พบผลลัพธ์ทั้งหมด 213 รายการ
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 1124/2511 เวอร์ชัน 2 คำพิพากษาฎีกานี้ มีเนื้อหาจากเว็บทางการหลายรูปแบบ
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
หนี้ไม่มีกำหนดเวลาชำระ ผู้ให้กู้มีสิทธิเรียกเก็บได้เสมอ การค้ำประกันไม่หลุดพ้นแม้มีการผ่อนเวลา
สัญญากู้ไม่มีกำหนดเวลาชำระหนี้ ผู้ให้กู้ย่อมมีสิทธิเรียกให้ผู้กู้ชำระหนี้เมื่อใดก็ได้ และการที่ผู้กู้นำพยานบุคคลมาสืบว่า การกู้รายนี้มีข้อตกลงกำหนดเวลาชำระหนี้คืน 3 เดือน ตามเช็คล่วงหน้าที่ผู้กู้ได้ออกให้ผู้ให้กู้ยึดถือไว้นั้น เป็นการนำสืบเพิ่มเติมข้อความในเอกสารสัญญากู้ต้องห้ามตามประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความแพ่งมาตรา 94
เอกสารหมาย ล.6 ที่โจทก์ผู้ให้กู้มีถึงจำเลยแจ้งกำหนดเวลาชำระหนี้ให้จำเลยทราบถือได้แต่เพียงเป็นหลักฐานที่โจทก์เรียกให้จำเลยชำระหนี้ภายในเวลาที่โจทก์กำหนดไว้เท่านั้น จะถือเป็นหลักฐานว่าโจทก์จำเลยตกลงกำหนดเวลาชำระหนี้แน่นอนแล้วหาได้ไม่
เมื่อหนี้ไม่มีกำหนดเวลาชำระหนี้ การค้ำประกันก็มิใช่การค้ำประกันหนี้อันจะต้องชำระ ณ เวลามีกำหนดแน่นอน ตามประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ มาตรา 700 แม้ผู้ให้กู้จะผ่อนเวลาให้ลูกหนี้ ผู้ค้ำประกันก็หาหลุดพ้นความรับผิดไม่
โจทก์มิได้ฟ้องเรียกร้องเอาดอกเบี้ย แต่เมื่อฟังได้ว่าการกู้มีดอกเบี้ย ผู้กู้จึงต้องชำระดอกเบี้ยอยู่ และก่อนฟ้องโจทก์ได้รับชำระหนี้จากจำเลยด้วยสิ่งของเป็นเงิน 8,725 บาท โจทก์จึงฟ้องเรียกให้จำเลยชำระเฉพาะต้นเงินกู้ ดังนี้ การที่ศาลจัดใช้เงิน 8,725 บาท ที่โจทก์ได้รับชำระหนี้ก่อนฟ้องเป็นใช้ดอกเบี้ยเสียก่อน ส่วนเหลือใช้เป็นการชำระต้นเงินกู้ตามประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ มาตรา 329 แล้วพิพากษาให้จำเลยรับผิดชำระต้นเงินกู้ที่ยังค้างให้โจทก์น้อยกว่าที่โจทก์ขอนั้น ดังนี้หาเป็นการพิพากษาเกินคำขอไม่
สัญญากู้มีข้อความว่า จำเลยยอมให้ดอกเบี้ยแก่โจทก์แต่อัตราดอกเบี้ยมิได้กำหนดลงไว้จึงต้องใช้อัตราร้อยละเจ็ดครึ่งต่อปี ตามประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ มาตรา 7
