็คงใช้อำนาจปกครองอยู่เช่นเดิม ทั้งนี้เพราะถือได้ว่ารัฐมนตรีว่าการกระทรวงมหาดไทยได้จัดขึ้นทะเบียนเป็นของกระทรวงการคลังแล้วโดยอนุโลมตามความหมายแห่งประมวลกฎหมายที่ดินมาตรา 8 วรรคท้าย ซึ่งเป็นบทบัญญัติที่รับรองสิทธิของกระทรวงการคลังว่ายังคงมีอำนาจปกครองที่ดินที่ได้ขึ้นทะเบียนเป็นราชพัสดุไว้แล้วต่อไปตามเดิม อำนาจของกระทรวงการคลังจึงมิได้ถูกยกเลิกเพิกถอนไปโดยประมวลกฎหมายที่ดิน มาตรา 8 วรรคแรก ที่พิพาทได้ขึ้นทะเบียนเป็นที่ราชพัสดุของกระทรวงการคลังแล้ว กระทรวงการคลังโจทก์ที่ 1 จึงมีอำนาจฟ้องได้
การเปลี่ยนชื่อกระทรวงทบงกรมต่างๆ จะทำได้ก็โดยตราขึ้นเป็นกฎหมาย ฉะนั้นจึงเป็นข้อที่ศาลรับรู้ได้เองว่ากระทรวงพระคลังฯ นั้นคือกระทรวงการคลัง
กำแพงเมืองและคูเมืองเป็นทรัพย์สินใช้เพื่อประโยชน์ของแผ่นดินโดยเฉพาะแม้ต่อมากำแพงจะถูกรื้อทำลายลง และคูเมืองตื้นเขินขึ้นก็ตาม แต่ทางราชการก็ได้ถือว่าเป็นที่หลวงหวงห้ามตลอดมา ไม่ยอมให้ราษฎรยึดถือเอาเป็นเจ้าของ แม้จะขอเช่าก็ต้องได้รับอนุญาตก่อน ดังนี้ กำแพงเมืองและคูเมืองจึงยังคงเป็นสาธารณสมบัติของแผ่นดินเพราะเป็นที่สงวนไว้เพื่อประโยชน์ร่วมกัน
แม้นายอำเภอจะได้ทำนิติกรรมซื้อขายที่พิพาทให้จำเลย ก็ไม่ทำให้จำเลยได้สิทธิในที่พิพาท เพราะที่พิพาทเป็นสาธารณสมบัติของแผ่นดินซึ่งจะโอนแก่กันมิได้ และจะยกอายุความขึ้นต่อสู้แผ่นดินไม่ได้
การได้สิทธิจดทะเบียนการจำยอมตามประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์มาตรา 1312 นั้น จะต้องเป็นการสร้างโรงเรือนรุกล้ำเข้าไปในที่ดินของผู้อื่นโดยสุจริตแต่ที่พิพาทเป็นสาธารณสมบัติของแผ่นดิน ไม่ใช่ทรัพย์สินของแผ่นดินธรรมดาหรือของเอกชนจะนำมาใช้บังคับในกรณีนี้หาได้ไม่ ดังนั้น แม้จำเลยจะปลูกสร้างโดยสุจริตก็ตาม จำเลยก็ไม่มีสิทธิขอให้จดทะเบียนการจำยอมได้
(ประชุมใหญ่ครั้งที่ 20/2511)
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 1159/2511 เวอร์ชัน 2 คำพิพากษาฎีกานี้ มีเนื้อหาจากเว็บทางการหลายรูปแบบ
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
ที่สาธารณสมบัติของแผ่นดิน ผู้โต้แย้งสิทธิมิได้ แม้สร้างสิ่งปลูกสร้างโดยสุจริต
