พบผลลัพธ์ทั้งหมด 428 รายการ
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 1026/2512 เวอร์ชัน 3 คำพิพากษาฎีกานี้ มีเนื้อหาจากเว็บทางการหลายรูปแบบ
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
การฟ้องคดีต่อเนื่องหลังศาลอนุญาตให้ฟ้องใหม่ ไม่ถือเป็นอายุความ
คดีแพ่งหมายเลขแดงที่ 187/2507 ของศาลชั้นต้น ศาลอุทธรณ์พิพากษาคดีถึงที่สุด แต่ศาลอุทธรณ์มิได้วินิจฉัยในประเด็นที่พิพาท และได้พิพากษาในคดีก่อนให้ยกฟ้องเสีย โดยไม่ตัดสิทธิของโจทก์มาฟ้องใหม่ ส่วนประเด็นแห่งคดีก็เป็นการฟ้องคดีเพื่อเอาคืน ซึ่งการครอบครอง ในคดีแรกยังอยู่ภายในระยะเวลาตามประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์มาตรา 1375 และมาฟ้องคดีหลังก็เนื่องจากศาลอนุญาตให้มาฟ้องใหม่ ก็ต้องถือว่าโจทก์ใช้สิทธิฟ้องร้องโดยถูกต้องมาแล้ว มาฟ้องคดีนี้ซึ่งเป็นการฟ้องต่อเนื่องกัน หลักเกณฑ์ตามประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์มาตรา 174 เอามาใช้ไม่ได้ เพราะไม่ใช่อายุความ
โจทก์ถูกแย่งการครอบครองตั้งแต่พฤษภาคม 2507 และโจทก์ฟ้องคดีเรื่องก่อนเมื่อ 7 สิงหาคม 2507 คดีถึงที่สุดโดยศาลอุทธรณ์พิพากษาคดีเรื่องก่อนเมื่อ 5 ตุลาคม 2508 ให้ยกฟ้องโจทก์ โดยไม่ตัดสิทธิของโจทก์ที่จะนำคำฟ้องมายื่นใหม่ โจทก์ฟ้องคดีนี้เมื่อ 1 พฤศจิกายน 2508 ตามคำพิพากษาของศาลอุทธรณ์ โจทก์จึงชอบที่จะฟ้องได้
(โดยมติที่ประชุมใหญ่ ครั้งที่ 12/2512)
โจทก์ถูกแย่งการครอบครองตั้งแต่พฤษภาคม 2507 และโจทก์ฟ้องคดีเรื่องก่อนเมื่อ 7 สิงหาคม 2507 คดีถึงที่สุดโดยศาลอุทธรณ์พิพากษาคดีเรื่องก่อนเมื่อ 5 ตุลาคม 2508 ให้ยกฟ้องโจทก์ โดยไม่ตัดสิทธิของโจทก์ที่จะนำคำฟ้องมายื่นใหม่ โจทก์ฟ้องคดีนี้เมื่อ 1 พฤศจิกายน 2508 ตามคำพิพากษาของศาลอุทธรณ์ โจทก์จึงชอบที่จะฟ้องได้
(โดยมติที่ประชุมใหญ่ ครั้งที่ 12/2512)
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 1026/2512 เวอร์ชัน 2 คำพิพากษาฎีกานี้ มีเนื้อหาจากเว็บทางการหลายรูปแบบ
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
การฟ้องคดีต่อเนื่องหลังศาลอนุญาตให้ฟ้องใหม่ ไม่ถือขาดอายุความ
คดีแพ่งหมายเลขแดงที่ 187/2507 ของศาลชั้นต้น ศาลอุทธรณ์พิพากษาคดีถึงที่สุด แต่ศาลอุทธรณ์มิได้วินิจฉัยในประเด็นที่พิพาท และได้พิพากษาในคดีก่อนให้ยกฟ้องเสีย โดยไม่ตัดสิทธิของโจทก์มาฟ้องใหม่ ส่วนประเด็นแห่งคดีก็เป็นการฟ้องคดีเพื่อเอาคืนซึ่งการครอบครอง ในคดีแรกยังอยู่ภายในระยะเวลาตามประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ มาตรา 1375 และมาฟ้องคดีหลังก็เนื่องจากศาลอนุญาตให้มาฟ้องใหม่ ก็ต้องถือว่าโจทก์ใช้สิทธิฟ้องร้องโดยถูกต้องมาแล้ว มาฟ้องคดีนี้ซึ่งเป็นการฟ้องต่อเนื่องกัน หลักเกณฑ์ตามประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ มาตรา 174 เอามาใช้ไม่ได้ เพราะไม่ใช่อายุความ