เอกสารหมาย ล.6 ที่โจทก์ผู้ให้กู้มีถึงจำเลยแจ้งกำหนดเวลาชำระหนี้ให้จำเลยทราบถือได้แต่เพียงเป็นหลักฐานที่โจทก์เรียกให้จำเลยชำระหนี้ภายในเวลาที่โจทก์กำหนดไว้เท่านั้น จะถือเป็นหลักฐานว่าโจทก์จำเลยตกลงกำหนดเวลาชำระหนี้แน่นอนแล้วหาได้ไม่
เมื่อหนี้ไม่มีกำหนดเวลาชำระหนี้ การค้ำประกันก็มิใช่การค้ำประกันหนี้อันจะต้องชำระ ณ เวลามีกำหนดแน่นอน ตามประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ มาตรา 700 แม้ผู้ให้กู้จะผ่อนเวลาให้ลูกหนี้ ผู้ค้ำประกันก็หาหลุดพ้นความรับผิดไม่
โจทก์มิได้ฟ้องเรียกร้องเอาดอกเบี้ย แต่เมื่อฟังได้ว่าการกู้มีดอกเบี้ย ผู้กู้จึงต้องชำระดอกเบี้ยอยู่ และก่อนฟ้องโจทก์ได้รับชำระหนี้จากจำเลยด้วยสิ่งของเป็นเงิน 8,725 บาท โจทก์จึงฟ้องเรียกให้จำเลยชำระเฉพาะต้นเงินกู้ ดังนี้ การที่ศาลจัดใช้เงิน 8,725 บาท ที่โจทก์ได้รับชำระหนี้ก่อนฟ้องเป็นใช้ดอกเบี้ยเสียก่อน ส่วนเหลือใช้เป็นการชำระต้นเงินกู้ตามประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ มาตรา 329 แล้วพิพากษาให้จำเลยรับผิดชำระต้นเงินกู้ที่ยังค้างให้โจทก์น้อยกว่าที่โจทก์ขอนั้น ดังนี้หาเป็นการพิพากษาเกินคำขอไม่
สัญญากู้มีข้อความว่า จำเลยยอมให้ดอกเบี้ยแก่โจทก์แต่อัตราดอกเบี้ยมิได้กำหนดลงไว้จึงต้องใช้อัตราร้อยละเจ็ดครึ่งต่อปี ตามประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ มาตรา 7
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 1085/2511
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
สัญญาประกันภัยค้ำจุน: ผู้รับประกันภัยต้องรับผิดชอบค่าเสียหายจากการละเมิดของผู้อื่น
ค่าพาหนะไปมาโรงพยาบาลเพื่อรักษาพยาบาลบาดแผลที่ถูกทำละเมิดเป็นค่าเสียหายที่เกิดโดยตรงสืบเนื่องจากการละเมิด.
โจทก์ถูกทำละเมิดแขนซ้ายพิการตลอดชีวิต. มีสิทธิเรียกร้องค่าเสียหายเพราะเหตุทุพพลภาพได้.
จำเลยที่ 2 ซึ่งเป็นผู้รับประกันภัยทำสัญญากับจำเลยที่1 ว่า. จำเลยที่ 2 ยอมใช้ค่าสินไหมทดแทนในนามของจำเลยที่ 1. เพื่อความวินาศภัยอันเกิดแก่อีกบุคคลหนึ่งและซึ่งจำเลยที่ 1 จะต้องรับผิดชอบ. มีลักษณะเป็นสัญญาประกันภัยค้ำจุน. ดังนั้นเมื่อจำเลย ที่ 1 ทำละเมิดต่อโจทก์. โจทก์ซึ่งเป็นผู้เสียหายจึงชอบที่จะได้รับค่าสินไหมทดแทนจากจำเลยที่ 2 ซึ่งเป็นผู้รับประกันภัยโดยตรงและมีอำนาจฟ้องจำเลยที่ 2 ได้.
โจทก์ถูกทำละเมิดแขนซ้ายพิการตลอดชีวิต. มีสิทธิเรียกร้องค่าเสียหายเพราะเหตุทุพพลภาพได้.