ตามประมวลกฎหมายที่ดิน มาตรา 8 วรรคแรกนั้น มีความหมายว่า บรรดาที่หลวงทั้งหลายซึ่งเป็นสาธารณสมบัติของแผ่นดินตามประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ มาตรา 1304 ก็ดี หรือที่ดินอันเป็นทรัพย์สินของแผ่นดินตามธรรมดาไม่ใช่ทรัพย์นอกพาณิชย์ และไม่ใช่ทรัพย์ที่จะถือเอาหรือโอนกันไม่ได้เหล่านี้ก็ดี ถ้าไม่มีกฎหมายพิเศษได้กำหนดไว้เป็นอย่างอื่นแล้ว ก็เป็นอำนาจหน้าที่ของอธิบดีกรมที่ดินดูแลรักษาและดำเนินการคุ้มครองป้องกัน เว้นแต่รัฐมนตรีว่าการกระทรวงมหาดไทยจะมอบหมายให้ทบวงการเมืองอื่นเป็นผู้ใช้ก็ได้
ประมวลกฎหมายที่ดิน มาตรา 8 วรรคท้าย ซึ่งบัญญัติว่า"บรรดาที่ดินดังกล่าวในวรรคแรกนั้น เมื่อมีเหตุผลอันสมควร รัฐมนตรีมีอำนาจที่จะจัดขึ้นทะเบียนเป็นของทบวงการเมืองได้......" นั้น หมายความว่าถ้ารัฐเห็นสมควรจะให้ทบวงการเมืองใดรับผิดชอบดูแลรักษาและดำเนินการคุ้มครองป้องกันเอง รัฐมนตรีว่าการกระทรวงมหาดไทยก็มีอำนาจที่จะจัดขึ้นทะเบียนเป็นของทบวงการเมืองนั้นๆ ได้
ที่ดินที่ขึ้นทะเบียนเป็นของทบวงการเมืองอื่นไว้แล้วแต่เดิมก่อนประมวลกฎหมายที่ดินใช้บังคับนั้น ไม่มีคำสั่งกำหนดว่าให้ปฏิบัติอย่างไร และในทางปฏิบัติบรรดาที่ดินราชพัสดุที่ขึ้นทะเบียนไว้ต่อกระทรวงการคลังกระทรวงการคลังก็คงใช้อำนาจปกครองอยู่เช่นเดิม ทั้งนี้เพราะถือได้ว่ารัฐมนตรีว่าการกระทรวงมหาดไทยได้จัดขึ้นทะเบียนเป็นของกระทรวงการคลังแล้วโดยอนุโลมตามความหมายแห่งประมวลกฎหมายที่ดินมาตรา 8 วรรคท้าย ซึ่งเป็นบทบัญญัติที่รับรองสิทธิของกระทรวงการคลังว่ายังคงมีอำนาจปกครองที่ดินที่ได้ขึ้นทะเบียนเป็นที่ราชพัสดุไว้แล้วต่อไปตามเดิมอำนาจของกระทรวงการคลังจึงมิได้ถูกยกเลิกเพิกถอนไปโดยประมวลกฎหมายที่ดิน มาตรา 8 วรรคแรก ที่พิพาทได้ขึ้นทะเบียนเป็นที่ราชพัสดุของกระทรวงการคลังแล้ว กระทรวงการคลังโจทก์ที่ 1 จึงมีอำนาจฟ้องได้
การเปลี่ยนชื่อกระทรวงทบวงกรมต่างๆ จะทำได้ก็โดยตราขึ้นเป็นกฎหมาย ฉะนั้นจึงเป็นข้อที่ศาลรับรู้ได้เองว่ากระทรวงพระคลังฯ นั้นคือกระทรวงการคลัง
กำแพงเมืองและคูเมืองเป็นทรัพย์สินใช้เพื่อประโยชน์ของแผ่นดินโดยเฉพาะ แม้ต่อมากำแพงจะถูกรื้อทำลายลง และคูเมืองตื้นเขินขึ้นก็ตาม แต่ทางราชการก็ได้ถือว่าเป็นที่หลวงหวงห้ามตลอดมา ไม่ยอมให้ราษฎรยึดถือเอาเป็นเจ้าของแม้จะขอเช่าก็ต้องได้รับอนุญาตก่อน ดังนี้ กำแพงเมืองและคูเมืองจึงยังคงเป็นสาธารณสมบัติของแผ่นดินเพราะเป็นที่สงวนไว้เพื่อประโยชน์ร่วมกัน
