พบผลลัพธ์ทั้งหมด 537 รายการ
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 1674/2516 เวอร์ชัน 2 คำพิพากษาฎีกานี้ มีเนื้อหาจากเว็บทางการหลายรูปแบบ
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
อำนาจฟ้องของผู้จัดการมรดกในการเรียกร้องทรัพย์สินตามพินัยกรรม และการโอนกรรมสิทธิ์ที่พิพาท
โจทก์ฎีกาว่า ปัญหาอำนาจฟ้องยุติ คงมีปัญหาเพียงว่าที่พิพาทเป็นของผู้ตายใส่ชื่อจำเลยไว้แทนหรือเป็นของจำเลยจำเลยแก้ฎีกาว่า ในชั้นอุทธรณ์จำเลยได้แก้อุทธรณ์โต้แย้งอำนาจฟ้องของโจทก์ไว้ และขอถือว่ามีประเด็นข้อนี้ในชั้นฎีกาด้วย ซึ่งถูกต้องตามคำแก้ฎีกา แต่ศาลอุทธรณ์มิได้วินิจฉัยอำนาจฟ้องของโจทก์ซึ่งมีประเด็นในชั้นอุทธรณ์ด้วย ศาลฎีกาจึงวินิจฉัยประเด็นอำนาจฟ้องของโจทก์ให้
โจทก์ทั้งสองฟ้องคดีในฐานะผู้จัดการมรดกตามพินัยกรรมเรียกร้องให้จำเลยคืนที่พิพาทเพื่อจัดการให้เป็นไปตามพินัยกรรมของผู้ตาย ช. ผู้จัดการมรดกร่วมอีกคนหนึ่งไม่ได้เป็นโจทก์ฟ้องด้วยเพราะ ช. เป็นภริยาจำเลย เป็นผู้รับโอนที่พิพาทแทนจำเลยและเป็นพยานจำเลยด้วย แสดงชัดว่า ช. ไม่ต้องการฟ้องจำเลย ดังนี้โจทก์ทั้งสองย่อมมีอำนาจฟ้องจำเลยได้ ตามประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์มาตรา1715 วรรค 2 และเป็นอำนาจของผู้จัดการมรดกที่จะฟ้องได้ในระหว่างจัดการมรดกตามประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์มาตรา 1719, 1736
โจทก์ทั้งสองฟ้องคดีในฐานะผู้จัดการมรดกตามพินัยกรรมเรียกร้องให้จำเลยคืนที่พิพาทเพื่อจัดการให้เป็นไปตามพินัยกรรมของผู้ตาย ช. ผู้จัดการมรดกร่วมอีกคนหนึ่งไม่ได้เป็นโจทก์ฟ้องด้วยเพราะ ช. เป็นภริยาจำเลย เป็นผู้รับโอนที่พิพาทแทนจำเลยและเป็นพยานจำเลยด้วย แสดงชัดว่า ช. ไม่ต้องการฟ้องจำเลย ดังนี้โจทก์ทั้งสองย่อมมีอำนาจฟ้องจำเลยได้ ตามประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์มาตรา1715 วรรค 2 และเป็นอำนาจของผู้จัดการมรดกที่จะฟ้องได้ในระหว่างจัดการมรดกตามประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์มาตรา 1719, 1736
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 1674/2516
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
อำนาจฟ้องของผู้จัดการมรดกและการโอนกรรมสิทธิ์ที่พิพาทตามพินัยกรรม
โจทก์ฎีกาว่า ปัญหาอำนาจฟ้องยุติ คงมีปัญหาเพียงว่าที่พิพาทเป็นของผู้ตายใส่ชื่อจำเลยไว้แทนหรือเป็นของจำเลยจำเลยแก้ฎีกาว่า ในชั้นอุทธรณ์จำเลยได้แก้อุทธรณ์โต้แย้งอำนาจฟ้องของโจทก์ไว้ และขอถือว่ามีประเด็นข้อนี้ในชั้นฎีกาด้วย ซึ่งถูกต้องตามคำแก้ฎีกา แต่ศาลอุทธรณ์มิได้วินิจฉัยอำนาจฟ้องของโจทก์ ซึ่งมีประเด็นในชั้นอุทธรณ์ด้วย ศาลฎีกาจึงวินิจฉัยประเด็นอำนาจฟ้องของโจทก์ให้
