พบผลลัพธ์ทั้งหมด 537 รายการ
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 1547/2514
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
การกล่าวหาผิดวินัยสงฆ์ต่อที่ประชุมสงฆ์โดยสุจริต ไม่ถือเป็นความผิดหมิ่นประมาท หากมีมูลเชื่อได้
การที่จำเลยซึ่งเป็นพระภิกษุแสดงตนเป็นโจทก์ขึ้นในที่ประชุมสงฆ์เมื่อมีพระภิกษุต้องหาว่าประพฤติผิดพระวินัยเป็นการปฏิบัติตามพระธรรมวินัยโดยมีมูลให้จำเลยเชื่อโดยสุจริตใจ ไม่ใช่กระทำเพื่อกลั่นแกล้งใส่ความ โดยไม่มีมูลแล้วจำเลยย่อมได้รับความคุ้มครองตามมาตรา 329(1) ประมวลกฎหมายอาญายังไม่เป็นความผิดฐานหมิ่นประมาทใส่ความ
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 1547/2514 เวอร์ชัน 2 คำพิพากษาฎีกานี้ มีเนื้อหาจากเว็บทางการหลายรูปแบบ
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
การกล่าวหาพระสงฆ์ในที่ประชุมสงฆ์โดยสุจริตเพื่อปกป้องวินัย ไม่เป็นความผิดหมิ่นประมาท
การที่จำเลยซึ่งเป็นพระภิกษุแสดงตนเป็นโจทก์ขึ้นในที่ประชุมสงฆ์เมื่อมีพระภิกษุต้องหาว่าประพฤติผิดพระวินัย เป็นการปฏิบัติตามพระธรรมวินัยโดยมีมูลให้จำเลยเชื่อโดยสุจริตใจ ไม่ใช่กระทำเพื่อกลั่นแกล้งใส่ความโดยไม่มีมูลแล้วจำเลยย่อมได้รับความคุ้มครองตามมาตรา 329(1) ประมวลกฎหมายอาญายังไม่เป็นความผิดฐานหมิ่นประมาทใส่ความ
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 1343/2514
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
สิทธิในที่ดินหลัง พ.ร.บ.ประมวลกฎหมายที่ดิน: การแจ้งสิทธิครอบครองและการซื้อขายที่ถูกต้อง
บุคคลผู้จะได้มาซึ่งที่ดินตามสัญญาจะซื้อจะขายซึ่งทำไว้ก่อนพระราชบัญญัติให้ใช้ประมวลกฎหมายที่ดินใช้บังคับ ต้องจดแจ้งสัญญานั้นไว้ต่อพนักงานเจ้าหน้าที่ภายใน 120 วัน นับแต่วันพระราชบัญญัติดังกล่าวใช้บังคับ เมื่อได้มีการซื้อขายไปตามสัญญานั้นแล้วจึงจะถือว่าผู้ซื้อมีสิทธิในที่ดินอยู่ก่อนวันที่ประมวลกฎหมายที่ดินใช้บังคับ มิฉะนั้นจะมีผลให้ที่ดินตกเป็นของรัฐ ซึ่งผู้ยึดถือครอบครองอาจมีความผิดตามประมวลกฎหมายที่ดิน เว้นแต่บุคคลนั้นจะอ้างความคุ้มครองจากสิทธิครอบครองของผู้โอนที่ดินนั้นแก่ตนในฐานะผู้รับโอน (เทียบฎีกาที่ 1748/2505)