จำเลยที่ 2 ซึ่งเป็นผู้รับประกันภัยทำสัญญากับจำเลยที่1 ว่า. จำเลยที่ 2 ยอมใช้ค่าสินไหมทดแทนในนามของจำเลยที่ 1. เพื่อความวินาศภัยอันเกิดแก่อีกบุคคลหนึ่งและซึ่งจำเลยที่ 1 จะต้องรับผิดชอบ. มีลักษณะเป็นสัญญาประกันภัยค้ำจุน. ดังนั้นเมื่อจำเลย ที่ 1 ทำละเมิดต่อโจทก์. โจทก์ซึ่งเป็นผู้เสียหายจึงชอบที่จะได้รับค่าสินไหมทดแทนจากจำเลยที่ 2 ซึ่งเป็นผู้รับประกันภัยโดยตรงและมีอำนาจฟ้องจำเลยที่ 2 ได้.
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 1085/2511 เวอร์ชัน 3 คำพิพากษาฎีกานี้ มีเนื้อหาจากเว็บทางการหลายรูปแบบ
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
สัญญาประกันภัยค้ำจุน: ผู้รับประกันภัยต้องรับผิดต่อค่าเสียหายจากการละเมิดของผู้อื่นโดยตรง
ค่าพาหนะไปมาโรงพยาบาลเพื่อรักษาพยาบาลบาดแผลที่ถูกทำละเมิดเป็นค่าเสียหายที่เกิดโดยตรงสืบเนื่องจากการละเมิด
โจทก์ถูกทำละเมิดแขนซ้ายพิการตลอดชีวิต มีสิทธิเรียกร้องค่าเสียหายเพราะเหตุทุพพลภาพได้
จำเลยที่ 2 ซึ่งเป็นผู้รับประกันภัยทำสัญญากับจำเลยที่ 1 ว่า จำเลยที่ 2 ยอมใช้ค่าสินไหมทดแทนในนามของจำเลยที่ 1 เพื่อความวินาศภัยกันเกิดแก่อีกบุคคลหนึ่งและซึ่งจำเลยที่ 1 จะต้องรับผิดชอบ มีลักษณะเป็นสัญญาประกันภัยค้ำจุน ดังนั้นเมื่อจำเลยที่ 1 ทำละเมิดต่อโจทก์ โจทก์ซึ่งเป็นผู้เสียหายจึงชอบที่จะได้รับค่าสินไหมทดแทนจากจำเลยที่ 2 ซึ่งเป็นผู้รับประกันภัยโดยตรงและมีอำนาจฟ้องจำเลยที่ 2 ได้
โจทก์ถูกทำละเมิดแขนซ้ายพิการตลอดชีวิต มีสิทธิเรียกร้องค่าเสียหายเพราะเหตุทุพพลภาพได้
จำเลยที่ 2 ซึ่งเป็นผู้รับประกันภัยทำสัญญากับจำเลยที่ 1 ว่า จำเลยที่ 2 ยอมใช้ค่าสินไหมทดแทนในนามของจำเลยที่ 1 เพื่อความวินาศภัยกันเกิดแก่อีกบุคคลหนึ่งและซึ่งจำเลยที่ 1 จะต้องรับผิดชอบ มีลักษณะเป็นสัญญาประกันภัยค้ำจุน ดังนั้นเมื่อจำเลยที่ 1 ทำละเมิดต่อโจทก์ โจทก์ซึ่งเป็นผู้เสียหายจึงชอบที่จะได้รับค่าสินไหมทดแทนจากจำเลยที่ 2 ซึ่งเป็นผู้รับประกันภัยโดยตรงและมีอำนาจฟ้องจำเลยที่ 2 ได้
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 1085/2511 เวอร์ชัน 2 คำพิพากษาฎีกานี้ มีเนื้อหาจากเว็บทางการหลายรูปแบบ
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
สัญญาประกันภัยค้ำจุน: ผู้รับประกันภัยต้องรับผิดต่อผู้เสียหายโดยตรงจากละเมิดของผู้รับประกัน
ค่าพาหนะไปมาโรงพยาบาลเพื่อรักษาพยาบาลบาดแผลที่ถูกทำละเมิดเป็นค่าเสียหายที่เกิดโดยตรงสืบเนื่องจากการละเมิด