โจทก์ถูกแย่งการครอบครองตั้งแต่พฤษภาคม 2507 และโจทก์ฟ้องคดีเรื่องก่อนเมื่อ 7 สิงหาคม 2507 คดีถึงที่สุดโดยศาลอุทธรณ์พิพากษาคดีเรื่องก่อนเมื่อ 5 ตุลาคม 2508ให้ยกฟ้องโจทก์ โดยไม่ตัดสิทธิของโจทก์ที่จะนำคำฟ้องมายื่นใหม่ โจทก์ฟ้องคดีนี้เมื่อ 1 พฤศจิกายน 2508 ตามคำพิพากษาของศาลอุทธรณ์ โจทก์จึงชอบที่จะฟ้องได้(โดยมติที่ประชุมใหญ่ ครั้งที่ 12/2512)
โจทก์ถูกแย่งการครอบครองตั้งแต่พฤษภาคม 2507 และโจทก์ฟ้องคดีเรื่องก่อนเมื่อ 7 สิงหาคม 2507 คดีถึงที่สุดโดยศาลอุทธรณ์พิพากษาคดีเรื่องก่อนเมื่อ 5 ตุลาคม 2508ให้ยกฟ้องโจทก์ โดยไม่ตัดสิทธิของโจทก์ที่จะนำคำฟ้องมายื่นใหม่ โจทก์ฟ้องคดีนี้เมื่อ 1 พฤศจิกายน 2508 ตามคำพิพากษาของศาลอุทธรณ์ โจทก์จึงชอบที่จะฟ้องได้(โดยมติที่ประชุมใหญ่ ครั้งที่ 12/2512)
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 1026/2512
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
การฟ้องคดีต่อเนื่องหลังศาลยกฟ้องโดยไม่ตัดสิทธิ: สิทธิการฟ้องยังคงอยู่
คดีแพ่งหมายเลขแดงที่ 187/2507 ของศาลชั้นต้น ศาลอุทธรณ์พิพากษาคดีถึงที่สุด. แต่ศาลอุทธรณ์มิได้วินิจฉัยในประเด็นที่พิพาท และได้พิพากษาในคดีก่อนให้ยกฟ้องเสีย โดยไม่ตัดสิทธิของโจทก์มาฟ้องใหม่. ส่วนประเด็นแห่งคดีก็เป็นการฟ้องคดีเพื่อเอาคืนซึ่งการครอบครอง. ในคดีแรกยังอยู่ภายในระยะเวลาตามประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ มาตรา 1375.และมาฟ้องคดีหลังก็เนื่องจากศาลอนุญาตให้มาฟ้องใหม่.ก็ต้องถือว่าโจทก์ใช้สิทธิฟ้องร้องโดยถูกต้องมาแล้ว มาฟ้องคดีนี้ซึ่งเป็นการฟ้องต่อเนื่องกัน. หลักเกณฑ์ตามประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ มาตรา 174 เอามาใช้ไม่ได้.เพราะไม่ใช่อายุความ.
โจทก์ถูกแย่งการครอบครองตั้งแต่พฤษภาคม 2507. และโจทก์ฟ้องคดีเรื่องก่อนเมื่อ 7 สิงหาคม 2507. คดีถึงที่สุดโดยศาลอุทธรณ์พิพากษาคดีเรื่องก่อนเมื่อ 5 ตุลาคม 2508ให้ยกฟ้องโจทก์. โดยไม่ตัดสิทธิของโจทก์ที่จะนำคำฟ้องมายื่นใหม่. โจทก์ฟ้องคดีนี้เมื่อ 1 พฤศจิกายน 2508ตามคำพิพากษาของศาลอุทธรณ์ โจทก์จึงชอบที่จะฟ้องได้.(โดยมติที่ประชุมใหญ่ ครั้งที่ 12/2512).