โจทก์ทั้งสองฟ้องคดีในฐานะผู้จัดการมรดกตามพินัยกรรมเรียกร้องให้จำเลยคืนที่พิพาทเพื่อจัดการให้เป็นไปตามพินัยกรรมของผู้ตาย ช. ผู้จัดการมรดกร่วมอีกคนหนึ่งไม่ได้เป็นโจทก์ฟ้องด้วย เพราะ ช. เป็นภริยาจำเลย เป็นผู้รับโอนที่พิพาทแทนจำเลยและเป็นพยานจำเลยด้วย แสดงชัดว่า ช. ไม่ต้องการฟ้องจำเลย ดังนี้ โจทก์ทั้งสองย่อมมีอำนาจฟ้องจำเลยได้ ตามประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ มาตรา1715 วรรคสอง และเป็นอำนาจของผู้จัดการมรดกที่จะฟ้องได้ในระหว่างจัดการมรดกตามประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ มาตรา 1719, 1736
โจทก์ทั้งสองฟ้องคดีในฐานะผู้จัดการมรดกตามพินัยกรรมเรียกร้องให้จำเลยคืนที่พิพาทเพื่อจัดการให้เป็นไปตามพินัยกรรมของผู้ตาย ช. ผู้จัดการมรดกร่วมอีกคนหนึ่งไม่ได้เป็นโจทก์ฟ้องด้วย เพราะ ช. เป็นภริยาจำเลย เป็นผู้รับโอนที่พิพาทแทนจำเลยและเป็นพยานจำเลยด้วย แสดงชัดว่า ช. ไม่ต้องการฟ้องจำเลย ดังนี้ โจทก์ทั้งสองย่อมมีอำนาจฟ้องจำเลยได้ ตามประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ มาตรา1715 วรรคสอง และเป็นอำนาจของผู้จัดการมรดกที่จะฟ้องได้ในระหว่างจัดการมรดกตามประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ มาตรา 1719, 1736
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 1366/2516 เวอร์ชัน 2 คำพิพากษาฎีกานี้ มีเนื้อหาจากเว็บทางการหลายรูปแบบ
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
สิทธิเช่าซื้อระบุทายาท: สิทธิตกเป็นของทายาทตามสัญญา ไม่ใช่กองมรดก
สัญญาเช่าซื้อก็คือสัญญาเช่าทรัพย์บวกด้วยคำมั่นจะขายทรัพย์สินนั้นสัญญาเช่าเป็นสิทธิเฉพาะตัวผู้เช่า คำมั่นจะขายทรัพย์สินที่ให้เช่าเป็นสิทธิในทรัพย์สินซึ่งอาจตกเป็นมรดกของคู่สัญญาที่ถึงแก่กรรมได้
คู่สัญญาทำสัญญาเช่าซื้อโดยมีข้อสัญญาระบุว่า ให้ผู้เช่าซื้อระบุตัวทายาทผู้รับสิทธิในการเช่าซื้อแทนได้เมื่อผู้เช่าซื้อถึงแก่กรรมและผู้เช่าซื้อได้ระบุตัวทายาทผู้รับสิทธิในการเช่าซื้อไว้แล้วข้อสัญญาดังกล่าวนี้เป็นข้อสัญญาเพื่อประโยชน์บุคคลภายนอกตามประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ มาตรา 374 ฉะนั้นเมื่อผู้เช่าซื้อถึงแก่กรรม และทายาทผู้รับสิทธิดังกล่าวได้แสดงเจตนาเข้าถือเอาประโยชน์จากสัญญานี้ต่อผู้ให้เช่าซื้อตามมาตรา 374 วรรค 2 แล้วสิทธิในการเช่าซื้อจึงตกเป็นของทายาทผู้รับสิทธิดังกล่าวโดยชอบด้วยกฎหมายไม่ตกเป็นมรดกของผู้ตายต่อไป