แม้นายอำเภอจะได้ทำนิติกรรมซื้อขายที่พิพาทให้จำเลย ก็ไม่ทำให้จำเลยได้สิทธิในที่พิพาท เพราะที่พิพาทเป็นสาธารณสมบัติของแผ่นดินซึ่งจะโอนแก่กันมิได้ และจะยกอายุความขึ้นต่อสู้แผ่นดินไม่ได้
การได้สิทธิจดทะเบียนภารจำยอมตามประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์มาตรา 1312 นั้น จะต้องเป็นการสร้างโรงเรือนรุกล้ำเข้าไปในที่ดินของผู้อื่นโดยสุจริต แต่ที่พิพาทเป็นสาธารณสมบัติของแผ่นดิน ไม่ใช่ทรัพย์สินของแผ่นดินธรรมดาหรือของเอกชน จะนำมาใช้บังคับในกรณีนี้หาได้ไม่ดังนั้น แม้จำเลยจะปลูกสร้างโดยสุจริตก็ตาม จำเลยก็ไม่มีสิทธิขอให้จดทะเบียนภารจำยอมได้ (ประชุมใหญ่ครั้งที่ 20/2511)
ประมวลกฎหมายที่ดิน มาตรา 8 วรรคท้าย ซึ่งบัญญัติว่า"บรรดาที่ดินดังกล่าวในวรรคแรกนั้น เมื่อมีเหตุผลอันสมควร รัฐมนตรีมีอำนาจที่จะจัดขึ้นทะเบียนเป็นของทบวงการเมืองได้......" นั้น หมายความว่าถ้ารัฐเห็นสมควรจะให้ทบวงการเมืองใดรับผิดชอบดูแลรักษาและดำเนินการคุ้มครองป้องกันเอง รัฐมนตรีว่าการกระทรวงมหาดไทยก็มีอำนาจที่จะจัดขึ้นทะเบียนเป็นของทบวงการเมืองนั้นๆ ได้
ที่ดินที่ขึ้นทะเบียนเป็นของทบวงการเมืองอื่นไว้แล้วแต่เดิมก่อนประมวลกฎหมายที่ดินใช้บังคับนั้น ไม่มีคำสั่งกำหนดว่าให้ปฏิบัติอย่างไร และในทางปฏิบัติบรรดาที่ดินราชพัสดุที่ขึ้นทะเบียนไว้ต่อกระทรวงการคลังกระทรวงการคลังก็คงใช้อำนาจปกครองอยู่เช่นเดิม ทั้งนี้เพราะถือได้ว่ารัฐมนตรีว่าการกระทรวงมหาดไทยได้จัดขึ้นทะเบียนเป็นของกระทรวงการคลังแล้วโดยอนุโลมตามความหมายแห่งประมวลกฎหมายที่ดินมาตรา 8 วรรคท้าย ซึ่งเป็นบทบัญญัติที่รับรองสิทธิของกระทรวงการคลังว่ายังคงมีอำนาจปกครองที่ดินที่ได้ขึ้นทะเบียนเป็นที่ราชพัสดุไว้แล้วต่อไปตามเดิมอำนาจของกระทรวงการคลังจึงมิได้ถูกยกเลิกเพิกถอนไปโดยประมวลกฎหมายที่ดิน มาตรา 8 วรรคแรก ที่พิพาทได้ขึ้นทะเบียนเป็นที่ราชพัสดุของกระทรวงการคลังแล้ว กระทรวงการคลังโจทก์ที่ 1 จึงมีอำนาจฟ้องได้
การเปลี่ยนชื่อกระทรวงทบวงกรมต่างๆ จะทำได้ก็โดยตราขึ้นเป็นกฎหมาย ฉะนั้นจึงเป็นข้อที่ศาลรับรู้ได้เองว่ากระทรวงพระคลังฯ นั้นคือกระทรวงการคลัง