โจทก์ถูกแย่งการครอบครองตั้งแต่พฤษภาคม 2507. และโจทก์ฟ้องคดีเรื่องก่อนเมื่อ 7 สิงหาคม 2507. คดีถึงที่สุดโดยศาลอุทธรณ์พิพากษาคดีเรื่องก่อนเมื่อ 5 ตุลาคม 2508ให้ยกฟ้องโจทก์. โดยไม่ตัดสิทธิของโจทก์ที่จะนำคำฟ้องมายื่นใหม่. โจทก์ฟ้องคดีนี้เมื่อ 1 พฤศจิกายน 2508ตามคำพิพากษาของศาลอุทธรณ์ โจทก์จึงชอบที่จะฟ้องได้.(โดยมติที่ประชุมใหญ่ ครั้งที่ 12/2512).
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 1008/2512
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
ความประมาทของผู้รับเหมาในการตรวจสอบฐานะผู้ว่าจ้าง ไม่ถือเป็นกลฉ้อฉล สัญญาไม่ตกเป็นโมฆียะ
ในการทำสัญญารับเหมาก่อสร้างเป็นหน้าที่ของผู้รับจ้างโดยตรงที่จะต้องระวังรักษาผลประโยชน์ของตนเอง. ฉะนั้น จึงมีหน้าที่ต้องพิจารณาด้วยตนเองว่า ผู้ว่าจ้างเป็นบุคคลมีหลักฐานสมควรที่ผู้รับจ้างเข้าทำสัญญาด้วยหรือไม่. การที่ผู้รับจ้างไม่ปฏิบัติหน้าที่ดังกล่าวย่อมเป็นความประมาทและเสี่ยงภัยของตนเอง. ฉะนั้น แม้ผู้อื่นจะแจ้งแก่ผู้รับจ้างโดยไม่เป็นความจริงว่า. ผู้ว่าจ้างเป็นคนร่ำรวยมีฐานะดีก็ยังถือไม่ได้ว่าผู้อื่นทำกลฉ้อฉลหลอกลวงโจทก์. สัญญารับเหมาก่อสร้างจึงไม่ตกเป็นโมฆียะ.
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 1008/2512 เวอร์ชัน 3 คำพิพากษาฎีกานี้ มีเนื้อหาจากเว็บทางการหลายรูปแบบ
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
ความประมาทของผู้รับจ้างในการตรวจสอบฐานะคู่สัญญา สัญญาไม่ตกเป็นโมฆียะ
ในการทำสัญญารับเหมาก่อสร้างเป็นหน้าที่ของผู้รับจ้างโดยตรงที่จะต้องระวังรักษาผลประโยชน์ของตนเอง ฉะนั้น จึงมีหน้าที่พิจารณาด้วยตนเองว่า ผู้ว่าจ้างเป็นบุคคลมีหลักฐานสมควรที่ผู้รับจ้างเข้าทำสัญญาด้วยหรือไม่ การที่ผู้รับจ้างไม่ปฏิบัติหน้าที่ดังกล่าวย่อมเป็นความประมาทและเลี่ยงภัยของตนเอง ฉะนั้น แม้ผู้อื่นจะแจ้งแก่ผู้รับจ้างโดยไม่เป็นความจริงว่า ผู้ว่าจ้างเป็นคนร่ำรวยมีฐานะดีกับยังถือไม่ได้ว่าผู้อื่นทำกลฉ้อฉลหลอกลวงโจทก์ สัญญารับเหมาก่อสร้างจึงไม่ตกเป็นโมฆียะ
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 1008/2512 เวอร์ชัน 2 คำพิพากษาฎีกานี้ มีเนื้อหาจากเว็บทางการหลายรูปแบบ
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
