พบผลลัพธ์ทั้งหมด 428 รายการ
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 1169/2514 เวอร์ชัน 2 คำพิพากษาฎีกานี้ มีเนื้อหาจากเว็บทางการหลายรูปแบบ
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
ผู้สลักหลังเช็คต้องรับผิดในฐานะผู้รับอาวัล แม้ไม่ทำตามแบบอาวัลทั่วไป ศาลแก้ไขดอกเบี้ยได้
ผู้ที่ลงลายมือชื่อสลักหลังเช็คที่สั่งให้ใช้เงินแก่ผู้ถือต้องผูกพันในฐานะเป็นผู้รับอาวัลสำหรับผู้สั่งจ่ายตามประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ มาตรา 921, 989 โดยไม่จำต้องปฏิบัติตามมาตรา 939 อันเป็นแบบอาวัลทั่วไป
หนี้ตามเช็คเป็นหนี้อันไม่อาจแบ่งแยกได้ ศาลชั้นต้นพิพากษาให้จำเลยที่ 1 ผู้สั่งจ่ายรับผิดใช้เงินตามเช็คพร้อมดอกเบี้ย ยกฟ้องเฉพาะจำเลยที่ 2 ผู้สลักหลัง ศาลอุทธรณ์พิพากษาแก้ให้จำเลยที่ 2 ร่วมรับผิดด้วย เมื่อจำเลยที่ 2 แต่ผู้เดียวฎีกาขึ้นมา และศาลฎีกาเห็นว่า ศาลล่างคำนวณดอกเบี้ยผิดโดยให้จำเลยใช้ดอกเบี้ยเกินไป ศาลฎีกาย่อมมีอำนาจพิพากษาแก้เรื่องดอกเบี้ยให้มีผลถึงจำเลยที่ 1 ซึ่งมิได้อุทธรณ์ฎีกาด้วยได้
หนี้ตามเช็คเป็นหนี้อันไม่อาจแบ่งแยกได้ ศาลชั้นต้นพิพากษาให้จำเลยที่ 1 ผู้สั่งจ่ายรับผิดใช้เงินตามเช็คพร้อมดอกเบี้ย ยกฟ้องเฉพาะจำเลยที่ 2 ผู้สลักหลัง ศาลอุทธรณ์พิพากษาแก้ให้จำเลยที่ 2 ร่วมรับผิดด้วย เมื่อจำเลยที่ 2 แต่ผู้เดียวฎีกาขึ้นมา และศาลฎีกาเห็นว่า ศาลล่างคำนวณดอกเบี้ยผิดโดยให้จำเลยใช้ดอกเบี้ยเกินไป ศาลฎีกาย่อมมีอำนาจพิพากษาแก้เรื่องดอกเบี้ยให้มีผลถึงจำเลยที่ 1 ซึ่งมิได้อุทธรณ์ฎีกาด้วยได้
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 1168/2514
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
กรรมสิทธิ์รวมและการรังวัดแบ่งแยกที่ดิน: สิทธิของเจ้าของรวมและการครอบครองปรปักษ์
โจทก์เป็นเจ้าของกรรมสิทธิ์ที่ดินร่วมกับผู้อื่น แม้จะปรากฏว่าเจ้าของรวมต่างแบ่งกันครอบครองก็เป็นเพียงการเข้าใช้ประโยชน์ในที่ดินเท่านั้น ยังไม่ได้กำหนดเขตที่ดินเป็นส่วนสัด ต้องบังคับตามบทบัญญัติว่าด้วยกรรมสิทธิ์รวม เมื่อโจทก์ขอรังวัดแบ่งแยกที่ดินนี้ จำเลยคัดค้านว่ารังวัดรุกล้ำแนวเขตที่ดินของจำเลย โจทก์มีอำนาจฟ้องได้
จำเลยครอบครองที่ดินที่พิพาท โดยสงบและโดยเปิดเผยด้วยเจตนาเป็นเจ้าของ ถึงวันฟ้องยังไม่ครบ 10 ปี ไม่มีทางได้กรรมสิทธิ์ที่พิพาทไม่มีสิทธิคัดค้านโจทก์ในการรังวัดแบ่งแยกที่พิพาท
