พบผลลัพธ์ทั้งหมด 52 รายการ
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 163/2519
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
การลงโทษปล้นทรัพย์โดยใช้อาวุธปืน: เฉพาะผู้ใช้เท่านั้นที่รับโทษหนักขึ้น
ปล้นทรัพย์โดยมีหรือใช้อาวุธปืนตาม ประมวลกฎหมายอาญา มาตรา 340 ตรี ลงโทษหนักขึ้นเฉพาะตัวผู้มีหรือใช้อาวุธปืนเท่านั้นผู้อื่นที่ร่วมปล้นไม่ต้องรับโทษหนักขึ้นด้วย ศาลลงโทษตาม มาตรา 340 วรรคสอง
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 1278/2518
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
โทษหนักขึ้นกึ่งหนึ่งเฉพาะผู้มีหรือใช้อาวุธในคดีปล้น
ประมวลกฎหมายอาญา มาตรา 340 ตรี ที่ว่า " ผู้ใดกระทำความผิดตาม2.....ฯลฯ มาตรา 340.... โดยมีหรือใช้อาวุธปืน ฯลฯ" ต้องระวางโทษหนักขึ้นกึ่งหนึ่งนั้น เฉพาะตัวผู้มีหรือใช้อาวุธปืน ผู้ที่ร่วมกระทำการปล้นแต่ไม่ได้มีหรือใช้อาวุธปืน ไม่ต้องด้วยมาตรา 340ตรี
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 1655/2512 เวอร์ชัน 3 คำพิพากษาฎีกานี้ มีเนื้อหาจากเว็บทางการหลายรูปแบบ
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
พยานหลักฐานไม่เพียงพอสนับสนุนการกระทำความผิดฐานพยายามฆ่า ศาลฎีกายกฟ้องได้แม้จำเลยบางรายไม่อุทธรณ์
เมื่อคำพยานโจทก์รับฟังไม่ได้ว่า ได้มีการกระทำผิดฐานพยายามฆ่าผู้เสียหายเกิดขึ้นจริงตามฟ้อง ดังนี้ จึงเป็นเหตุในลักษณะคดี แม้จำเลยอื่นจะมิได้อุทธรณ์คำสั่งศาลชั้นต้นที่ได้รับฎีกา ศาลฎีกาก็มีอำนาจฟ้องยกฟ้องโจทก์ถึงจำเลยนั้นด้วยได้ ตามประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความอาญา มาตรา 213, 225
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 1655/2512 เวอร์ชัน 2 คำพิพากษาฎีกานี้ มีเนื้อหาจากเว็บทางการหลายรูปแบบ
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
พยานหลักฐานไม่เพียงพอฟังว่ามีการพยายามฆ่า ศาลฎีกายกฟ้องจำเลยทั้งสองได้ แม้จำเลยบางส่วนไม่ได้อุทธรณ์
เมื่อคำพยานโจทก์รับฟังไม่ได้ว่า ได้มีการกระทำผิดฐานพยายามฆ่าผู้เสียหายเกิดขึ้นจริงตามฟ้อง ดังนี้ จึงเป็นเหตุในลักษณะคดี แม้จำเลยอื่นจะมิได้อุทธรณ์คำสั่งศาลชั้นต้นที่ไม่รับฎีกา ศาลฎีกาก็มีอำนาจยกฟ้องโจทก์ถึงจำเลยนั้นด้วยได้ ตามประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความอาญา มาตรา 213,225
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 1655/2512
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
พยานหลักฐานไม่เพียงพอสนับสนุนการฟ้องพยายามฆ่า ศาลฎีกายกฟ้องได้แม้จำเลยไม่ฎีกา
เมื่อคำพยานโจทก์รับฟังไม่ได้ว่า. ได้มีการกระทำผิดฐานพยายามฆ่าผู้เสียหายเกิดขึ้นจริงตามฟ้อง. ดังนี้ จึงเป็นเหตุในลักษณะคดี แม้จำเลยอื่นจะมิได้อุทธรณ์คำสั่งศาลชั้นต้นที่ไม่รับฎีกา. ศาลฎีกาก็มีอำนาจยกฟ้องโจทก์ถึงจำเลยนั้นด้วยได้ ตามประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความอาญา มาตรา 213,225.