โจทก์ถูกทำละเมิดแขนซ้ายพิการตลอดชีวิต มีสิทธิเรียกร้องค่าเสียหายเพราะเหตุทุพพลภาพได้
จำเลยที่ 2 ซึ่งเป็นผู้รับประกันภัยทำสัญญากับจำเลยที่ 1 ว่า จำเลยที่ 2 ยอมใช้ค่าสินไหมทดแทนในนามของจำเลยที่ 1 เพื่อความวินาศภัยอันเกิดแก่อีกบุคคลหนึ่งและซึ่งจำเลยที่ 1 จะต้องรับผิดชอบ มีลักษณะเป็นสัญญาประกันภัยค้ำจุน ดังนั้นเมื่อจำเลย ที่ 1 ทำละเมิดต่อโจทก์ โจทก์ซึ่งเป็นผู้เสียหายจึงชอบที่จะได้รับค่าสินไหมทดแทนจากจำเลยที่ 2 ซึ่งเป็นผู้รับประกันภัยโดยตรงและมีอำนาจฟ้องจำเลยที่ 2 ได้
โจทก์ถูกทำละเมิดแขนซ้ายพิการตลอดชีวิต มีสิทธิเรียกร้องค่าเสียหายเพราะเหตุทุพพลภาพได้
จำเลยที่ 2 ซึ่งเป็นผู้รับประกันภัยทำสัญญากับจำเลยที่ 1 ว่า จำเลยที่ 2 ยอมใช้ค่าสินไหมทดแทนในนามของจำเลยที่ 1 เพื่อความวินาศภัยอันเกิดแก่อีกบุคคลหนึ่งและซึ่งจำเลยที่ 1 จะต้องรับผิดชอบ มีลักษณะเป็นสัญญาประกันภัยค้ำจุน ดังนั้นเมื่อจำเลย ที่ 1 ทำละเมิดต่อโจทก์ โจทก์ซึ่งเป็นผู้เสียหายจึงชอบที่จะได้รับค่าสินไหมทดแทนจากจำเลยที่ 2 ซึ่งเป็นผู้รับประกันภัยโดยตรงและมีอำนาจฟ้องจำเลยที่ 2 ได้
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 1074/2511 เวอร์ชัน 2 คำพิพากษาฎีกานี้ มีเนื้อหาจากเว็บทางการหลายรูปแบบ
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
การจำนองและผลกระทบต่อเจ้าหนี้เมื่อมีการโอนทรัพย์สิน การโอนทรัพย์สินที่จำนองไม่ทำให้เจ้าหนี้ไม่ได้รับชำระหนี้
จำเลยจำนองที่ดินไว้กับโจทก์ ต่อมาจำเลยนำที่ดินนั้นไปขายฝากผู้อื่นแล้วปล่อยให้ที่ดินหลุดเป็นกรรมสิทธิ์ของผู้อื่นไป การกระทำของจำเลยไม่เป็นความผิดตามประมวลกฎหมายอาญา มาตรา 350 เพราะการโอนทรัพย์ของลูกหนี้ไปให้ผู้อื่นซึ่งจะเป็นความผิดตามบทกฎหมายมาตรานี้ จะต้องเป็นการโอนไปเพื่อมิให้เจ้าหนี้ได้รับชำระหนี้ทั้งหมดหรือแต่บางส่วน แต่ที่ดินที่จำเลยโอนให้ผู้อื่นไปด้วยการขายฝากนั้นเป็นที่ดินที่จำเลยจำนองไว้กับโจทก์ การจำนองย่อมผูกพันทรัพย์สินที่จำนอง ถึงแม้จะมีการโอนไปผู้รับโอนก็ต้องรับภารจำนองไปด้วย โจทก์ในฐานะผู้รับจำนองย่อมมีสิทธิได้รับชำระหนี้จากทรัพย์สินที่จำนอง มิพักต้องพิเคราะห์ว่ากรรมสิทธิ์ในทรัพย์สินจะได้โอนไปยังผู้อื่นแล้วหรือหาไม่ตามประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ มาตรา 702วรรคสอง การโอนที่ดินที่จำนองให้แก่ผู้อื่นไม่ทำให้โจทก์ไม่ได้รับชำระหนี้จำนอง โจทก์ไม่ได้รับความเสียหายแต่ประการใด