จำเลยครอบครองที่ดินที่พิพาท โดยสงบและโดยเปิดเผยด้วยเจตนาเป็นเจ้าของ ถึงวันฟ้องยังไม่ครบ 10 ปี ไม่มีทางได้กรรมสิทธิ์ที่พิพาทไม่มีสิทธิคัดค้านโจทก์ในการรังวัดแบ่งแยกที่พิพาท
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 1168/2514 เวอร์ชัน 2 คำพิพากษาฎีกานี้ มีเนื้อหาจากเว็บทางการหลายรูปแบบ
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
กรรมสิทธิ์รวมและการรังวัดแบ่งแยกที่ดิน: สิทธิของเจ้าของรวมและการครอบครองโดยไม่สุจริต
โจทก์เป็นเจ้าของกรรมสิทธิ์ที่ดินร่วมกับผู้อื่น แม้จะปรากฏว่าเจ้าของรวม ต่างแบ่งกันครอบครองก็เป็นเพียงการเข้าใช้ประโยชน์ในที่ดินเท่านั้น ยังไม่ได้กำหนดเขตที่ดินเป็นส่วนสัด ต้องบังคับตามบทบัญญัติว่าด้วยกรรมสิทธิ์รวม เมื่อโจทก์ขอรังวัดแบ่งแยกที่ดินนี้ จำเลยคัดค้านว่ารังวัดรุกล้ำแนวเขตที่ดินของจำเลย โจทก์มีอำนาจฟ้องได้
จำเลยครอบครองที่ดินที่พิพาท โดยสงบและโดยเปิดเผยด้วยเจตนาเป็นเจ้าของ ถึงวันฟ้องยังไม่ครบ 10 ปี ไม่มีทางได้กรรมสิทธิ์ที่พิพาทไม่มีสิทธิคัดค้านโจทก์ในการรังวัดแบ่งแยกที่พิพาท
จำเลยครอบครองที่ดินที่พิพาท โดยสงบและโดยเปิดเผยด้วยเจตนาเป็นเจ้าของ ถึงวันฟ้องยังไม่ครบ 10 ปี ไม่มีทางได้กรรมสิทธิ์ที่พิพาทไม่มีสิทธิคัดค้านโจทก์ในการรังวัดแบ่งแยกที่พิพาท
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 1119/2514 เวอร์ชัน 2 คำพิพากษาฎีกานี้ มีเนื้อหาจากเว็บทางการหลายรูปแบบ
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
การฎีกาในปัญหาข้อเท็จจริงที่ศาลชั้นต้นสั่งรับโดยเข้าใจผิดว่าเป็นข้อกฎหมาย ศาลฎีกาแก้ไขคำพิพากษาได้
โจทก์ฟ้องขอให้บังคับจำเลยคืนสร้อยราคา 5,000 บาท ที่ยืมไปหรือให้ใช้ราคาพร้อมทั้งดอกเบี้ยนับจากวันผิดนัดถึงวันฟ้องอีก 560 บาท เป็นคดีมีทุนทรัพย์เกินกว่า 5,000 บาท จึงไม่ต้องห้ามฎีกาในปัญหาข้อเท็จจริง
จำเลยฎีกาว่า พยานหลักฐานจำเลยควรรับฟังได้ว่าจำเลยชำระหนี้ให้โจทก์เสร็จสิ้นแล้ว เป็นการเถียงว่า ควรรับฟังคำพยานอย่างไร จึงเป็นการโต้เถียงในปัญหาข้อเท็จจริง
เมื่อคำฟ้องฎีกาของจำเลยไม่ต้องห้ามฎีกาในปัญหาข้อเท็จจริงและศาลชั้นต้นก็สั่งรับฎีกามาแล้ว แม้จะใช้คำว่ารับฎีกาในปัญหาข้อกฎหมายก็ตาม ก็หาได้ผูกมัดศาลฎีกาให้จำต้องถือตามด้วยไม่ศาลฎีกาย่อมวินิจฉัยปัญหาข้อเท็จจริงในคำฟ้องฎีกาของจำเลยได้
จำเลยฎีกาว่า พยานหลักฐานจำเลยควรรับฟังได้ว่าจำเลยชำระหนี้ให้โจทก์เสร็จสิ้นแล้ว เป็นการเถียงว่า ควรรับฟังคำพยานอย่างไร จึงเป็นการโต้เถียงในปัญหาข้อเท็จจริง