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 1604-1605/2512
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
อำนาจฟ้องคดีทำร้ายร่างกาย: ผู้เสียหายต้องมีสิทธิฟ้องจริง แม้คดีก่อนหน้าศาลพิพากษาว่าไม่ใช่ผู้เสียหาย
เรื่องอำนาจฟ้องเป็นข้อกฎหมายเกี่ยวด้วยความสงบเรียบร้อยของประชาชน แม้จะไม่ได้ยกขึ้นว่ากล่าวกันมาในศาลชั้นต้น. ก็ฎีกาได้.
โจทก์บรรยายฟ้องว่าจำเลยที่ 1 ที่ 2 ร่วมกับจำเลยที่ 3 ใช้กำลังกาย ไม้ตะพด เป็นอาวุธ. ชกต่อยและตีประทุษร้ายร่างกายโจทก์ถูกบริเวณศีรษะแตกจนโลหิตไหล และถูกตามใบหน้าและลำตัวจนฟกช้ำดำเขียวหลายแห่ง. เป็นเหตุให้เกิดอันตรายแก่โจทก์. ดังนี้ เป็นฟ้องที่บรรยายถึงข้อเท็จจริงและรายละเอียดเกี่ยวกับการกระทำผิดของจำเลยว่า.จำเลยที่ 1 ที่ 2 ได้ร่วมกับจำเลยที่ 3 กระทำความผิดฐานทำร้ายร่างกายโจทก์จนโจทก์ได้รับอันตรายแก่กายของส่วนใดของร่างกาย และลักษณะบาดแผลที่เกิดจากถูกจำเลยทำร้ายเป็นอย่างไร ไว้ชัดแจ้งเพียงพอที่จำเลยจะเข้าใจข้อหาได้ดีแล้ว. ฟ้องโจทก์เป็นฟ้องที่ไม่เคลือบคลุม. และเป็นฟ้องที่สมบูรณ์ตามประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความอาญา มาตรา 158(5).
พนักงานอัยการเป็นโจทก์ฟ้องจำเลยที่ 3 ในคดีนี้แต่ผู้เดียวในข้อหาว่าทำร้ายร่างกายโจทก์ในคดีนี้ มิได้ฟ้องจำเลยที่ 1 ที่ 2 ด้วย. แม้มูลคดีเรื่องนั้นจะเป็นเรื่องเดียวกับคดีนี้ และโจทก์ในคดีนี้จะได้เข้าเป็นโจทก์ร่วมกับพนักงานอัยการในคดีนั้นก็ตาม. ฟ้องโจทก์คดีนี้ในส่วนที่เกี่ยวกับจำเลย ที่ 1 ที่ 2 ก็หาเป็นฟ้องซ้ำไม่. เพราะจำเลยที่ 1 ที่ 2 ยังไม่เคยถูกฟ้องและมีคำพิพากษาเสร็จเด็ดขาดในความผิดซึ่งได้ฟ้องในมูลคดีเดียวกันนี้มาก่อน.
โจทก์ฟ้องกล่าวหาจำเลยที่ 1 ที่ 2 ร่วมกับจำเลยที่3 กระทำความผิดรวม 4 กระทงคือความผิดต่อร่างกายความผิดต่อตำแหน่งหน้าที่ราชการ ความผิดต่อเจ้าพนักงานในการยุติธรรม และความผิดต่อเสรีภาพ. โดยเฉพาะข้อหาว่าจำเลยร่วมกันกระทำความผิดต่อร่างกายนั้น. ปรากฏว่าเป็นข้อหาเดียวกับที่พนักงานอัยการได้ฟ้องจำเลยที่ 3 ในคดีนี้หาว่าทำร้ายร่างกายโจทก์ไว้ในสำนวนคดีอื่นซึ่งโจทก์ในคดีนี้ได้เข้าร่วมเป็นโจทก์กับพนักงานอัยการ. คดีนั้นถึงที่สุดโดยศาลอุทธรณ์พิพากษาว่า โจทก์ในคดีนี้มิใช่ผู้เสียหาย.เพราะเป็นกรณีต่างวิวาททำร้ายร่างกายซึ่งกันและกัน. โจทก์ไม่มีสิทธิฟ้องหรือเข้าร่วมเป็นโจทก์ได้. คำพิพากษาศาลอุทธรณ์ดังกล่าวเป็นคำพิพากษาในลักษณะคดี. แม้จำเลยที่ 1 ที่2 จะมิได้เป็นคู่ความในคดีดังกล่าว. ก็ย่อมได้รับผลนี้ด้วย. ฉะนั้น โจทก์จะมาฟ้องหาว่าจำเลยที่ 1 ที่2 ร่วมกับจำเลยที่ 3 กระทำความผิดฐานทำร้ายร่างกายโจทก์ในมูลคดีเดียวกับคดีที่ศาลอุทธรณ์ได้พิพากษาว่าโจทก์ไม่ใช่ผู้เสียหาย ไม่มีสิทธิฟ้องจำเลยที่ 3 แล้วหาได้ไม่. ส่วนความผิดข้ออื่นๆ โจทก์ยังเป็นผู้เสียหาย และมีอำนาจฟ้องในความผิดนั้นๆ ได้.