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 1074/2511
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
การจำนองและผลกระทบต่อเจ้าหนี้เมื่อมีการโอนทรัพย์สิน – แม้โอนทรัพย์สิน เจ้าหนี้ยังรับชำระหนี้ได้
จำเลยจำนองที่ดินไว้กับโจทก์. ต่อมาจำเลยนำที่ดินนั้นไปขายฝากผู้อื่นแล้วปล่อยให้ที่ดินหลุดเป็นกรรมสิทธิ์ของผู้อื่นไป. การกระทำของจำเลยไม่เป็นความผิดตามประมวลกฎหมายอาญา มาตรา 350. เพราะการโอนทรัพย์ของลูกหนี้ไปให้ผู้อื่นซึ่งจะเป็นความผิดตามบทกฎหมายมาตรานี้. จะต้องเป็นการโอนไปเพื่อมิให้เจ้าหนี้ได้รับชำระหนี้ทั้งหมดหรือแต่บางส่วน. แต่ที่ดินที่จำเลยโอนให้ผู้อื่นไปด้วยการขายฝากนั้นเป็นที่ดินที่จำเลยจำนองไว้กับโจทก์. การจำนองย่อมผูกพันทรัพย์สินที่จำนอง. ถึงแม้จะมีการโอนไปผู้รับโอนก็ต้องรับภารจำนองไปด้วย. โจทก์ในฐานะผู้รับจำนองย่อมมีสิทธิได้รับชำระหนี้จากทรัพย์สินที่จำนอง. มิพักต้องพิเคราะห์ว่ากรรมสิทธิ์ในทรัพย์สินจะได้โอนไปยังผู้อื่นแล้วหรือหาไม่ตามประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ มาตรา 702วรรคสอง. การโอนที่ดินที่จำนองให้แก่ผู้อื่นไม่ทำให้โจทก์ไม่ได้รับชำระหนี้จำนอง. โจทก์ไม่ได้รับความเสียหายแต่ประการใด.
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 1074/2511 เวอร์ชัน 3 คำพิพากษาฎีกานี้ มีเนื้อหาจากเว็บทางการหลายรูปแบบ
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
การจำนองและผลกระทบต่อเจ้าหนี้เมื่อมีการโอนทรัพย์สิน การโอนทรัพย์จำนองไม่ทำให้เจ้าหนี้เสียสิทธิ
จำเลยจำนองที่ดินไว้กับโจทก์ ต่อมาจำเลยนำที่ดินนั้นไปขายฝากผู้อื่นแล้วปล่อยให้ที่ดินหลุดเป็นกรรมสิทธิ์ของผู้อื่นไป การกระทำของจำเลยไม่เป็นความผิดตามประมวลกฎหมายอาญา มาตรา 350 เพราะการโอนทรัพย์ของลูกหนี้ไปให้ผู้อื่นซึ่งจะเป็นความผิดตามบทกฎหมายมาตรานี้ จะต้องเป็นการโอนไปเพื่อมิให้เจ้าหนี้ได้รับชำระหนี้ทั้งหมดหรือแต่บางส่วน แต่ที่ดินที่จำเลยโอนให้ผู้อื่นไปด้วยการขายฝากนั้นเป็นที่ดินที่จำเลยจำนองไว้กับโจทก์ การจำนองย่อมผูกพันทรัพย์สินที่จำนอง ถึงแม้จะมีการโอนไปผู้รับโอนก็ต้องรับการจำนองไปด้วย โจทก์ในฐานะผู้รับจำนองย่อมมีสิทธิได้รับชำระหนี้จากทรัพย์สินที่จำนอง มิพักต้องพิเคราะห์ว่ากรรมสิทธิ์ในทรัพย์สินจะได้โอนไปยังผู้อื่นแล้วหรือหาไม่ตามประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ มาตรา 702 วรรค 2 การโอนที่ดินที่จำนองให้แก่ผู้อื่นไม่ทำให้โจทก์ไม่ได้รับชำระหนี้จำนอง โจทก์ไม่ได้รับความเสียหายแต่ประการใด