เมื่อคำฟ้องฎีกาของจำเลยไม่ต้องห้ามฎีกาในปัญหาข้อเท็จจริงและศาลชั้นต้นก็สั่งรับฎีกามาแล้ว แม้จะใช้คำว่ารับฎีกาในปัญหาข้อกฎหมายก็ตาม ก็หาได้ผูกมัดศาลฎีกาให้จำต้องถือตามด้วยไม่ศาลฎีกาย่อมวินิจฉัยปัญหาข้อเท็จจริงในคำฟ้องฎีกาของจำเลยได้
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 1119/2514
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
ฎีกาที่ศาลฎีกาแก้ไขคำพิพากษาศาลชั้นต้นและศาลอุทธรณ์ได้ โดยวินิจฉัยปัญหาข้อเท็จจริงได้ แม้ศาลชั้นต้นจะสั่งรับฎีกาในปัญหาข้อกฎหมาย
โจทก์ฟ้องขอให้บังคับจำเลยคืนสร้อยราคา 5,000 บาทที่ยืมไปหรือให้ใช้ราคาพร้อมทั้งดอกเบี้ยนับจากวันผิดนัดถึงวันฟ้องอีก 560 บาทเป็นคดีมีทุนทรัพย์เกินกว่า 5,000 บาท จึงไม่ต้องห้ามฎีกาในปัญหาข้อเท็จจริง
จำเลยฎีกาว่า พยานหลักฐานจำเลยควรรับฟังได้ว่าจำเลยชำระหนี้ให้โจทก์เสร็จสิ้นแล้ว เป็นการเถียงว่า ควรรับฟังคำพยานอย่างไร จึงเป็นการโต้เถียงในปัญหาข้อเท็จจริง
เมื่อคำฟ้องฎีกาของจำเลยไม่ต้องห้ามฎีกาในปัญหาข้อเท็จจริงและศาลชั้นต้นก็สั่งรับฎีกามาแล้ว แม้จะใช้คำว่ารับฎีกาในปัญหาข้อกฎหมายก็ตาม ก็หาได้ผูกมัดศาลฎีกาให้จำต้องถือตามด้วยไม่ศาลฎีกาย่อมวินิจฉัยปัญหาข้อเท็จจริงในคำฟ้องฎีกาของจำเลยได้
จำเลยฎีกาว่า พยานหลักฐานจำเลยควรรับฟังได้ว่าจำเลยชำระหนี้ให้โจทก์เสร็จสิ้นแล้ว เป็นการเถียงว่า ควรรับฟังคำพยานอย่างไร จึงเป็นการโต้เถียงในปัญหาข้อเท็จจริง
เมื่อคำฟ้องฎีกาของจำเลยไม่ต้องห้ามฎีกาในปัญหาข้อเท็จจริงและศาลชั้นต้นก็สั่งรับฎีกามาแล้ว แม้จะใช้คำว่ารับฎีกาในปัญหาข้อกฎหมายก็ตาม ก็หาได้ผูกมัดศาลฎีกาให้จำต้องถือตามด้วยไม่ศาลฎีกาย่อมวินิจฉัยปัญหาข้อเท็จจริงในคำฟ้องฎีกาของจำเลยได้
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 1044/2514 เวอร์ชัน 2 คำพิพากษาฎีกานี้ มีเนื้อหาจากเว็บทางการหลายรูปแบบ
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
การยอมรับชำระหนี้โดยไม่สงวนสิทธิ แม้จะมีการตกลงเรื่องค่าปรับ ย่อมทำให้สิทธิเรียกร้องค่าปรับนั้นสิ้นสุดลง
ทำสัญญาประนีประนอมยอมความและศาลมีคำพิพากษาตามยอมซึ่งมีใจความว่าโจทก์ต้องสร้างตึกให้เสร็จภายในกำหนด 1 ปี และให้จำเลยเข้าอยู่ได้ภายในกำหนดนี้ด้วยถ้าจำเลยเข้าอยู่ไม่ได้ภายในกำหนดดังกล่าวนั้น โจทก์ยอมให้จำเลยปรับ ดังนี้ เมื่อข้อเท็จจริงฟังได้ว่าจำเลยได้ยอมเข้าอยู่ในตึกพิพาทแม้จะช้ากว่ากำหนดที่กล่าวไว้ อันเป็นการยอมรับชำระหนี้ โดยจำเลยมิได้บอกสงวนสิทธิที่จะเรียกเอาเบี้ยปรับ จำเลยจึงหมดสิทธิที่จะเรียกเอาค่าปรับจากโจทก์ตามประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ มาตรา 381