ความรับผิดของผู้รับเหมาในการตรวจสอบฐานะผู้ว่าจ้าง สัญญาไม่ตกเป็นโมฆียะจากกลฉ้อฉล
ในการทำสัญญารับเหมาก่อสร้างเป็นหน้าที่ของผู้รับจ้างโดยตรงที่จะต้องระวังรักษาผลประโยชน์ของตนเอง ฉะนั้น จึงมีหน้าที่ต้องพิจารณาด้วยตนเองว่า ผู้ว่าจ้างเป็นบุคคลมีหลักฐานสมควรที่ผู้รับจ้างเข้าทำสัญญาด้วยหรือไม่ การที่ผู้รับจ้างไม่ปฏิบัติหน้าที่ดังกล่าวย่อมเป็นความประมาทและเสี่ยงภัยของตนเอง ฉะนั้น แม้ผู้อื่นจะแจ้งแก่ผู้รับจ้างโดยไม่เป็นความจริงว่า ผู้ว่าจ้างเป็นคนร่ำรวยมีฐานะดีก็ยังถือไม่ได้ว่าผู้อื่นทำกลฉ้อฉลหลอกลวงโจทก์ สัญญารับเหมาก่อสร้างจึงไม่ตกเป็นโมฆียะ
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 1003/2512
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
เจตนาพยายามทำร้ายร่างกายผู้อื่นจนเป็นอันตรายถึงบาดเจ็บ การกระทำที่อาจเป็นอันตรายถึงชีวิตแต่ไม่สำเร็จ
จำเลยขับรถแซงรถผู้เสียหายขึ้นไปด้วยความเร็ว แล้วหักพวงมาลัยให้ท้ายรถจำเลยปัดหน้ารถผู้เสียหายจนรถยนต์ผู้เสียหายแฉลบไปจนเกือบตกถนนนั้น.หากถนนตรงนั้นเป็นที่สูงหรืออยู่หน้าผาสูงชันย่อมเล็งเห็นผลได้ว่า. ถ้ารถคว่ำลงไปแล้วทั้งรถและคนย่อมถึงซึ่งความพินาศ. เห็นผลได้ชัดว่าผู้เสียหายย่อมได้รับอันตรายถึงชีวิต. ดังนั้น แม้รถยนต์ผู้เสียหายจะไม่ตกถนนลงไป จำเลยก็มีความผิดฐานพยายามฆ่าผู้อื่น. และไม่จำต้องคำนึงถึงว่าคนนั่งภายในรถจะมีตัวรถป้องกันหรือไม่. แต่เมื่อข้อเท็จจริงได้ความว่าถนนตรงที่เกิดเหตุสูงจากพื้นนาประมาณ 1 แขนหรือ 1 เมตร. ขณะเกิดเหตุผู้เสียหายขับรถอยู่ในอัตราความเร็ว 50 กิโลเมตรต่อชั่วโมง. เมื่อถูกจำเลยเอาท้ายรถปาดหน้ารถผู้เสียหายๆก็แตะเบรครถหยุดทันที และเครื่องดับเอง. ล้อรถด้านซ้ายยังห่างขอบถนนอีกราว 1ศอก. ผู้เสียหายไม่ได้รับบาดเจ็บอันใด. จึงถือว่าจำเลยมีเจตนาพยายามฆ่าผู้เสียหายให้ถึงตายยังไม่ได้.เพราะถึงหากรถยนต์ผู้เสียหายจะตกลงไปโดยผู้เสียหายนั่งอยู่ภายในตัวรถก็ไม่แน่ว่าจะถึงตาย. แต่ก็พอคาดหมายได้ว่าอย่างน้อยผู้เสียหายย่อมได้รับการกระทบกระแทกเป็นอันตรายถึงบาดเจ็บ. ซึ่งจำเลยก็น่าจะเล็งเห็นผลอันจะเกิดแก่ผู้เสียหายได้ดังนี้. จำเลยจึงมีความผิดฐานพยายามทำร้ายผู้เสียหายเป็นอันตรายถึงบาดเจ็บตามประมวลกฎหมายอาญา มาตรา 295,80.