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 828-830/2511
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
รวมสำนวนคดีอาญา การลงโทษจำเลยหลายกรรม และข้อจำกัดโทษจำคุกรวมตามประมวลกฎหมายอาญา มาตรา 91
แม้โจทก์จะแยกฟ้องจำเลยเป็น 3 สำนวน. โดยขอให้นับโทษจำเลยทุกสำนวนต่อกันก็ตาม. แต่เมื่อศาลได้รวมพิจารณาคดีทั้ง 3 สำนวนเข้าด้วยกัน และปรากฏว่าจำเลยได้กระทำการอันเป็นความผิดทั้ง 3 สำนวน ก็ถือได้ว่าจำเลยได้กระทำความผิดหลายกรรมต่างกัน. ซึ่งศาลจะพิพากษาลงโทษจำเลยทุกกรรมเป็นกระทงความผิดไปตามรายสำนวนได้แต่ทั้งนี้โทษจำคุกทั้งสิ้นของจำเลยในคำพิพากษาฉบับเดียวกันนี้จะต้องไม่เกิน20 ปีตามประมวลกฎหมายอาญา มาตรา 91.(ประชุมใหญ่ ครั้งที่ 17/2511)
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 828-830/2511 เวอร์ชัน 2 คำพิพากษาฎีกานี้ มีเนื้อหาจากเว็บทางการหลายรูปแบบ
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
การรวมสำนวนคดีอาญาและการลงโทษจำเลยหลายกรรมต่างกัน โดยจำกัดโทษรวมตามกฎหมาย
แม้โจทก์จะแยกฟ้องจำเลยเป็น 3 สำนวนโดยขอให้นับโทษจำเลยทุกสำนวนต่อกันก็ตามแต่เมื่อศาลได้รวมพิจารณาคดีทั้ง 3 สำนวนเข้าด้วยกัน และปรากฏว่าจำเลยได้กระทำการอันเป็นความผิดทั้ง 3 สำนวน ก็ถือได้ว่าจำเลยได้กระทำความผิดหลายกรรมต่างกันซึ่งศาลจะพิพากษาลงโทษจำเลยทุกกรรมเป็นกระทงความผิดไปตามรายสำนวนได้แต่ทั้งนี้โทษจำคุกทั้งสิ้นของจำเลยในคำพิพากษาฉบับเดียวกันนี้จะต้องไม่เกิน 20 ปีตามประมวลกฎหมายอาญา มาตรา 91(ประชุมใหญ่ ครั้งที่ 17/2511)
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 828-830/2511 เวอร์ชัน 3 คำพิพากษาฎีกานี้ มีเนื้อหาจากเว็บทางการหลายรูปแบบ
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
การลงโทษคดีอาญาหลายกระทงที่รวมพิจารณา ศาลจำกัดโทษรวมตามกฎหมาย
แม้โจทก์จะแยกฟ้องจำเลยเป็น 3 สำนวน โดยขอให้นับโทษจำเลยทุกสำนวนต่อกันก็ตาม แต่เมื่อศาลได้รวมพิจารณาคดีทั้ง 3 สำนวนเข้าด้วยกัน และปรากฏว่าจำเลยได้กระทำการอันเป็นความผิดทั้ง 3 สำนวน ก็ถือได้ว่าจำเลยได้กระทำความผิดหลายกรรมต่างกัน ซึ่งศาลจะพิพากษาลงโทษจำเลยทุกกรรมเป็นกระทงความผิดไปตามรายสำนวนได้ แต่ทั้งนี้โทษจำคุกทั้งสิ้นของจำเลยในคำพิพากษาฉบับเดียวกันนี้จะต้องไม่เกิน 20 ปี ตามประมวลกฎหมายอาญา มาตรา 91
(ประชุมใหญ่ ครั้งที่ 17/2511)
(ประชุมใหญ่ ครั้งที่ 17/2511)