กำแพงเมืองและคูเมืองเป็นทรัพย์สินใช้เพื่อประโยชน์ของแผ่นดินโดยเฉพาะ แม้ต่อมากำแพงจะถูกรื้อทำลายลง และคูเมืองตื้นเขินขึ้นก็ตาม แต่ทางราชการก็ได้ถือว่าเป็นที่หลวงหวงห้ามตลอดมา ไม่ยอมให้ราษฎรยึดถือเอาเป็นเจ้าของแม้จะขอเช่าก็ต้องได้รับอนุญาตก่อน ดังนี้ กำแพงเมืองและคูเมืองจึงยังคงเป็นสาธารณสมบัติของแผ่นดินเพราะเป็นที่สงวนไว้เพื่อประโยชน์ร่วมกัน
แม้นายอำเภอจะได้ทำนิติกรรมซื้อขายที่พิพาทให้จำเลย ก็ไม่ทำให้จำเลยได้สิทธิในที่พิพาท เพราะที่พิพาทเป็นสาธารณสมบัติของแผ่นดินซึ่งจะโอนแก่กันมิได้ และจะยกอายุความขึ้นต่อสู้แผ่นดินไม่ได้
การได้สิทธิจดทะเบียนภารจำยอมตามประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์มาตรา 1312 นั้น จะต้องเป็นการสร้างโรงเรือนรุกล้ำเข้าไปในที่ดินของผู้อื่นโดยสุจริต แต่ที่พิพาทเป็นสาธารณสมบัติของแผ่นดิน ไม่ใช่ทรัพย์สินของแผ่นดินธรรมดาหรือของเอกชน จะนำมาใช้บังคับในกรณีนี้หาได้ไม่ดังนั้น แม้จำเลยจะปลูกสร้างโดยสุจริตก็ตาม จำเลยก็ไม่มีสิทธิขอให้จดทะเบียนภารจำยอมได้ (ประชุมใหญ่ครั้งที่ 20/2511)
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 1159/2511
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
ที่สาธารณสมบัติของแผ่นดินมิอาจโอนได้ และจำเลยมิอาจอ้างอายุความได้
ตามประมวลกฎหมายที่ดิน มาตรา 8 วรรคแรกนั้น. มีความหมายว่า บรรดาที่หลวงทั้งหลายซึ่งเป็นสาธารณสมบัติของแผ่นดินตามประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ มาตรา 1304 ก็ดี. หรือที่ดินอันเป็นทรัพย์สินของแผ่นดินตามธรรมดาไม่ใช่ทรัพย์นอกพาณิชย์. และไม่ใช่ทรัพย์ที่จะถือเอาหรือโอนกันไม่ได้เหล่านี้ก็ดี. ถ้าไม่มีกฎหมายพิเศษได้กำหนดไว้เป็นอย่างอื่นแล้ว. ก็เป็นอำนาจหน้าที่ของอธิบดีกรมที่ดินดูแลรักษาและดำเนินการคุ้มครองป้องกัน. เว้นแต่รัฐมนตรีว่าการกระทรวงมหาดไทยจะมอบหมายให้ทบวงการเมืองอื่นเป็นผู้ใช้ก็ได้.
ประมวลกฎหมายที่ดิน มาตรา 8 วรรคท้าย ซึ่งบัญญัติว่า'บรรดาที่ดินดังกล่าวในวรรคแรกนั้น เมื่อมีเหตุผลอันสมควร รัฐมนตรีมีอำนาจที่จะจัดขึ้นทะเบียนเป็นของทบวงการเมืองได้......' นั้น. หมายความว่าถ้ารัฐเห็นสมควรจะให้ทบวงการเมืองใดรับผิดชอบดูแลรักษาและดำเนินการคุ้มครองป้องกันเอง. รัฐมนตรีว่าการกระทรวงมหาดไทยก็มีอำนาจที่จะจัดขึ้นทะเบียนเป็นของทบวงการเมืองนั้นๆ ได้.