จำเลยมีความผิดตามประมวลกฎหมายอาญา มาตรา 295 ประกอบด้วยมาตรา 80 และมาตรา 358. การกระทำของจำเลยจึงเป็นกรรมเดียว แต่ผิดกฎหมายหลายบท. ตามมาตรา 90 ให้ใช้กฎหมายบทที่มีโทษหนักที่สุดลงโทษจำเลย. แต่เมื่อศาลอุทธรณ์ได้ใช้บทมาตรา 358 ฐานทำให้เสียทรัพย์ ซึ่งมีโทษหนักที่สุดลงโทษมาแล้ว.และฎีกาของโจทก์มิได้ขอให้ลงโทษจำเลยให้หนักขึ้นอีก. จึงแก้โทษจำเลยไม่ได้.
จำเลยมีความผิดตามประมวลกฎหมายอาญา มาตรา 295 ประกอบด้วยมาตรา 80 และมาตรา 358. การกระทำของจำเลยจึงเป็นกรรมเดียว แต่ผิดกฎหมายหลายบท. ตามมาตรา 90 ให้ใช้กฎหมายบทที่มีโทษหนักที่สุดลงโทษจำเลย. แต่เมื่อศาลอุทธรณ์ได้ใช้บทมาตรา 358 ฐานทำให้เสียทรัพย์ ซึ่งมีโทษหนักที่สุดลงโทษมาแล้ว.และฎีกาของโจทก์มิได้ขอให้ลงโทษจำเลยให้หนักขึ้นอีก. จึงแก้โทษจำเลยไม่ได้.
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 1003/2512 เวอร์ชัน 2 คำพิพากษาฎีกานี้ มีเนื้อหาจากเว็บทางการหลายรูปแบบ
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
เจตนาพยายามทำร้ายผู้อื่น vs. พยายามฆ่า: การประเมินอันตรายที่เกิดจากการกระทำที่เสี่ยง
จำเลยขับรถแซงรถผู้เสียหายขึ้นไปด้วยความเร็ว แล้วหักพวงมาลัยให้ท้ายรถจำเลยปัดหน้ารถผู้เสียหายจนรถยนต์ผู้เสียหายแฉลบไปจนเกือบตกถนนนั้น หากถนนตรงนั้นเป็นที่สูงหรืออยู่หน้าผาสูงชันย่อมเล็งเห็นผลได้ว่า ถ้ารถคว่ำลงไปแล้วทั้งรถและคนย่อมถึงซึ่งความพินาศ เห็นผลได้ชัดว่าผู้เสียหายย่อมได้รับอันตรายถึงชีวิต ดังนั้น แม้รถยนต์ผู้เสียหายจะไม่ตกถนนลงไป จำเลยก็มีความผิดฐานพยายามฆ่าผู้อื่น และไม่จำต้องคำนึงถึงว่าคนนั่งภายในรถจะมีตัวรถป้องกันหรือไม่ แต่เมื่อข้อเท็จจริงได้ความว่าถนนตรงที่เกิดเหตุสูงจากพื้นนาประมาณ 1 แขน หรือ 1 เมตร ขณะเกิดเหตุผู้เสียหายขับรถอยู่ในอัตราความเร็ว 50 กิโลเมตรต่อชั่วโมง เมื่อถูกจำเลยเอาท้ายรถปาดหน้ารถผู้เสียหายๆก็แตะเบรครถหยุดทันที และเครื่องดับเอง ล้อรถด้านซ้ายยังห่างขอบถนนอีกราว 1 ศอก ผู้เสียหายไม่ได้รับบาดเจ็บอันใด จึงถือว่าจำเลยมีเจตนาพยายามฆ่าผู้เสียหายให้ถึงตายยังไม่ได้ เพราะถึงหากรถยนต์ผู้เสียหายจะตกลงไปโดยผู้เสียหายนั่งอยู่ภายในตัวรถก็ไม่แน่ว่าจะถึงตาย แต่ก็พอคาดหมายได้ว่าอย่างน้อยผู้เสียหายย่อมได้รับการกระทบกระแทกเป็นอันตรายถึงบาดเจ็บซึ่งจำเลยก็น่าจะเล็งเห็นผลอันจะเกิดแก่ผู้เสียหายได้ดังนี้ จำเลยจึงมีความผิดฐานพยายามทำร้ายผู้เสียหายเป็นอันตรายถึงบาดเจ็บตามประมวลกฎหมายอาญา มาตรา 295,80
