คำพิพากษาที่เกี่ยวข้องกับผู้พิพากษา
อาจิต ไชยาคำ

พบผลลัพธ์ทั้งหมด 422 รายการ

คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 738/2511 เวอร์ชัน 3 คำพิพากษาฎีกานี้ มีเนื้อหาจากเว็บทางการหลายรูปแบบ

ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้ สิทธิบังคับคดีจากการพิพากษาให้ขายทรัพย์สิน แม้คดีไม่ถึงที่สุด ย่อมมีสิทธิคุ้มครองก่อนการยึดทรัพย์
เมื่อศาลอุทธรณ์พิพากษาให้จำเลยขายที่พิพาทให้ผู้ร้อง ย่อมถือได้ว่าผู้ร้องมีสิทธิตามคำพิพากษาที่จะบังคับให้จดทะเบียนสิทธิได้ ตามประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ มาตรา1300 แม้คดีจะยังไม่ถึงที่สุดก็ตาม แต่ผู้ร้องก็มีสิทธิที่จะบังคับคดีได้แล้ว ดังนั้น ตราบใดที่ยังไม่มีการขายทอดตลาดที่พิพาท ผู้ร้องย่อมใช้สิทธิตามประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความแพ่ง มาตรา 287 ได้ (ประชุมใหญ่ ครั้งที่ 13/2511)

คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 738/2511 เวอร์ชัน 2 คำพิพากษาฎีกานี้ มีเนื้อหาจากเว็บทางการหลายรูปแบบ

ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้ สิทธิบังคับคดีจากการพิพากษาให้โอนขายทรัพย์สิน แม้คดีไม่ถึงที่สุด ย่อมมีสิทธิขัดขวางการยึดทรัพย์ได้
เมื่อศาลอุทธรณ์พิพากษาให้จำเลยขายที่พิพาทให้ผู้ร้องย่อมถือได้ว่าผู้ร้องมีสิทธิตามคำพิพากษาที่จะบังคับให้จดทะเบียนสิทธิได้ ตามประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ มาตรา1300 แม้คดีจะยังไม่ถึงที่สุดก็ตาม แต่ผู้ร้องก็มีสิทธิที่จะบังคับคดีได้แล้ว ดังนั้น ตราบใดที่ยังไม่มีการขายทอดตลาดที่พิพาทผู้ร้องย่อมใช้สิทธิตามประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความแพ่ง มาตรา 287 ได้(ประชุมใหญ่ครั้งที่ 13/2511)

คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 738/2511

ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้ สิทธิบังคับคดีก่อนคำพิพากษาถึงที่สุด: ผู้ร้องมีสิทธิบังคับจดทะเบียนสิทธิได้ แม้คดีไม่ถึงที่สุด หากยังไม่มีการขายทอดตลาด
เมื่อศาลอุทธรณ์พิพากษาให้จำเลยขายที่พิพาทให้ผู้ร้อง. ย่อมถือได้ว่าผู้ร้องมีสิทธิตามคำพิพากษาที่จะบังคับให้จดทะเบียนสิทธิได้ ตามประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ มาตรา1300. แม้คดีจะยังไม่ถึงที่สุดก็ตาม. แต่ผู้ร้องก็มีสิทธิที่จะบังคับคดีได้แล้ว. ดังนั้น ตราบใดที่ยังไม่มีการขายทอดตลาดที่พิพาท. ผู้ร้องย่อมใช้สิทธิตามประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความแพ่ง มาตรา 287 ได้.(ประชุมใหญ่ ครั้งที่ 13/2511).

คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 675/2511

ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้ สิทธิในทรัพย์มรดกและอายุความการฟ้องร้องเรียกคืนกรรมสิทธิ์ในสินสมรส
นาพิพาทเป็นสินสมรสระหว่าง ก. กับ ม.. เมื่อ ก.กับ ม. มีชีวิตอยู่ ให้โจทก์จำเลยอาศัยทำกิน. ดังนี้ เมื่อ ก. ตาย นาพิพาทส่วนที่เป็นของ ก. ย่อมเป็นมรดกตกได้แก่โจทก์ซึ่งเป็นบุตรทันที. โจทก์จึงเป็นเจ้าของกรรมสิทธิ์ในนาพิพาทตามส่วนที่ตนจะได้รับมรดกตามกฎหมาย. โดยไม่จำต้องมีการแสดงเจตนาเปลี่ยนแปลงลักษณะการยึดถือ. และภายหลังที่ ก. ตายโจทก์ยังคงทำนาพิพาทอยู่ตามเดิม จึงเป็นกรณีทายาทครอบครองทรัพย์มรดกร่วมกันตามประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ มาตรา 1748. แม้โจทก์จะฟ้องเมื่อพ้นกำหนด 1 ปี นับแต่ ก. เจ้ามรดกตาย. คดีโจทก์ก็ไม่ขาดอายุความ.
โจทก์ฟ้องเรียกเอากรรมสิทธิ์ในทรัพย์ที่เป็นของโจทก์แต่ถูกจำเลยยื้อแย่งไปเอากลับคืนมา. แม้จะต้องมีการเพิกถอนการโอนยกให้ระหว่าง ม. กับจำเลย เพราะ ม.ไม่มีสิทธิเอานาพิพาทส่วนที่เป็นของโจทก์ไปโอนให้ก็ตาม. แต่กรณีก็ไม่ใช่เรื่องเพิกถอนการฉ้อฉล.จะนำเอาอายุความ 1 ปีตามประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ มาตรา 240มาใช้บังคับไม่ได้.

คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 675/2511 เวอร์ชัน 3 คำพิพากษาฎีกานี้ มีเนื้อหาจากเว็บทางการหลายรูปแบบ

ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้ สิทธิในมรดกและกรรมสิทธิ์ในทรัพย์สินร่วม: ทายาทครอบครองทรัพย์มรดกและอายุความ
นาพิพาทเป็นสินสมรสระหว่าง ก. กับ ม.. เมื่อ ก.กับ ม. มีชีวิตอยู่ ให้โจทก์จำเลยอาศัยทำกิน ดังนี้ เมื่อ ก. ตาย นาพิพาทส่วนที่เป็นของ ก. ย่อมเป็นมรดกตกได้แก่โจทก์ซึ่งเป็นบุตรทันที โจทก์จึงเป็นเจ้าของกรรมสิทธิ์ในนาพิพาทตามส่วนที่ตนจะได้รับมรดกตามกฎหมาย โดยไม่จำต้องมีการแสดงเจตนาเปลี่ยนแปลงลักษณะการยึดถือ และภายหลังที่ ก. ตายโจทก์ยังคงทำนาพิพาทอยู่ตามเดิม จึงเป็นกรณีทายาทครอบครองทรัพย์มรดกร่วมกันตามประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ มาตรา 1748 แม้โจทก์จะฟ้องเมื่อพ้นกำหนด 1 ปี นับแต่ ก. เจ้ามรดกตาย คดีโจทก์ก็ไม่ขาดอายุความ
โจทก์ฟ้องเรียกเอากรรมสิทธิ์ในทรัพย์ที่เป็นของโจทก์แต่ถูกจำเลยยื้อแย่งไปเอากลับคืนมา แม้จะต้องมีการเพิกถอนการโอนยกให้ระหว่าง ม. กับจำเลย เพราะ ม.ไม่มีสิทธิเอานาพิพาทส่วนที่เป็นของโจทก์ไปโอนให้ก็ตาม แต่กรณีก็ไม่ใช่เรื่องเพิกถอนการฉ้อฉลจะนำเอาอายุความ 1 ปีตามประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ มาตรา 240มาใช้บังคับไม่ได้

คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 675/2511 เวอร์ชัน 2 คำพิพากษาฎีกานี้ มีเนื้อหาจากเว็บทางการหลายรูปแบบ

ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้ สิทธิในทรัพย์มรดกของทายาท: การครอบครองทรัพย์มรดกและการฟ้องเรียกคืนกรรมสิทธิ์
นาพิพาทเป็นสินสมรสระหว่าง ก. กับ ม.เมื่อ ก. กับ ม. มีชีวิตอยู่ ให้โจทก์จำเลยอาศัยทำกิน ดังนี้ เมื่อ ก. ตาย นาพิพาทส่วนที่เป็นของ ก. ย่อมเป็นมรดกตกได้แก่โจทก์ซึ่งเป็นบุตรทันที โจทก์จึงเป็นเจ้าของกรรมสิทธิ์ในนาพิพาทตามส่วนที่ตนจะได้รับมรดกตามกฎหมายโดยไม่จำต้องมีการแสดงเจตนาเปลี่ยนแปลงลักษณะการยึดถือ และภายหลังที่ ก. ตายโจทก์ยังคงทำนาพิพาทอยู่ตามเดิม จึงเป็นกรณีทายาทครอบครองทรัพย์มรดกร่วมกันตามประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ มาตรา 1748 แม้โจทก์จะฟ้องเมื่อพ้นกำหนด 1 ปี นับแต่ ก. เจ้ามรดกตายคดีโจทก์ก็ไม่ขาดอายุความ
โจทก์ฟ้องเรียกเอากรรมสิทธิ์ในทรัพย์ที่เป็นของโจทก์แต่ถูกจำเลยยื้อแย่งไปเอากลับคืนมาแม้จะต้องมีการเพิกถอนการโอนยกให้ระหว่าง ม. กับจำเลย เพราะ ม. ไม่มีสิทธิเอานาพิพาทส่วนที่เป็นของโจทก์ไปโอนให้ก็ตาม แต่กรณีก็ไม่ใช่เรื่องเพิกถอนการฉ้อฉลจะนำเอาอายุความ 1 ปีตามประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ มาตรา 240 มาใช้บังคับไม่ได้

คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 668/2511 เวอร์ชัน 2 คำพิพากษาฎีกานี้ มีเนื้อหาจากเว็บทางการหลายรูปแบบ

ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้ การยกเหตุไม่มีอำนาจฟ้องนอกเหนือจากประเด็นที่ได้ยกขึ้นต่อสู้ในศาลชั้นต้นและอุทธรณ์ ถือเป็นการไม่ถือเอาประโยชน์
โจทก์ฟ้องเรียกหนี้เงินกู้ยืมตามสัญญาจากจำเลยจำเลยมิได้ให้การต่อสู้ว่า หนี้ยังไม่ถึงกำหนดเวลาชำระตามสัญญาโจทก์ไม่มีอำนาจฟ้อง ดังนี้จำเลยจะยกปัญหาข้อนี้ขึ้นฎีกาไม่ได้เพราะจำเลยมิได้ยกเป็นข้อต่อสู้ในศาลชั้นต้นและศาลอุทธรณ์ ทั้งไม่เป็นปัญหาอันเกี่ยวด้วยความสงบเรียบร้อยของประชาชน (อ้างฎีกาที่ 1490/2498)

คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 668/2511 เวอร์ชัน 3 คำพิพากษาฎีกานี้ มีเนื้อหาจากเว็บทางการหลายรูปแบบ

ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้ การยกข้อต่อสู้ใหม่ในฎีกา – จำเลยต้องยกข้อต่อสู้ตั้งแต่ศาลชั้นต้น
โจทก์ฟ้องเรียกหนี้เงินกู้ยืมตามสัญญาจากจำเลย จำเลยมิได้ให้การต่อสู้ว่า หนี้ยังไม่ถึงกำหนดเวลาชำระตามสัญญา โจทก์ไม่มีอำนาจฟ้อง ดังนี้จำเลยจะยกปัญหาข้อนี้ขึ้นฎีกาไม่ได้ เพราะจำเลยมิได้ยกเป็นข้อต่อสู้ในศาลชั้นต้นและศาลอุทธรณ์ ทั้งไม่เป็นปัญหาอันเกี่ยวด้วยความสงบเรียบร้อยของประชาชน (อ้างฎีกาที่ 1490/2498)

คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 668/2511

ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้ การยกข้อต่อสู้ใหม่ในชั้นฎีกาต้องเคยยกเป็นข้อต่อสู้ในศาลชั้นต้นและอุทธรณ์ก่อน เว้นแต่เป็นปัญหาความสงบเรียบร้อย
โจทก์ฟ้องเรียกหนี้เงินกู้ยืมตามสัญญาจากจำเลย. จำเลยมิได้ให้การต่อสู้ว่า หนี้ยังไม่ถึงกำหนดเวลาชำระตามสัญญา. โจทก์ไม่มีอำนาจฟ้อง. ดังนี้จำเลยจะยกปัญหาข้อนี้ขึ้นฎีกาไม่ได้. เพราะจำเลยมิได้ยกเป็นข้อต่อสู้ในศาลชั้นต้นและศาลอุทธรณ์. ทั้งไม่เป็นปัญหาอันเกี่ยวด้วยความสงบเรียบร้อยของประชาชน (อ้างฎีกาที่ 1490/2498).

คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 492/2511 เวอร์ชัน 2 คำพิพากษาฎีกานี้ มีเนื้อหาจากเว็บทางการหลายรูปแบบ

ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้ สัญญาจ้างทนายแบ่งส่วนจากทรัพย์สิน: โมฆะตามกฎหมายทนายความและประมวลกฎหมายแพ่งฯ
สัญญาจ้างว่าความซึ่งมีข้อความว่า ฟ้องเรียกทรัพย์สินเป็นมูลค่าประมาณ 24 ล้านบาท ขอคิดค่าจ้างรวมเป็นเงิน 12ล้านบาทถ้าเรียกร้องได้มากกว่านี้ก็ไม่เพิ่มขึ้นนั้น แม้จะเป็นการกำหนดค่าจ้างไว้ครึ่งหนึ่งของจำนวนทุนทรัพย์ที่จะฟ้องเรียกร้องจากจำเลยก็ตามแต่ข้อความที่เขียนต่อไปว่า 'แต่ถ้าได้น้อยกว่าที่กะประมาณไว้นี้ ให้ลดลงตามส่วนจำนวนเงินที่ได้มา' ดังนี้ เป็นการแสดงอยู่ว่าถ้าศาลตัดสินให้น้อยกว่าจำนวนเงินที่ฟ้องทนายก็จะเรียกค่าจ้างเอาครึ่งหนึ่งของจำนวนทุนทรัพย์ที่ศาลตัดสินให้เสมอไป จึงเป็นการทำสัญญาเรียกค่าจ้างว่าความโดยวิธีแบ่งเอาส่วนจากทรัพย์สินที่เป็นมูลพิพาทอันจะพึงได้แก่คู่ความนั่นเอง นอกจากนี้ตามพฤติการณ์ในเรื่องก็เห็นได้ชัดว่าทนายจัดทำสัญญาตลอดจนปฏิบัติต่อสู้ความ ได้กระทำไปเกินขอบเขตแห่งความเป็นธรรมอยู่มาก สัญญาที่โจทก์นำมาฟ้องจึงเป็นการขัดต่อพระราชบัญญัติทนายความ พ.ศ.2477 มาตรา 12 อนุมาตรา 2 และขัดต่อความสงบเรียบร้อยและศีลธรรมอันดีของประชาชน สัญญาตกเป็นโมฆะตามประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ มาตรา 113 โจทก์ไม่มีสิทธิฟ้องเรียกเงินตามฟ้อง
of 43