ในกรณีผู้โอนดังกล่าวได้มาซึ่งที่ดินโดยได้รับอนุญาตให้จับจองตามพระราชบัญญัติออกโฉนดที่ดิน (ฉบับที่ 6) พ.ศ. 2479 แต่ยังมิได้รับคำรับรองว่าได้ทำประโยชน์แล้ว ก่อนวันที่พระราชบัญญัติให้ใช้ประมวลกฎหมายที่ดิน พ.ศ. 2497 ใช้บังคับนั้น ผู้โอนต้องขอคำรับรองภายใน 180 วันนับจากวันสิ้นสุดแห่งการจับจองตามพระราชบัญญัติดังกล่าว หรือหากระยะเวลาดังกล่าวได้สิ้นสุดลงก่อนวันที่ประมวลกฎหมายที่ดินใช้บังคับ ก็ให้ยื่นคำขอต่อนายอำเภอภายใน 180 วันนับแต่วันที่ประมวลกฎหมายที่ดินใช้บังคับ มิฉะนั้นจะถือว่าที่ดินนั้นเป็นอันปลอดจากการจับจองและตกเป็นของรัฐ อันมีผลให้ถือว่า ผู้นั้นเข้าครอบครองโดยมิได้รับอนุญาต ฉะนั้น การซื้อขายที่ดินพิพาทระหว่างผู้โอนกับจำเลยเมื่อปี 2501 โดยผู้โอนมิได้ปฏิบัติตามกฎหมายดังกล่าวจึงใช้ยันกันได้ระหว่างกันเท่านั้น จะใช้ยันต่อรัฐไม่ได้ เมื่อจำเลยไม่อาจอ้างความคุ้มครองจากสิทธิของผู้โอนที่พิพาทแก่ตนดังกล่าวจำเลยจึงต้องมีความผิดฐานยึดถือครอบครองที่ดินของรัฐตามประมวลกฎหมายที่ดิน มาตรา 9 (เทียบฎีกาที่ 1061/2503)
ในกรณีผู้โอนดังกล่าวได้มาซึ่งที่ดินโดยได้รับอนุญาตให้จับจองตามพระราชบัญญัติออกโฉนดที่ดิน (ฉบับที่ 6) พ.ศ. 2479 แต่ยังมิได้รับคำรับรองว่าได้ทำประโยชน์แล้ว ก่อนวันที่พระราชบัญญัติให้ใช้ประมวลกฎหมายที่ดิน พ.ศ. 2497 ใช้บังคับนั้น ผู้โอนต้องขอคำรับรองภายใน 180 วันนับจากวันสิ้นสุดแห่งการจับจองตามพระราชบัญญัติดังกล่าว หรือหากระยะเวลาดังกล่าวได้สิ้นสุดลงก่อนวันที่ประมวลกฎหมายที่ดินใช้บังคับ ก็ให้ยื่นคำขอต่อนายอำเภอภายใน 180 วันนับแต่วันที่ประมวลกฎหมายที่ดินใช้บังคับ มิฉะนั้นจะถือว่าที่ดินนั้นเป็นอันปลอดจากการจับจองและตกเป็นของรัฐ อันมีผลให้ถือว่า ผู้นั้นเข้าครอบครองโดยมิได้รับอนุญาต ฉะนั้น การซื้อขายที่ดินพิพาทระหว่างผู้โอนกับจำเลยเมื่อปี 2501 โดยผู้โอนมิได้ปฏิบัติตามกฎหมายดังกล่าวจึงใช้ยันกันได้ระหว่างกันเท่านั้น จะใช้ยันต่อรัฐไม่ได้ เมื่อจำเลยไม่อาจอ้างความคุ้มครองจากสิทธิของผู้โอนที่พิพาทแก่ตนดังกล่าวจำเลยจึงต้องมีความผิดฐานยึดถือครอบครองที่ดินของรัฐตามประมวลกฎหมายที่ดิน มาตรา 9 (เทียบฎีกาที่ 1061/2503)
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 1343/2514 เวอร์ชัน 2 คำพิพากษาฎีกานี้ มีเนื้อหาจากเว็บทางการหลายรูปแบบ
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