โจทก์บรรยายฟ้องว่าจำเลยที่ 1 ที่ 2 ร่วมกับจำเลยที่ 3 ใช้กำลังกาย ไม้ตะพด เป็นอาวุธ. ชกต่อยและตีประทุษร้ายร่างกายโจทก์ถูกบริเวณศีรษะแตกจนโลหิตไหล และถูกตามใบหน้าและลำตัวจนฟกช้ำดำเขียวหลายแห่ง. เป็นเหตุให้เกิดอันตรายแก่โจทก์. ดังนี้ เป็นฟ้องที่บรรยายถึงข้อเท็จจริงและรายละเอียดเกี่ยวกับการกระทำผิดของจำเลยว่า.จำเลยที่ 1 ที่ 2 ได้ร่วมกับจำเลยที่ 3 กระทำความผิดฐานทำร้ายร่างกายโจทก์จนโจทก์ได้รับอันตรายแก่กายของส่วนใดของร่างกาย และลักษณะบาดแผลที่เกิดจากถูกจำเลยทำร้ายเป็นอย่างไร ไว้ชัดแจ้งเพียงพอที่จำเลยจะเข้าใจข้อหาได้ดีแล้ว. ฟ้องโจทก์เป็นฟ้องที่ไม่เคลือบคลุม. และเป็นฟ้องที่สมบูรณ์ตามประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความอาญา มาตรา 158(5).
พนักงานอัยการเป็นโจทก์ฟ้องจำเลยที่ 3 ในคดีนี้แต่ผู้เดียวในข้อหาว่าทำร้ายร่างกายโจทก์ในคดีนี้ มิได้ฟ้องจำเลยที่ 1 ที่ 2 ด้วย. แม้มูลคดีเรื่องนั้นจะเป็นเรื่องเดียวกับคดีนี้ และโจทก์ในคดีนี้จะได้เข้าเป็นโจทก์ร่วมกับพนักงานอัยการในคดีนั้นก็ตาม. ฟ้องโจทก์คดีนี้ในส่วนที่เกี่ยวกับจำเลย ที่ 1 ที่ 2 ก็หาเป็นฟ้องซ้ำไม่. เพราะจำเลยที่ 1 ที่ 2 ยังไม่เคยถูกฟ้องและมีคำพิพากษาเสร็จเด็ดขาดในความผิดซึ่งได้ฟ้องในมูลคดีเดียวกันนี้มาก่อน.