คู่สัญญาทำสัญญาเช่าซื้อโดยมีข้อสัญญาระบุว่า ให้ผู้เช่าซื้อระบุตัวทายาทผู้รับสิทธิในการเช่าซื้อแทนได้เมื่อผู้เช่าซื้อถึงแก่กรรมและผู้เช่าซื้อได้ระบุตัวทายาทผู้รับสิทธิในการเช่าซื้อไว้แล้วข้อสัญญาดังกล่าวนี้เป็นข้อสัญญาเพื่อประโยชน์บุคคลภายนอกตามประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ มาตรา 374 ฉะนั้นเมื่อผู้เช่าซื้อถึงแก่กรรม และทายาทผู้รับสิทธิดังกล่าวได้แสดงเจตนาเข้าถือเอาประโยชน์จากสัญญานี้ต่อผู้ให้เช่าซื้อตามมาตรา 374 วรรค 2 แล้วสิทธิในการเช่าซื้อจึงตกเป็นของทายาทผู้รับสิทธิดังกล่าวโดยชอบด้วยกฎหมายไม่ตกเป็นมรดกของผู้ตายต่อไป
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 1366/2516
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
สิทธิเช่าซื้อระบุทายาท: สิทธิตกเป็นของทายาทตามสัญญา ไม่ใช่กองมรดก
สัญญาเช่าซื้อก็คือสัญญาเช่าทรัพย์บวกด้วยคำมั่นจะขายทรัพย์สินนั้น สัญญาเช่าเป็นสิทธิเฉพาะตัวผู้เช่า คำมั่นจะขายทรัพย์สินที่ให้เช่าเป็นสิทธิในทรัพย์สินซึ่งอาจตกเป็นมรดกของคู่สัญญาที่ถึงแก่กรรมได้
คู่สัญญาทำสัญญาเช่าซื้อโดยมีข้อสัญญาระบุว่า ให้ผู้เช่าซื้อระบุตัวทายาทผู้รับสิทธิในการเช่าซื้อแทนได้เมื่อผู้เช่าซื้อถึงแก่กรรม และผู้เช่าซื้อได้ระบุตัวทายาทผู้รับสิทธิในการเช่าซื้อไว้แล้ว ข้อสัญญาดังกล่าวนี้เป็นข้อสัญญาเพื่อประโยชน์บุคคลภายนอกตามประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ มาตรา 374 ฉะนั้น เมื่อผู้เช่าซื้อถึงแก่กรรม และทายาทผู้รับสิทธิดังกล่าวได้แสดงเจตนาเข้าถือเอาประโยชน์จากสัญญานี้ต่อผู้ให้เช่าซื้อตามมาตรา 374 วรรค 2 แล้วสิทธิในการเช่าซื้อจึงตกเป็นของทายาทผู้รับสิทธิดังกล่าวโดยชอบด้วยกฎหมาย ไม่ตกเป็นมรดกของผู้ตายต่อไป
คู่สัญญาทำสัญญาเช่าซื้อโดยมีข้อสัญญาระบุว่า ให้ผู้เช่าซื้อระบุตัวทายาทผู้รับสิทธิในการเช่าซื้อแทนได้เมื่อผู้เช่าซื้อถึงแก่กรรม และผู้เช่าซื้อได้ระบุตัวทายาทผู้รับสิทธิในการเช่าซื้อไว้แล้ว ข้อสัญญาดังกล่าวนี้เป็นข้อสัญญาเพื่อประโยชน์บุคคลภายนอกตามประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ มาตรา 374 ฉะนั้น เมื่อผู้เช่าซื้อถึงแก่กรรม และทายาทผู้รับสิทธิดังกล่าวได้แสดงเจตนาเข้าถือเอาประโยชน์จากสัญญานี้ต่อผู้ให้เช่าซื้อตามมาตรา 374 วรรค 2 แล้วสิทธิในการเช่าซื้อจึงตกเป็นของทายาทผู้รับสิทธิดังกล่าวโดยชอบด้วยกฎหมาย ไม่ตกเป็นมรดกของผู้ตายต่อไป
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 1249/2516 เวอร์ชัน 2 คำพิพากษาฎีกานี้ มีเนื้อหาจากเว็บทางการหลายรูปแบบ
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
สิทธิเรียกค่าเลี้ยงดูบุตร: การฟ้องซ้ำและอำนาจของผู้ปกครอง