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 1044/2514
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
การยอมรับชำระหนี้โดยไม่สงวนสิทธิ แม้จะมีการกำหนดค่าปรับไว้ก่อนหน้า ย่อมทำให้สิทธิเรียกร้องค่าปรับนั้นสิ้นสุดลง
ทำสัญญาประนีประนอมยอมความและศาลมีคำพิพากษาตามยอมซึ่งมีใจความว่าโจทก์ต้องสร้างตึกให้เสร็จภายในกำหนด 1 ปีและให้จำเลยเข้าอยู่ได้ภายในกำหนดนี้ด้วยถ้าจำเลยเข้าอยู่ไม่ได้ภายในกำหนดดังกล่าวนั้น โจทก์ยอมให้จำเลยปรับ ดังนี้ เมื่อข้อเท็จจริงฟังได้ว่าจำเลยได้ยอมเข้าอยู่ในตึกพิพาทแม้จะช้ากว่ากำหนดที่กล่าวไว้ อันเป็นการยอมรับชำระหนี้ โดยจำเลยมิได้บอกสงวนสิทธิที่จะเรียกเอาเบี้ยปรับ จำเลยจึงหมดสิทธิที่จะเรียกเอาค่าปรับจากโจทก์ตามประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ มาตรา 381
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 1020/2514 เวอร์ชัน 2 คำพิพากษาฎีกานี้ มีเนื้อหาจากเว็บทางการหลายรูปแบบ
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
การจ่ายค่าทดแทนกรณีประสบอุบัติเหตุจากการทำงาน การไม่อุทธรณ์คำวินิจฉัยถือเป็นที่สุด และสิทธิในการฟ้องร้อง
ตามประกาศกระทรวงมหาดไทย เรื่อง หลักเกณฑ์และวิธีการจ่ายเงินทดแทนตลอดจนจำนวนเงินค่าทดแทน ข้อ 14 นั้น เมื่อคู่กรณี (นายจ้างกับลูกจ้าง) ไม่พอใจคำวินิจฉัยของอธิบดีกรมแรงงานหรือเจ้าหน้าที่ซึ่งกระทรวงมหาดไทยมอบหมาย ก็ต้องอุทธรณ์ไปตามลำดับ เมื่อเจ้าหน้าที่ได้วินิจฉัยให้นายจ้างจ่ายเงินค่าทดแทนให้ลูกจ้างแล้ว นายจ้างมิได้อุทธรณ์ ก็ต้องถือเป็นยุติตามคำวินิจฉัยของเจ้าหน้าที่นั้น จะมาโต้แย้งในชั้นศาลอีกว่าลูกจ้างผู้เป็นโจทก์นั้นไม่ใช่ลูกจ้างหรือโจทก์ประสบอุบัติเหตุเพราะความผิดของโจทก์เองหรือยกเหตุตามประกาศข้อ 15 ขึ้นอ้าง เพื่อไม่จ่ายเงินค่าทดแทนหาได้ไม่
เมื่อลูกจ้างพอใจคำวินิจฉัยของเจ้าหน้าที่ และไม่มีฝ่ายใดอุทธรณ์คำวินิจฉัยไปยังอธิบดีกรมแรงงาน เมื่อนายจ้างไม่จ่ายเงินค่าทดแทนให้ลูกจ้างตามคำวินิจฉัยนั้นลูกจ้างก็มีสิทธิฟ้องต่อศาลได้ และไม่ใช่กรณีที่อยู่ในบังคับแห่งกำหนดเวลาตามประกาศกระทรวงมหาดไทยฯ ข้อ 14 ว่าจะต้องฟ้องภายใน 30 วัน