สิทธิในที่ดินหลังประมวลกฎหมายที่ดินใช้บังคับ: การแจ้งสิทธิครอบครองและผลกระทบต่อการซื้อขาย
บุคคลผู้จะได้มาซึ่งที่ดินตามสัญญาจะซื้อจะขายซึ่งทำไว้ก่อนพระราชบัญญัติให้ใช้ประมวลกฎหมายที่ดินใช้บังคับ ต้องจดแจ้งสัญญานั้นไว้ต่อพนักงานเจ้าหน้าที่ภายใน 120 วัน นับแต่วันพระราชบัญญัติดังกล่าวใช้บังคับ เมื่อได้มีการซื้อขายไปตามสัญญานั้นแล้วจึงจะถือว่าผู้ซื้อมีสิทธิในที่ดินอยู่ก่อนวันที่ประมวลกฎหมายที่ดินใช้บังคับ มิฉะนั้นจะมีผลให้ที่ดินตกเป็นของรัฐ ซึ่งผู้ยึดถือครอบครองอาจมีความผิดตามประมวลกฎหมายที่ดิน เว้นแต่บุคคลนั้นจะอ้างความคุ้มครองจากสิทธิครอบครองของผู้โอนที่ดินนั้นแก่ตนในฐานะผู้รับโอน (เทียบฎีกาที่ 1748/2505)
ในกรณีผู้โอนดังกล่าวได้มาซึ่งที่ดินโดยได้รับอนุญาตให้จับจองตามพระราชบัญญัติออกโฉนดที่ดิน (ฉบับที่ 6) พ.ศ. 2479 แต่ยังมิได้รับคำรับรองว่าได้ทำประโยชน์แล้ว ก่อนวันที่พระราชบัญญัติให้ใช้ประมวลกฎหมายที่ดิน พ.ศ. 2497 ใช้บังคับนั้น ผู้โอนต้องขอคำรับรองภายใน 180 วันนับจากวันสิ้นสุดแห่งการจับจองตามพระราชบัญญัติดังกล่าว หรือหากระยะเวลาดังกล่าวได้สิ้นสุดลงก่อนวันที่ประมวลกฎหมายที่ดินใช้บังคับ ก็ให้ยื่นคำขอต่อนายอำเภอภายใน 180 วันนับแต่วันที่ประมวลกฎหมายที่ดินใช้บังคับ มิฉะนั้นจะถือว่าที่ดินนั้นเป็นอันปลอดจากการจับจองและตกเป็นของรัฐ อันมีผลให้ถือว่า ผู้นั้นเข้าครอบครองโดยมิได้รับอนุญาต ฉะนั้น การซื้อขายที่ดินพิพาทระหว่างผู้โอนกับจำเลยเมื่อปี 2501 โดยผู้โอนมิได้ปฏิบัติตามกฎหมายดังกล่าวจึงใช้ยันกันได้ระหว่างกันเท่านั้น จะใช้ยันต่อรัฐไม่ได้ เมื่อจำเลยไม่อาจอ้างความคุ้มครองจากสิทธิของผู้โอนที่พิพาทแก่ตนดังกล่าวจำเลยจึงต้องมีความผิดฐานยึดถือครอบครองที่ดินของรัฐตามประมวลกฎหมายที่ดิน มาตรา 9 (เทียบฎีกาที่ 1061/2503)
ในกรณีผู้โอนดังกล่าวได้มาซึ่งที่ดินโดยได้รับอนุญาตให้จับจองตามพระราชบัญญัติออกโฉนดที่ดิน (ฉบับที่ 6) พ.ศ. 2479 แต่ยังมิได้รับคำรับรองว่าได้ทำประโยชน์แล้ว ก่อนวันที่พระราชบัญญัติให้ใช้ประมวลกฎหมายที่ดิน พ.