คดีก่อนโจทก์ฟ้องเรียกค่าอุปการะเลี้ยงดูบุตรผู้เยาว์จากจำเลยอ้างว่ามีข้อตกลงตามบันทึกข้อตกลงหลังทะเบียนหย่าศาลพิพากษาว่าบันทึกข้อตกลงดังกล่าวเป็นสัญญาประนีประนอมยอมความ เมื่อจำเลยซึ่งเป็นฝ่ายรับผิดไม่ได้ลงลายมือชื่อไว้ โจทก์จึงไม่มีอำนาจฟ้องจำเลยคดีถึงที่สุดแล้ว โจทก์มาฟ้องคดีใหม่เรียกค่าอุปการะเลี้ยงดูบุตรผู้เยาว์จากจำเลยอ้างว่าจำเลยมีหน้าที่อุปการะเลี้ยงดูบุตรผู้เยาว์ตามที่บัญญัติไว้ในประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์มาตรา 1536 ได้ ไม่เป็นฟ้องซ้ำ
มารดาในฐานะส่วนตัว ไม่มีสิทธิเป็นโจทก์ฟ้องเรียกค่าเลี้ยงดูบุตรผู้เยาว์จากบิดาของบุตร จนกว่าจะได้ร้องขอต่อศาลให้ถอนบิดาจากการเป็นผู้ปกครองเสียก่อน โดยขอตั้งมารดาผู้เป็นโจทก์เป็นผู้ปกครองใหม่แล้วจึงจะใช้สิทธิเรียกค่าเลี้ยงดูบุตรผู้เยาว์จากบิดาของบุตรตามประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ มาตรา 1536 ได้
มารดาในฐานะส่วนตัว ไม่มีสิทธิเป็นโจทก์ฟ้องเรียกค่าเลี้ยงดูบุตรผู้เยาว์จากบิดาของบุตร จนกว่าจะได้ร้องขอต่อศาลให้ถอนบิดาจากการเป็นผู้ปกครองเสียก่อน โดยขอตั้งมารดาผู้เป็นโจทก์เป็นผู้ปกครองใหม่แล้วจึงจะใช้สิทธิเรียกค่าเลี้ยงดูบุตรผู้เยาว์จากบิดาของบุตรตามประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ มาตรา 1536 ได้
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 1249/2516
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
ฟ้องเรียกค่าเลี้ยงดูบุตรต้องมีอำนาจปกครอง การฟ้องซ้ำ และหน้าที่อุปการะเลี้ยงดูตามกฎหมาย
คดีก่อนโจทก์ฟ้องเรียกค่าอุปการะเลี้ยงดูบุตรผู้เยาว์จากจำเลย อ้างว่ามีข้อตกลงตามบันทึกข้อตกลงหลังทะเบียนหย่าศาลพิพากษาว่าบันทึกข้อตกลงดังกล่าวเป็นสัญญาประนีประนอมยอมความ เมื่อจำเลยซึ่งเป็นฝ่ายรับผิดไม่ได้ลงลายมือชื่อไว้ โจทก์จึงไม่มีอำนาจฟ้องจำเลยคดีถึงที่สุดแล้ว โจทก์มาฟ้องคดีใหม่เรียกค่าอุปการะเลี้ยงดูบุตรผู้เยาว์จากจำเลยอ้างว่าจำเลยมีหน้าที่อุปการะเลี้ยงดูบุตรผู้เยาว์ตามที่บัญญัติไว้ในประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์มาตรา 1536 ได้ ไม่เป็นฟ้องซ้ำ
มารดาในฐานะส่วนตัว ไม่มีสิทธิเป็นโจทก์ฟ้องเรียกค่าเลี้ยงดูบุตรผู้เยาว์จากบิดาของบุตร จนกว่าจะได้ร้องขอต่อศาลให้ถอนบิดาจากการเป็นผู้ปกครองเสียก่อน โดยขอตั้งมารดาผู้เป็นโจทก์เป็นผู้ปกครองใหม่ แล้วจึงจะใช้สิทธิเรียกค่าเลี้ยงดูบุตรผู้เยาว์จากบิดาของบุตรตามประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ มาตรา 1536 ได้
มารดาในฐานะส่วนตัว ไม่มีสิทธิเป็นโจทก์ฟ้องเรียกค่าเลี้ยงดูบุตรผู้เยาว์จากบิดาของบุตร จนกว่าจะได้ร้องขอต่อศาลให้ถอนบิดาจากการเป็นผู้ปกครองเสียก่อน โดยขอตั้งมารดาผู้เป็นโจทก์เป็นผู้ปกครองใหม่ แล้วจึงจะใช้สิทธิเรียกค่าเลี้ยงดูบุตรผู้เยาว์จากบิดาของบุตรตามประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ มาตรา 1536 ได้