เมื่อลูกจ้างพอใจคำวินิจฉัยของเจ้าหน้าที่ และไม่มีฝ่ายใดอุทธรณ์คำวินิจฉัยไปยังอธิบดีกรมแรงงาน เมื่อนายจ้างไม่จ่ายเงินค่าทดแทนให้ลูกจ้างตามคำวินิจฉัยนั้นลูกจ้างก็มีสิทธิฟ้องต่อศาลได้ และไม่ใช่กรณีที่อยู่ในบังคับแห่งกำหนดเวลาตามประกาศกระทรวงมหาดไทยฯ ข้อ 14 ว่าจะต้องฟ้องภายใน 30 วัน
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 1020/2514
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
การปฏิบัติตามขั้นตอนการอุทธรณ์คำวินิจฉัยของเจ้าหน้าที่ในคดีค่าทดแทนแรงงาน หากมิอุทธรณ์ ถือเป็นที่สุด
ตามประกาศกระทรวงมหาดไทย เรื่อง หลักเกณฑ์และวิธีการจ่ายเงินทดแทนตลอดจนจำนวนเงินค่าทดแทน ข้อ 14 นั้น เมื่อคู่กรณี (นายจ้างกับลูกจ้าง)ไม่พอใจคำวินิจฉัยของอธิบดีกรมแรงงานหรือเจ้าหน้าที่ซึ่งกระทรวงมหาดไทยมอบหมาย ก็ต้องอุทธรณ์ไปตามลำดับ เมื่อเจ้าหน้าที่ได้วินิจฉัยให้นายจ้างจ่ายเงินค่าทดแทนให้ลูกจ้างแล้ว นายจ้างมิได้อุทธรณ์ ก็ต้องถือเป็นยุติตามคำวินิจฉัยของเจ้าหน้าที่นั้น จะมาโต้แย้งในชั้นศาลอีกว่าลูกจ้างผู้เป็นโจทก์นั้นไม่ใช่ลูกจ้างหรือโจทก์ประสบอุบัติเหตุเพราะความผิดของโจทก์เองหรือยกเหตุตามประกาศข้อ 15 ขึ้นอ้าง เพื่อไม่จ่ายเงินค่าทดแทนหาได้ไม่
เมื่อลูกจ้างพอใจคำวินิจฉัยของเจ้าหน้าที่ และไม่มีฝ่ายใดอุทธรณ์คำวินิจฉัยไปยังอธิบดีกรมแรงงาน เมื่อนายจ้างไม่จ่ายเงินค่าทดแทนให้ลูกจ้างตามคำวินิจฉัยนั้นลูกจ้างก็มีสิทธิฟ้องต่อศาลได้ และไม่ใช่กรณีที่อยู่ในบังคับแห่งกำหนดเวลาตามประกาศกระทรวงมหาดไทยฯ ข้อ 14 ว่าจะต้องฟ้องภายใน 30 วัน
เมื่อลูกจ้างพอใจคำวินิจฉัยของเจ้าหน้าที่ และไม่มีฝ่ายใดอุทธรณ์คำวินิจฉัยไปยังอธิบดีกรมแรงงาน เมื่อนายจ้างไม่จ่ายเงินค่าทดแทนให้ลูกจ้างตามคำวินิจฉัยนั้นลูกจ้างก็มีสิทธิฟ้องต่อศาลได้ และไม่ใช่กรณีที่อยู่ในบังคับแห่งกำหนดเวลาตามประกาศกระทรวงมหาดไทยฯ ข้อ 14 ว่าจะต้องฟ้องภายใน 30 วัน
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 1019/2514 เวอร์ชัน 2 คำพิพากษาฎีกานี้ มีเนื้อหาจากเว็บทางการหลายรูปแบบ
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
การบุกรุกที่ดินหลังมีแนวเขตเดิมตามสัญญา: ไม่เป็นฟ้องซ้ำหากมีการรุกล้ำเพิ่มเติม
โจทก์จำเลยเคยพิพาทกันเกี่ยวกับที่พิพาทชั้นศาล และทำสัญญายอมความกันให้กำนันไปปักหลักเขตแล้วครั้งหนึ่ง คดีนี้โจทก์ฟ้องว่าจำเลยบุกรุกที่พิพาทนั้นอีก โดยข้อเท็จจริงปรากฏว่าจำเลยทำคันนารุกล้ำจากหลักแนวเขตที่กำนันปักไว้ตามสัญญายอมเข้ามาในที่ดินของโจทก์มากขึ้นกว่าเดิม เป็นคนละประเด็นกับคดีก่อนไม่เป็นฟ้องซ้ำ