ศ. 2497 ใช้บังคับนั้น ผู้โอนต้องขอคำรับรองภายใน 180 วันนับจากวันสิ้นสุดแห่งการจับจองตามพระราชบัญญัติดังกล่าว หรือหากระยะเวลาดังกล่าวได้สิ้นสุดลงก่อนวันที่ประมวลกฎหมายที่ดินใช้บังคับ ก็ให้ยื่นคำขอต่อนายอำเภอภายใน 180 วันนับแต่วันที่ประมวลกฎหมายที่ดินใช้บังคับ มิฉะนั้นจะถือว่าที่ดินนั้นเป็นอันปลอดจากการจับจองและตกเป็นของรัฐ อันมีผลให้ถือว่า ผู้นั้นเข้าครอบครองโดยมิได้รับอนุญาต ฉะนั้น การซื้อขายที่ดินพิพาทระหว่างผู้โอนกับจำเลยเมื่อปี 2501 โดยผู้โอนมิได้ปฏิบัติตามกฎหมายดังกล่าวจึงใช้ยันกันได้ระหว่างกันเท่านั้น จะใช้ยันต่อรัฐไม่ได้ เมื่อจำเลยไม่อาจอ้างความคุ้มครองจากสิทธิของผู้โอนที่พิพาทแก่ตนดังกล่าวจำเลยจึงต้องมีความผิดฐานยึดถือครอบครองที่ดินของรัฐตามประมวลกฎหมายที่ดิน มาตรา 9 (เทียบฎีกาที่ 1061/2503)
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 1258/2514 เวอร์ชัน 2 คำพิพากษาฎีกานี้ มีเนื้อหาจากเว็บทางการหลายรูปแบบ
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
การชี้ขาดเบื้องต้นสัญญาประนีประนอมยอมความ: ศาลสืบพยานได้หากข้อความไม่ชัดเจน
โจทก์ฟ้องเรียกให้จำเลยชำระเงินตามสัญญาประนีประนอมยอมความซึ่งจำเลยทำไว้กับโจทก์นอกศาล เนื่องจากจำเลยฟ้องบังคับจำนองเอาแก่สามีโจทก์ จำเลยให้การปฏิเสธ แล้วจำเลยยื่นคำร้องขอให้ศาลวินิจฉัยชี้ขาดปัญหาข้อกฎหมายเบื้องต้นว่าสัญญานั้นสมบูรณ์ มีผลบังคับได้ตามกฎหมายหรือไม่ ศาลชั้นต้นสั่งงดสืบพยานทั้งสองฝ่ายแล้วพิพากษาว่าเป็นสัญญาประนีประนอมยอมความ ซึ่งจำเลยต้องชำระเงินให้โจทก์ตามสัญญาเมื่อศาลอุทธรณ์เห็นว่าข้อความในสัญญายังไม่ชัดเจนพอ ยังมีข้อเท็จจริงที่ยังฟังเป็นยุติไม่ได้อยู่อีก ไม่สมควรที่ศาลชั้นต้นจะด่วนวินิจฉัยชี้ขาดข้อกฎหมายเบื้องต้น จึงย้อนสำนวนไปให้ศาลชั้นต้นดำเนินการสืบพยานโจทก์จำเลยต่อไปแล้วพิพากษาใหม่ ดังนี้ เท่ากับศาลอุทธรณ์มีคำสั่งยกเลิกคำร้องขอให้ชี้ขาดเบื้องต้นในปัญหาข้อกฎหมายเสียแล้ว เพราะยังชี้ขาดไม่ได้จำเลยจะค้านว่าจำเลยขอให้ศาลชี้ขาดสัญญาที่พิพาท ศาลก็จะต้องพิจารณาแต่เฉพาะข้อความที่ปรากฏในสัญญาเท่านั้น หาถูกต้องไม่
การนำสืบพยานเพื่ออธิบายข้อความในสัญญาประนีประนอมยอมความซึ่งยังไม่ชัดเจนพอนั้น ไม่ถือว่าเป็นการนำสืบเพิ่มเติมหรือเปลี่ยนแปลงแก้ไขเอกสาร
การนำสืบพยานเพื่ออธิบายข้อความในสัญญาประนีประนอมยอมความซึ่งยังไม่ชัดเจนพอนั้น ไม่ถือว่าเป็นการนำสืบเพิ่มเติมหรือเปลี่ยนแปลงแก้ไขเอกสาร
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 1258/2514