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 1121/2516 เวอร์ชัน 2 คำพิพากษาฎีกานี้ มีเนื้อหาจากเว็บทางการหลายรูปแบบ
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
การปล้นทรัพย์ที่เชื่อมโยงกับการฆ่าเพื่อปกปิดความผิด การกระทำต่อเนื่องถือเป็นเหตุฉกรรจ์ตามประมวลกฎหมายอาญามาตรา 340
คนร้าย 5 - 6 คน ใช้ปืนขู่คนขับรถไม่ให้สู้ เอาผ้ามัดมือไพล่หลังทั้งสองคน แล้วพาขึ้นไปนั่งที่กะบะท้ายรถ คนร้ายเอาปืนจี้คุมไว้และขับรถแล่นออกจากหมู่บ้าน ค. ไปถึงถนนเป็นระยะทาง 5 กิโลเมตรแล้วขับไปตามถนนนั้นและทางอีกสายหนึ่งเป็นระยะทางประมาณ10 กิโลเมตรหรือประมาณ 20 นาที แล้วจึงหยุดรถและถอยรถเข้าไปในป่าข้างทาง ต่อจากนั้นก็พาคนขับรถลงเดินไปอีกประมาณ 1 กิโลเมตร จึงยิงและเชือดคนขับรถคันหนึ่งถึงแก่ความตาย แล้วคนร้ายก็เอารถไป แม้การปล้นนี้จะได้เริ่มขึ้นที่หมู่บ้าน ค. แต่การที่คนร้ายพาคนขับรถทั้งสองไปนั่งที่กะบะท้ายรถทั้งๆ ที่ยังถูกมัด และคนร้ายใช้ปืนจี้คุมตัวให้นั่งไปในรถเช่นนั้น เป็นการขู่เข็ญว่าจะกระทำร้ายเพื่อความปลอดภัยของคนร้ายในการปล้นทรัพย์อยู่ตลอดเวลาที่คนขับรถนั่งไปกับคนร้าย จึงมีการกระทำในการปล้นทรัพย์อยู่เรื่อย เมื่อคนร้ายหยุดรถพาคนขับรถเดินเข้าป่าไปฆ่าในทันทีนั้นก็เพื่อจะปกปิดการกระทำความผิดฐานปล้นทรัพย์ การฆ่าจึงเป็นส่วนหนึ่งของการปล้นทรัพย์จึงมีความผิดตามประมวลกฎหมายอาญามาตรา 340 วรรคท้าย
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 1121/2516
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
การปล้นทรัพย์ต่อเนื่องและการฆ่าเพื่อปกปิดความผิดฐานปล้นทรัพย์ ถือเป็นกรรมเดียวกัน
คนร้าย 5-6 คน ใช้ปืนขู่คนขับรถไม่ให้สู้ เอาผ้ามัดมือไพล่หลังทั้งสองคน แล้วพาขึ้นไปนั่งที่กะบะท้ายรถ คนร้ายเอาปืนจี้คุมไว้ และขับรถแล่นออกจากหมู่บ้าน ค. ไปถึงถนนเป็นระยะทาง 5 กิโลเมตร แล้วขับไปตามถนนนั้นและทางอีกสายหนึ่งเป็นระยะทางประมาณ 10 กิโลเมตรหรือประมาณ 20 นาที แล้วจึงหยุดรถและถอยรถเข้า ไปในป่าข้างทาง ต่อจากนั้นก็พาคนขับรถลงเดินไปอีกประมาณ 1 กิโลเมตร จึงยิงและเชือดคนขับรถคันหนึ่งถึงแก่ความตาย แล้วคนร้ายก็เอารถไป แม้การปล้นนี้จะได้เริ่มขึ้นที่หมู่บ้าน ค. แต่การที่คนร้ายพาคนขับรถทั้งสองไปนั่งที่กะบะท้ายรถทั้งๆ ที่ยังถูกมัด และคนร้ายใช้ปืนจี้คุมตัวให้นั่งไปในรถเช่นนั้น เป็นการขู่เข็ญว่าจะกระทำร้ายเพื่อความปลอดภัยของคนร้ายในการปล้นทรัพย์อยู่ตลอดเวลาที่คนขับรถนั่งไปกับคนร้าย จึงมีการกระทำในการปล้นทรัพย์อยู่เรื่อย เมื่อคนร้ายหยุดรถพาคนขับรถเดินเข้าป่าไปฆ่าในทันทีนั้นก็เพื่อจะปกปิดการกระทำความผิดฐานปล้นทรัพย์ การฆ่าจึงเป็นส่วนหนึ่งของการปล้นทรัพย์จึงมีความผิดตามประมวลกฎหมายอาญา มาตรา 340 วรรคท้าย