ที่ดินที่ขึ้นทะเบียนเป็นของทบวงการเมืองอื่นไว้แล้วแต่เดิมก่อนประมวลกฎหมายที่ดินใช้บังคับนั้น. ไม่มีคำสั่งกำหนดว่าให้ปฏิบัติอย่างไร. และในทางปฏิบัติบรรดาที่ดินราชพัสดุที่ขึ้นทะเบียนไว้ต่อกระทรวงการคลัง.กระทรวงการคลังก็คงใช้อำนาจปกครองอยู่เช่นเดิม. ทั้งนี้เพราะถือได้ว่ารัฐมนตรีว่าการกระทรวงมหาดไทยได้จัดขึ้นทะเบียนเป็นของกระทรวงการคลังแล้วโดยอนุโลมตามความหมายแห่งประมวลกฎหมายที่ดินมาตรา 8 วรรคท้าย. ซึ่งเป็นบทบัญญัติที่รับรองสิทธิของกระทรวงการคลังว่ายังคงมีอำนาจปกครองที่ดินที่ได้ขึ้นทะเบียนเป็นที่ราชพัสดุไว้แล้วต่อไปตามเดิม.อำนาจของกระทรวงการคลังจึงมิได้ถูกยกเลิกเพิกถอนไปโดยประมวลกฎหมายที่ดิน มาตรา 8 วรรคแรก. ที่พิพาทได้ขึ้นทะเบียนเป็นที่ราชพัสดุของกระทรวงการคลังแล้ว.กระทรวงการคลังโจทก์ที่ 1 จึงมีอำนาจฟ้องได้.
การเปลี่ยนชื่อกระทรวงทบวงกรมต่างๆ จะทำได้ก็โดยตราขึ้นเป็นกฎหมาย. ฉะนั้นจึงเป็นข้อที่ศาลรับรู้ได้เองว่ากระทรวงพระคลังฯ นั้นคือกระทรวงการคลัง.
กำแพงเมืองและคูเมืองเป็นทรัพย์สินใช้เพื่อประโยชน์ของแผ่นดินโดยเฉพาะ. แม้ต่อมากำแพงจะถูกรื้อทำลายลง และคูเมืองตื้นเขินขึ้นก็ตาม. แต่ทางราชการก็ได้ถือว่าเป็นที่หลวงหวงห้ามตลอดมา. ไม่ยอมให้ราษฎรยึดถือเอาเป็นเจ้าของ.แม้จะขอเช่าก็ต้องได้รับอนุญาตก่อน. ดังนี้ กำแพงเมืองและคูเมืองจึงยังคงเป็นสาธารณสมบัติของแผ่นดินเพราะเป็นที่สงวนไว้เพื่อประโยชน์ร่วมกัน.
แม้นายอำเภอจะได้ทำนิติกรรมซื้อขายที่พิพาทให้จำเลย ก็ไม่ทำให้จำเลยได้สิทธิในที่พิพาท. เพราะที่พิพาทเป็นสาธารณสมบัติของแผ่นดินซึ่งจะโอนแก่กันมิได้. และจะยกอายุความขึ้นต่อสู้แผ่นดินไม่ได้.
การได้สิทธิจดทะเบียนภารจำยอมตามประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์มาตรา 1312 นั้น. จะต้องเป็นการสร้างโรงเรือนรุกล้ำเข้าไปในที่ดินของผู้อื่นโดยสุจริต. แต่ที่พิพาทเป็นสาธารณสมบัติของแผ่นดิน ไม่ใช่ทรัพย์สินของแผ่นดินธรรมดาหรือของเอกชน. จะนำมาใช้บังคับในกรณีนี้หาได้ไม่.ดังนั้น แม้จำเลยจะปลูกสร้างโดยสุจริตก็ตาม. จำเลยก็ไม่มีสิทธิขอให้จดทะเบียนภารจำยอมได้. (ประชุมใหญ่ครั้งที่ 20/2511).