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
การชี้ขาดเบื้องต้นสัญญาประนีประนอม และการสืบพยานเพื่ออธิบายเอกสารสัญญา
โจทก์ฟ้องเรียกให้จำเลยชำระเงินตามสัญญาประนีประนอมยอมความซึ่งจำเลยทำไว้กับโจทก์นอกศาล เนื่องจากจำเลยฟ้องบังคับจำนองเอาแก่สามีโจทก์ จำเลยให้การปฏิเสธ แล้วจำเลยยื่นคำร้องขอให้ศาลวินิจฉัยชี้ขาดปัญหาข้อกฎหมายเบื้องต้นว่า สัญญานั้นสมบูรณ์ มีผลบังคับได้ตามกฎหมายหรือไม่ ศาลชั้นต้นสั่งงดสืบพยานทั้งสองฝ่ายแล้วพิพากษาว่าเป็นสัญญาประนีประนอมยอมความซึ่งจำเลยต้องชำระเงินให้โจทก์ตามสัญญาเมื่อศาลอุทธรณ์เห็นว่าข้อความในสัญญายังไม่ชัดเจนพอ ยังมีข้อเท็จจริงที่ยังฟังเป็นยุติไม่ได้อยู่อีก ไม่สมควรที่ศาลชั้นต้นจะด่วนวินิจฉัยชี้ขาดข้อกฎหมายเบื้องต้น จึงย้อนสำนวนไปให้ศาลชั้นต้นดำเนินการสืบพยานโจทก์จำเลยต่อไปแล้วพิพากษาใหม่ ดังนี้ เท่ากับศาลอุทธรณ์มีคำสั่งยกเลิกคำร้องขอให้ชี้ขาดเบื้องต้นในปัญหาข้อกฎหมายเสียแล้ว เพราะยังชี้ขาดไม่ได้จำเลยจะค้านว่าจำเลยขอให้ศาลชี้ขาดสัญญาที่พิพาท ศาลก็จะต้องพิจารณาแต่เฉพาะข้อความที่ปรากฏในสัญญาเท่านั้น หาถูกต้องไม่
การนำสืบพยานเพื่ออธิบายข้อความในสัญญาประนีประนอมยอมความซึ่งยังไม่ชัดเจนพอนั้น ไม่ถือว่าเป็นการนำสืบเพิ่มเติมหรือเปลี่ยนแปลงแก้ไขเอกสาร
การนำสืบพยานเพื่ออธิบายข้อความในสัญญาประนีประนอมยอมความซึ่งยังไม่ชัดเจนพอนั้น ไม่ถือว่าเป็นการนำสืบเพิ่มเติมหรือเปลี่ยนแปลงแก้ไขเอกสาร
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 1243/2514
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
ความสมบูรณ์ของพินัยกรรมเอกสารฝ่ายเมือง และการแบ่งสินสมรสตามกฎหมาย
ประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ มาตรา 1658(2) มิได้บัญญัติว่ากรมการอำเภอต้องจดข้อความในพินัยกรรมด้วยตนเอง ปลัดอำเภอผู้ทำหน้าที่กรมการอำเภอตามมาตรานี้ย่อมใช้ให้คนอื่นจดแทนได้ ส่วนอนุมาตรา 4 ของมาตรานี้ที่ว่าให้กรมการอำเภอจดลงไว้ด้วยตนเองเป็นสำคัญว่าพินัยกรรมนั้นได้ทำขึ้นถูกต้องตามบทบัญญัติอนุมาตรา 1 ถึง 3 นั้นเมื่อพินัยกรรมมีข้อความดังกล่าวเป็นตัวอักษรแบบพิมพ์ และปลัดอำเภอก็ได้ลงลายมือชื่อและประทับตราตำแหน่งไว้เป็นสำคัญท้ายข้อความนี้ย่อมถือได้ว่าเป็นข้อความที่ปลัดอำเภอจดลงไว้ด้วยตนเอง