โจทก์ฟ้องกล่าวหาจำเลยที่ 1 ที่ 2 ร่วมกับจำเลยที่3 กระทำความผิดรวม 4 กระทงคือความผิดต่อร่างกายความผิดต่อตำแหน่งหน้าที่ราชการ ความผิดต่อเจ้าพนักงานในการยุติธรรม และความผิดต่อเสรีภาพ. โดยเฉพาะข้อหาว่าจำเลยร่วมกันกระทำความผิดต่อร่างกายนั้น. ปรากฏว่าเป็นข้อหาเดียวกับที่พนักงานอัยการได้ฟ้องจำเลยที่ 3 ในคดีนี้หาว่าทำร้ายร่างกายโจทก์ไว้ในสำนวนคดีอื่นซึ่งโจทก์ในคดีนี้ได้เข้าร่วมเป็นโจทก์กับพนักงานอัยการ. คดีนั้นถึงที่สุดโดยศาลอุทธรณ์พิพากษาว่า โจทก์ในคดีนี้มิใช่ผู้เสียหาย.เพราะเป็นกรณีต่างวิวาททำร้ายร่างกายซึ่งกันและกัน. โจทก์ไม่มีสิทธิฟ้องหรือเข้าร่วมเป็นโจทก์ได้. คำพิพากษาศาลอุทธรณ์ดังกล่าวเป็นคำพิพากษาในลักษณะคดี. แม้จำเลยที่ 1 ที่2 จะมิได้เป็นคู่ความในคดีดังกล่าว. ก็ย่อมได้รับผลนี้ด้วย. ฉะนั้น โจทก์จะมาฟ้องหาว่าจำเลยที่ 1 ที่2 ร่วมกับจำเลยที่ 3 กระทำความผิดฐานทำร้ายร่างกายโจทก์ในมูลคดีเดียวกับคดีที่ศาลอุทธรณ์ได้พิพากษาว่าโจทก์ไม่ใช่ผู้เสียหาย ไม่มีสิทธิฟ้องจำเลยที่ 3 แล้วหาได้ไม่. ส่วนความผิดข้ออื่นๆ โจทก์ยังเป็นผู้เสียหาย และมีอำนาจฟ้องในความผิดนั้นๆ ได้.
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 1604-1605/2512 เวอร์ชัน 2 คำพิพากษาฎีกานี้ มีเนื้อหาจากเว็บทางการหลายรูปแบบ
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
อำนาจฟ้องคดีอาญา: ผลคำพิพากษาคดีก่อนหน้ามีผลผูกพันผู้มิได้เป็นคู่ความ และการฟ้องซ้ำ
เรื่องอำนาจฟ้องเป็นข้อกฎหมายเกี่ยวด้วยความสงบเรียบร้อยของประชาชน แม้จะไม่ได้ยกขึ้นว่ากล่าวกันมาในศาลชั้นต้น ก็ฎีกาได้
โจทก์บรรยายฟ้องว่าจำเลยที่ 1 ที่ 2 ร่วมกับจำเลยที่ 3 ใช้กำลังกาย ไม้ตะพด เป็นอาวุธ ชกต่อยและตีประทุษร้ายร่างกายโจทก์ถูกบริเวณศีรษะแตกจนโลหิตไหล และถูกตามใบหน้าและลำตัวจนฟกช้ำดำเขียวหลายแห่ง เป็นเหตุให้เกิดอันตรายแก่โจทก์ ดังนี้ เป็นฟ้องที่บรรยายถึงข้อเท็จจริงและรายละเอียดเกี่ยวกับการกระทำผิดของจำเลยว่าจำเลยที่ 1 ที่ 2 ได้ร่วมกับจำเลยที่ 3 กระทำความผิดฐานทำร้ายร่างกายโจทก์จนโจทก์ได้รับอันตรายแก่กายของส่วนใดของร่างกาย และลักษณะบาดแผลที่เกิดจากถูกจำเลยทำร้ายเป็นอย่างไร ไว้ชัดแจ้งเพียงพอที่จำเลยจะเข้าใจข้อหาได้ดีแล้ว ฟ้องโจทก์เป็นฟ้องที่ไม่เคลือบคลุม และเป็นฟ้องที่สมบูรณ์ตามประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความอาญา มาตรา 158(5)