ประมวลกฎหมายที่ดิน มาตรา 8 วรรคท้าย ซึ่งบัญญัติว่า'บรรดาที่ดินดังกล่าวในวรรคแรกนั้น เมื่อมีเหตุผลอันสมควร รัฐมนตรีมีอำนาจที่จะจัดขึ้นทะเบียนเป็นของทบวงการเมืองได้......' นั้น. หมายความว่าถ้ารัฐเห็นสมควรจะให้ทบวงการเมืองใดรับผิดชอบดูแลรักษาและดำเนินการคุ้มครองป้องกันเอง. รัฐมนตรีว่าการกระทรวงมหาดไทยก็มีอำนาจที่จะจัดขึ้นทะเบียนเป็นของทบวงการเมืองนั้นๆ ได้.
ที่ดินที่ขึ้นทะเบียนเป็นของทบวงการเมืองอื่นไว้แล้วแต่เดิมก่อนประมวลกฎหมายที่ดินใช้บังคับนั้น. ไม่มีคำสั่งกำหนดว่าให้ปฏิบัติอย่างไร. และในทางปฏิบัติบรรดาที่ดินราชพัสดุที่ขึ้นทะเบียนไว้ต่อกระทรวงการคลัง.กระทรวงการคลังก็คงใช้อำนาจปกครองอยู่เช่นเดิม. ทั้งนี้เพราะถือได้ว่ารัฐมนตรีว่าการกระทรวงมหาดไทยได้จัดขึ้นทะเบียนเป็นของกระทรวงการคลังแล้วโดยอนุโลมตามความหมายแห่งประมวลกฎหมายที่ดินมาตรา 8 วรรคท้าย. ซึ่งเป็นบทบัญญัติที่รับรองสิทธิของกระทรวงการคลังว่ายังคงมีอำนาจปกครองที่ดินที่ได้ขึ้นทะเบียนเป็นที่ราชพัสดุไว้แล้วต่อไปตามเดิม.อำนาจของกระทรวงการคลังจึงมิได้ถูกยกเลิกเพิกถอนไปโดยประมวลกฎหมายที่ดิน มาตรา 8 วรรคแรก. ที่พิพาทได้ขึ้นทะเบียนเป็นที่ราชพัสดุของกระทรวงการคลังแล้ว.กระทรวงการคลังโจทก์ที่ 1 จึงมีอำนาจฟ้องได้.
การเปลี่ยนชื่อกระทรวงทบวงกรมต่างๆ จะทำได้ก็โดยตราขึ้นเป็นกฎหมาย. ฉะนั้นจึงเป็นข้อที่ศาลรับรู้ได้เองว่ากระทรวงพระคลังฯ นั้นคือกระทรวงการคลัง.
กำแพงเมืองและคูเมืองเป็นทรัพย์สินใช้เพื่อประโยชน์ของแผ่นดินโดยเฉพาะ. แม้ต่อมากำแพงจะถูกรื้อทำลายลง และคูเมืองตื้นเขินขึ้นก็ตาม. แต่ทางราชการก็ได้ถือว่าเป็นที่หลวงหวงห้ามตลอดมา. ไม่ยอมให้ราษฎรยึดถือเอาเป็นเจ้าของ.แม้จะขอเช่าก็ต้องได้รับอนุญาตก่อน. ดังนี้ กำแพงเมืองและคูเมืองจึงยังคงเป็นสาธารณสมบัติของแผ่นดินเพราะเป็นที่สงวนไว้เพื่อประโยชน์ร่วมกัน.