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 1113/2516 เวอร์ชัน 2 คำพิพากษาฎีกานี้ มีเนื้อหาจากเว็บทางการหลายรูปแบบ
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
ความผิดต่อทรัพย์สินของราชการ: สถานีตำรวจเป็นทรัพย์สินเพื่อประโยชน์ของแผ่นดิน ไม่ใช่สาธารณประโยชน์
สถานีตำรวจเป็นสำนักราชการบ้านเมือง ซึ่งเป็นสาธารณสมบัติของแผ่นดินตามประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ มาตรา 1304(3) แต่เป็นทรัพย์สินประเภทที่ใช้เพื่อประโยชน์ของแผ่นดินโดยเฉพาะ มิใช่ทรัพย์สินที่มีไว้เพื่อสาธารณประโยชน์ตามประมวลกฎหมายอาญา มาตรา 360 จำเลยทำให้สถานีตำรวจเสียหาย ย่อมไม่มีความผิดตามประมวลกฎหมายอาญามาตรา 360
จำเลยเสพสุราเมา แล้วประพฤติวุ่นวายขึ้นบนสถานีตำรวจ และใช้ปืนยิงขึ้นโดยใช่เหตุ กระสุนปืนถูกกระจกกรอบรูปแตก และถูกคานพื้นสถานีตำรวจเสียหาย เช่นนี้ จำเลยมีความผิดตามประมวลกฎหมายอาญามาตรา 378 กระทงหนึ่ง และตามมาตรา 376 กับมาตรา 358 อีกกระทงหนึ่ง
จำเลยเสพสุราเมา แล้วประพฤติวุ่นวายขึ้นบนสถานีตำรวจ และใช้ปืนยิงขึ้นโดยใช่เหตุ กระสุนปืนถูกกระจกกรอบรูปแตก และถูกคานพื้นสถานีตำรวจเสียหาย เช่นนี้ จำเลยมีความผิดตามประมวลกฎหมายอาญามาตรา 378 กระทงหนึ่ง และตามมาตรา 376 กับมาตรา 358 อีกกระทงหนึ่ง
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 1113/2516
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
การทำลายทรัพย์สินของราชการ (สถานีตำรวจ) ไม่เข้าข่ายความผิดตามมาตรา 360 แต่ยังคงมีความผิดฐานทำร้ายทรัพย์สินและประพฤติตัววุ่นวาย
สถานีตำรวจเป็นสำนักราชการบ้านเมือง ซึ่งเป็นสาธารณสมบัติของแผ่นดินตามประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ มาตรา 1304(3) แต่เป็นทรัพย์สินประเภทที่ใช้เพื่อประโยชน์ของแผ่นดินโดยเฉพาะ มิใช่ทรัพย์สินที่มีไว้เพื่อสาธารณประโยชน์ตามประมวลกฎหมายอาญา มาตรา 360 จำเลยทำให้สถานีตำรวจเสียหาย ย่อมไม่มีความผิดตามประมวลกฎหมายอาญามาตรา 360
จำเลยเสพสุราเมา แล้วประพฤติวุ่นวายขึ้นบนสถานีตำรวจ และใช้ปืนยิงขึ้นโดยใช่เหตุ กระสุนปืนถูกกระจกกรอบรูปแตก และถูกคานพื้นสถานีตำรวจเสียหาย เช่นนี้ จำเลยมีความผิดตามประมวลกฎหมายอาญา มาตรา 378 กระทงหนึ่ง และตามมาตรา 376 กับมาตรา 358 อีกกระทงหนึ่ง
จำเลยเสพสุราเมา แล้วประพฤติวุ่นวายขึ้นบนสถานีตำรวจ และใช้ปืนยิงขึ้นโดยใช่เหตุ กระสุนปืนถูกกระจกกรอบรูปแตก และถูกคานพื้นสถานีตำรวจเสียหาย เช่นนี้ จำเลยมีความผิดตามประมวลกฎหมายอาญา มาตรา 378 กระทงหนึ่ง และตามมาตรา 376 กับมาตรา 358 อีกกระทงหนึ่ง