พนักงานอัยการเป็นโจทก์ฟ้องจำเลยที่ 3 ในคดีนี้แต่ผู้เดียวในข้อหาว่าทำร้ายร่างกายโจทก์ในคดีนี้ มิได้ฟ้องจำเลยที่ 1 ที่ 2 ด้วย แม้มูลคดีเรื่องนั้นจะเป็นเรื่องเดียวกับคดีนี้ และโจทก์ในคดีนี้จะได้เข้าเป็นโจทก์ร่วมกับพนักงานอัยการในคดีนั้นก็ตาม ฟ้องโจทก์คดีนี้ในส่วนที่เกี่ยวกับจำเลย ที่ 1 ที่ 2 ก็หาเป็นฟ้องซ้ำไม่ เพราะจำเลยที่ 1 ที่ 2 ยังไม่เคยถูกฟ้องและมีคำพิพากษาเสร็จเด็ดขาดในความผิดซึ่งได้ฟ้องในมูลคดีเดียวกันนี้มาก่อน
โจทก์ฟ้องกล่าวหาจำเลยที่ 1 ที่ 2 ร่วมกับจำเลยที่ 3 กระทำความผิดรวม 4 กระทงคือความผิดต่อร่างกายความผิดต่อตำแหน่งหน้าที่ราชการ ความผิดต่อเจ้าพนักงานในการยุติธรรม และความผิดต่อเสรีภาพ โดยเฉพาะข้อหาว่าจำเลยร่วมกันกระทำความผิดต่อร่างกายนั้น ปรากฏว่าเป็นข้อหาเดียวกับที่พนักงานอัยการได้ฟ้องจำเลยที่ 3 ในคดีนี้หาว่าทำร้ายร่างกายโจทก์ไว้ในสำนวนคดีอื่นซึ่งโจทก์ในคดีนี้ได้เข้าร่วมเป็นโจทก์กับพนักงานอัยการ คดีนั้นถึงที่สุดโดยศาลอุทธรณ์พิพากษาว่า โจทก์ในคดีนี้มิใช่ผู้เสียหายเพราะเป็นกรณีต่างวิวาททำร้ายร่างกายซึ่งกันและกัน โจทก์ไม่มีสิทธิฟ้องหรือเข้าร่วมเป็นโจทก์ได้ คำพิพากษาศาลอุทธรณ์ดังกล่าวเป็นคำพิพากษาในลักษณะคดี แม้จำเลยที่ 1 ที่ 2 จะมิได้เป็นคู่ความในคดีดังกล่าว ก็ย่อมได้รับผลนี้ด้วย ฉะนั้น โจทก์จะมาฟ้องหาว่าจำเลยที่ 1 ที่ 2 ร่วมกับจำเลยที่ 3 กระทำความผิดฐานทำร้ายร่างกายโจทก์ในมูลคดีเดียวกับคดีที่ศาลอุทธรณ์ได้พิพากษาว่าโจทก์ไม่ใช่ผู้เสียหาย ไม่มีสิทธิฟ้องจำเลยที่ 3 แล้วหาได้ไม่ ส่วนความผิดข้ออื่นๆ โจทก์ยังเป็นผู้เสียหาย และมีอำนาจฟ้องในความผิดนั้นๆ ได้
โจทก์บรรยายฟ้องว่าจำเลยที่ 1 ที่ 2 ร่วมกับจำเลยที่ 3 ใช้กำลังกาย ไม้ตะพด เป็นอาวุธ ชกต่อยและตีประทุษร้ายร่างกายโจทก์ถูกบริเวณศีรษะแตกจนโลหิตไหล และถูกตามใบหน้าและลำตัวจนฟกช้ำดำเขียวหลายแห่ง เป็นเหตุให้เกิดอันตรายแก่โจทก์ ดังนี้ เป็นฟ้องที่บรรยายถึงข้อเท็จจริงและรายละเอียดเกี่ยวกับการกระทำผิดของจำเลยว่าจำเลยที่ 1 ที่ 2 ได้ร่วมกับจำเลยที่ 3 กระทำความผิดฐานทำร้ายร่างกายโจทก์จนโจทก์ได้รับอันตรายแก่กายของส่วนใดของร่างกาย และลักษณะบาดแผลที่เกิดจากถูกจำเลยทำร้ายเป็นอย่างไร ไว้ชัดแจ้งเพียงพอที่จำเลยจะเข้าใจข้อหาได้ดีแล้ว ฟ้องโจทก์เป็นฟ้องที่ไม่เคลือบคลุม และเป็นฟ้องที่สมบูรณ์ตามประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความอาญา มาตรา 158(5)