แม้นายอำเภอจะได้ทำนิติกรรมซื้อขายที่พิพาทให้จำเลย ก็ไม่ทำให้จำเลยได้สิทธิในที่พิพาท. เพราะที่พิพาทเป็นสาธารณสมบัติของแผ่นดินซึ่งจะโอนแก่กันมิได้. และจะยกอายุความขึ้นต่อสู้แผ่นดินไม่ได้.
การได้สิทธิจดทะเบียนภารจำยอมตามประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์มาตรา 1312 นั้น. จะต้องเป็นการสร้างโรงเรือนรุกล้ำเข้าไปในที่ดินของผู้อื่นโดยสุจริต. แต่ที่พิพาทเป็นสาธารณสมบัติของแผ่นดิน ไม่ใช่ทรัพย์สินของแผ่นดินธรรมดาหรือของเอกชน. จะนำมาใช้บังคับในกรณีนี้หาได้ไม่.ดังนั้น แม้จำเลยจะปลูกสร้างโดยสุจริตก็ตาม. จำเลยก็ไม่มีสิทธิขอให้จดทะเบียนภารจำยอมได้. (ประชุมใหญ่ครั้งที่ 20/2511).
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 1154/2511 เวอร์ชัน 2 คำพิพากษาฎีกานี้ มีเนื้อหาจากเว็บทางการหลายรูปแบบ
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
แก้ไขสัญญากู้ยืมหลังพิมพ์ลายนิ้วมือ และการรับรองลายพิมพ์นิ้วมือโดยผู้เยาว์ ยังมีผลผูกพันตามกฎหมาย
ชั้นแรกจำเลยขอกู้เงิน 4,000 บาท รวมกับจำนวนที่กู้เดิม 2,000 บาท เป็น 6,000 บาท เมื่อผู้เขียนสัญญาเขียนจำนวน 6,000 บาทไปแล้ว จำเลยขอเพิ่มอีก 1,000 บาทรวมเป็น 7,000 บาท ผู้เขียนจึงแก้เลข 6 เป็นเลข 7 และแก้ตัวอักษรด้วย ดังนี้ เป็นการแก้ให้ตรงตามความประสงค์ของจำเลย ก่อนที่จำเลยจะพิมพ์ลายนิ้วมือในสัญญากู้ และคู่กรณีมีเจตนาจะให้เอกสารดังกล่าวเป็นหลักฐานแห่งการกู้ตามจำนวนที่แก้ไปแล้ว คือ 7,000 บาทฉะนั้นแม้ตัวเลขและตัวอักษรที่แก้ไปจะไม่ได้ลงชื่อกำกับ ก็ใช้เป็นหลักฐานแห่งการกู้ยืมโดยสมบูรณ์
ไม่มีกฎหมายบัญญัติว่า ผู้รับรองลายพิมพ์นิ้วมือตามประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ มาตรา 9 จะต้องเป็นผู้บรรลุนิติภาวะ
ค่าธรรมเนียมและค่าใช้จ่ายในการตรวจพิสูจน์ลายพิมพ์นิ้วมือเป็นค่าฤชาธรรมเนียม
ไม่มีกฎหมายบัญญัติว่า ผู้รับรองลายพิมพ์นิ้วมือตามประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ มาตรา 9 จะต้องเป็นผู้บรรลุนิติภาวะ
ค่าธรรมเนียมและค่าใช้จ่ายในการตรวจพิสูจน์ลายพิมพ์นิ้วมือเป็นค่าฤชาธรรมเนียม
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 1154/2511 เวอร์ชัน 3 คำพิพากษาฎีกานี้ มีเนื้อหาจากเว็บทางการหลายรูปแบบ
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
การแก้ไขสัญญากู้ยืมและผลผูกพันทางกฎหมาย แม้ไม่มีลายมือชื่อกำกับ และการรับรองลายพิมพ์นิ้วมือโดยผู้ไม่บรรลุนิติภาวะ