จำเลยมีความผิดตามประมวลกฎหมายอาญา มาตรา 295 ประกอบด้วยมาตรา 80 และมาตรา 358 การกระทำของจำเลยจึงเป็นกรรมเดียวแต่ผิดกฎหมายหลายบท ตามมาตรา 90 ให้ใช้กฎหมายบทที่มีโทษหนักที่สุดลงโทษจำเลย แต่เมื่อศาลอุทธรณ์ได้ใช้บทมาตรา 358 ฐานทำให้เสียทรัพย์ ซึ่งมีโทษหนักที่สุดลงโทษมาแล้ว และฎีกาของโจทก์มิได้ขอให้ลงโทษจำเลยให้หนักขึ้นอีก จึงแก้โทษจำเลยไม่ได้
จำเลยมีความผิดตามประมวลกฎหมายอาญา มาตรา 295 ประกอบด้วยมาตรา 80 และมาตรา 358 การกระทำของจำเลยจึงเป็นกรรมเดียวแต่ผิดกฎหมายหลายบท ตามมาตรา 90 ให้ใช้กฎหมายบทที่มีโทษหนักที่สุดลงโทษจำเลย แต่เมื่อศาลอุทธรณ์ได้ใช้บทมาตรา 358 ฐานทำให้เสียทรัพย์ ซึ่งมีโทษหนักที่สุดลงโทษมาแล้ว และฎีกาของโจทก์มิได้ขอให้ลงโทษจำเลยให้หนักขึ้นอีก จึงแก้โทษจำเลยไม่ได้
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 1002/2512 เวอร์ชัน 2 คำพิพากษาฎีกานี้ มีเนื้อหาจากเว็บทางการหลายรูปแบบ
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
การลงโทษฐานฆ่าและพยายามฆ่า: ศาลพิจารณาความผิดหลายกรรมต่างกันตามมาตรา 91
ประมวลกฎหมายอาญา มาตรา 91 เป็นเรื่องกระทำความผิดหลายกรรมต่างกัน ศาลจะลงโทษผู้กระทำผิดทุกกรรมเป็นกระทงความผิดไป หรือจะลงโทษเฉพาะกระทงที่หนักที่สุดก็ได้
จำเลยฆ่าผู้ตายโดยไตร่ตรองไว้ก่อน และพยายามฆ่าผู้เสียหายถือว่าจำเลยกระทำผิดหลายกรรม
จำเลยฆ่าผู้ตายโดยไตร่ตรองไว้ก่อน และพยายามฆ่าผู้เสียหายถือว่าจำเลยกระทำผิดหลายกรรม
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 1002/2512 เวอร์ชัน 3 คำพิพากษาฎีกานี้ มีเนื้อหาจากเว็บทางการหลายรูปแบบ
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
การลงโทษความผิดหลายกรรมต่างกัน: ฆ่าและพยายามฆ่า ศาลลงโทษเฉพาะกระทงหนักสุดได้ตามมาตรา 91
ประมวลกฎหมายอาญา มาตรา 91 เป็นเรื่องกระทำความผิดหลายกรรมต่างกัน ศาลจะลงโทษผู้กระทำผิดทุกกรรมเป็นกระทงความผิดไป หรือจะลงโทษเฉพาะกระทงที่หนักที่สุดก็ได้
จำเลยฆ่าผู้ตายโดยไตร่ตรองไว้ก่อน และพยายามฆ่าผู้เสียหาย ถือว่าจำเลยกระทำผิดหลายกรรม
จำเลยฆ่าผู้ตายโดยไตร่ตรองไว้ก่อน และพยายามฆ่าผู้เสียหาย ถือว่าจำเลยกระทำผิดหลายกรรม