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 1243/2514 เวอร์ชัน 2 คำพิพากษาฎีกานี้ มีเนื้อหาจากเว็บทางการหลายรูปแบบ
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
พินัยกรรมสมบูรณ์ แม้ปลัดอำเภอไม่ได้เขียนเอง และการแบ่งสินสมรสตามกฎหมาย
ประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ มาตรา 1658(2) มิได้บัญญัติว่ากรมการอำเภอต้องจดข้อความในพินัยกรรมด้วยตนเอง ปลัดอำเภอผู้ทำหน้าที่กรมการอำเภอตามมาตรานี้ย่อมใช้ให้คนอื่นจดแทนได้ ส่วนอนุมาตรา 4 ของมาตรานี้ที่ว่าให้กรมการอำเภอจดลงไว้ด้วยตนเองเป็นสำคัญว่าพินัยกรรมนั้นได้ทำขึ้นถูกต้องตามบทบัญญัติอนุมาตรา 1 ถึง 3 นั้น เมื่อพินัยกรรมมีข้อความดังกล่าวเป็นตัวอักษรแบบพิมพ์ และปลัดอำเภอก็ได้ลงลายมือชื่อและประทับตราตำแหน่งไว้เป็นสำคัญท้ายข้อความนี้ย่อมถือได้ว่าเป็นข้อความที่ปลัดอำเภอจดลงไว้ด้วยตนเอง
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 1173/2514
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
การเฉลี่ยทรัพย์ต้องแสดงความยากลำบากในการชำระหนี้จากทรัพย์สินอื่น และการใช้สิทธิโดยไม่สุจริต
เจ้าหนี้ตามคำพิพากษาผู้ยื่นคำขอต่อศาลเพื่อขออนุญาตเข้าเฉลี่ยในทรัพย์สินหรือเงินที่ขายหรือจำหน่ายทรัพย์สินของลูกหนี้ที่ถูกยึดในคดีอื่น มีหน้าที่ต้องนำสืบให้ศาลเห็นว่า ตนไม่สามารถเอาชำระหนี้ได้จากทรัพย์สินอื่น ๆ ของลูกหนี้ตามคำพิพากษานั้น
พฤติการณ์ที่ถือได้ว่าผู้ยื่นคำขอเฉลี่ยไม่สุจริต
พฤติการณ์ที่ถือได้ว่าผู้ยื่นคำขอเฉลี่ยไม่สุจริต
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 1173/2514 เวอร์ชัน 2 คำพิพากษาฎีกานี้ มีเนื้อหาจากเว็บทางการหลายรูปแบบ
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
การขอเฉลี่ยทรัพย์ต้องแสดงความยากลำบากในการชำระหนี้จากทรัพย์สินอื่น และการใช้สิทธิโดยไม่สุจริต
เจ้าหนี้ตามคำพิพากษาผู้ยื่นคำขอต่อศาลเพื่อขออนุญาตเข้าเฉลี่ยในทรัพย์สินหรือเงินที่ขายหรือจำหน่ายทรัพย์สินของลูกหนี้ที่ถูกยึดในคดีอื่น มีหน้าที่ต้องนำสืบให้ศาลเห็นว่า ตนไม่สามารถเอาชำระหนี้ได้จากทรัพย์สินอื่น ๆ ของลูกหนี้ตามคำพิพากษานั้น
พฤติการณ์ที่ถือได้ว่าผู้ยื่นคำขอเฉลี่ยไม่สุจริต
พฤติการณ์ที่ถือได้ว่าผู้ยื่นคำขอเฉลี่ยไม่สุจริต