ขั้นแรกจำเลยขอกู้เงิน 4,000 บาท รวมกับจำนวนที่กู้เดิม 2,000 บาท เป็น 6,000 บาท เมื่อผู้เขียนสัญญาเขียนจำนวน 6,000 บาทไปแล้ว จำเลยขอเพิ่มอีก 1,000 บาทรวมเป็น 7,000 บาท ผู้เขียนจึงแก้เลข 6 เป็นเลข 7 และแก้ตัวอักษรด้วย ดังนี้ เป็นการแก้ให้ตรงตามความประสงค์ของจำเลย ก่อนที่จำเลยจะพิมพ์ลายนิ้วมือในสัญญากู้ และคู่กรณีมีเจตนาจะให้เอกสารดังกล่าวเป็นหลักฐานแห่งการกู้ตามจำนวนที่แก้ไปแล้ว คือ 7,000 บาท ฉะนั้นแม้ตัวเลขและตัวอักษรที่แก้ไปจะไม่ได้ลงชื่อกำกับ ก็ใช้เป็นหลักฐานแห่งการกู้ยืมโดยสมบูรณ์
ไม่มีกฎหมายบัญญัติว่า ผู้รับรองลายพิมพ์นิ้วมือตามประมวลกฎหมายแห่งและพาณิชย์ มาตรา 9 จะต้องเป็นผู้บรรลุนิติภาวะ
ค่าธรรมเนียมและค่าใช้จ่ายในการตรวจพิสูจน์ลายพิมพ์นิ้วมือเป็นค่าฤชาธรรมเนียม
ไม่มีกฎหมายบัญญัติว่า ผู้รับรองลายพิมพ์นิ้วมือตามประมวลกฎหมายแห่งและพาณิชย์ มาตรา 9 จะต้องเป็นผู้บรรลุนิติภาวะ
ค่าธรรมเนียมและค่าใช้จ่ายในการตรวจพิสูจน์ลายพิมพ์นิ้วมือเป็นค่าฤชาธรรมเนียม
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 1154/2511
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
การแก้ไขสัญญากู้ยืมและการรับรองลายพิมพ์นิ้วมือ โดยไม่ลงชื่อกำกับ ก็ใช้เป็นหลักฐานได้
ชั้นแรกจำเลยขอกู้เงิน 4,000 บาท รวมกับจำนวนที่กู้เดิม 2,000 บาท เป็น 6,000 บาท. เมื่อผู้เขียนสัญญาเขียนจำนวน 6,000 บาทไปแล้ว จำเลยขอเพิ่มอีก 1,000บาทรวมเป็น 7,000 บาท. ผู้เขียนจึงแก้เลข 6 เป็นเลข 7 และแก้ตัวอักษรด้วย. ดังนี้ เป็นการแก้ให้ตรงตามความประสงค์ของจำเลย ก่อนที่จำเลยจะพิมพ์ลายนิ้วมือในสัญญากู้ และคู่กรณีมีเจตนาจะให้เอกสารดังกล่าวเป็นหลักฐานแห่งการกู้ตามจำนวนที่แก้ไปแล้ว คือ 7,000 บาท. ฉะนั้นแม้ตัวเลขและตัวอักษรที่แก้ไปจะไม่ได้ลงชื่อกำกับ ก็ใช้เป็นหลักฐานแห่งการกู้ยืมโดยสมบูรณ์.
ไม่มีกฎหมายบัญญัติว่า ผู้รับรองลายพิมพ์นิ้วมือตามประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ มาตรา 9 จะต้องเป็นผู้บรรลุนิติภาวะ.
ค่าธรรมเนียมและค่าใช้จ่ายในการตรวจพิสูจน์ลายพิมพ์นิ้วมือเป็นค่าฤชาธรรมเนียม.
ไม่มีกฎหมายบัญญัติว่า ผู้รับรองลายพิมพ์นิ้วมือตามประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ มาตรา 9 จะต้องเป็นผู้บรรลุนิติภาวะ.
ค่าธรรมเนียมและค่าใช้จ่ายในการตรวจพิสูจน์ลายพิมพ์นิ้วมือเป็นค่าฤชาธรรมเนียม.