พนักงานอัยการเป็นโจทก์ฟ้องจำเลยที่ 3 ในคดีนี้แต่ผู้เดียวในข้อหาว่าทำร้ายร่างกายโจทก์ในคดีนี้ มิได้ฟ้องจำเลยที่ 1 ที่ 2 ด้วย แม้มูลคดีเรื่องนั้นจะเป็นเรื่องเดียวกับคดีนี้ และโจทก์ในคดีนี้จะได้เข้าเป็นโจทก์ร่วมกับพนักงานอัยการในคดีนั้นก็ตาม ฟ้องโจทก์คดีนี้ในส่วนที่เกี่ยวกับจำเลย ที่ 1 ที่ 2 ก็หาเป็นฟ้องซ้ำไม่ เพราะจำเลยที่ 1 ที่ 2 ยังไม่เคยถูกฟ้องและมีคำพิพากษาเสร็จเด็ดขาดในความผิดซึ่งได้ฟ้องในมูลคดีเดียวกันนี้มาก่อน
โจทก์ฟ้องกล่าวหาจำเลยที่ 1 ที่ 2 ร่วมกับจำเลยที่ 3 กระทำความผิดรวม 4 กระทงคือความผิดต่อร่างกายความผิดต่อตำแหน่งหน้าที่ราชการ ความผิดต่อเจ้าพนักงานในการยุติธรรม และความผิดต่อเสรีภาพ โดยเฉพาะข้อหาว่าจำเลยร่วมกันกระทำความผิดต่อร่างกายนั้น ปรากฏว่าเป็นข้อหาเดียวกับที่พนักงานอัยการได้ฟ้องจำเลยที่ 3 ในคดีนี้หาว่าทำร้ายร่างกายโจทก์ไว้ในสำนวนคดีอื่นซึ่งโจทก์ในคดีนี้ได้เข้าร่วมเป็นโจทก์กับพนักงานอัยการ คดีนั้นถึงที่สุดโดยศาลอุทธรณ์พิพากษาว่า โจทก์ในคดีนี้มิใช่ผู้เสียหายเพราะเป็นกรณีต่างวิวาททำร้ายร่างกายซึ่งกันและกัน โจทก์ไม่มีสิทธิฟ้องหรือเข้าร่วมเป็นโจทก์ได้ คำพิพากษาศาลอุทธรณ์ดังกล่าวเป็นคำพิพากษาในลักษณะคดี แม้จำเลยที่ 1 ที่ 2 จะมิได้เป็นคู่ความในคดีดังกล่าว ก็ย่อมได้รับผลนี้ด้วย ฉะนั้น โจทก์จะมาฟ้องหาว่าจำเลยที่ 1 ที่ 2 ร่วมกับจำเลยที่ 3 กระทำความผิดฐานทำร้ายร่างกายโจทก์ในมูลคดีเดียวกับคดีที่ศาลอุทธรณ์ได้พิพากษาว่าโจทก์ไม่ใช่ผู้เสียหาย ไม่มีสิทธิฟ้องจำเลยที่ 3 แล้วหาได้ไม่ ส่วนความผิดข้ออื่นๆ โจทก์ยังเป็นผู้เสียหาย และมีอำนาจฟ้องในความผิดนั้นๆ ได้
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 434/2511 เวอร์ชัน 2 คำพิพากษาฎีกานี้ มีเนื้อหาจากเว็บทางการหลายรูปแบบ
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
ความรับผิดทางอาญาแยกกันได้: ชิงทรัพย์-ฆ่าคน ศาลฎีกายกประโยชน์ให้จำเลยที่ 1
จำเลยสองคนถูกหาว่าชิงทรัพย์และฆ่าคน เมื่อข้อเท็จจริงเกี่ยวกับจำเลยแต่ละคนสามารถแยกรับฟังได้ กรณีจึงมิใช่เป็นเหตุในลักษณะคดี
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 434/2511 เวอร์ชัน 3 คำพิพากษาฎีกานี้ มีเนื้อหาจากเว็บทางการหลายรูปแบบ
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
การลงโทษร่วมกันกระทำผิด: การแยกพิจารณาความผิดของจำเลยแต่ละคน และหลักการ 'เหตุในลักษณะคดี'
จำเลยสองคนถูกหาว่าชิงทรัพย์และฆ่าคน เมื่อข้อเท็จจริงเกี่ยวกับจำเลยแต่ละคนสามารถแยกรับฟังได้ กรณีจึงมิใช่เป็นเหตุในลักษณะคดี
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 434/2511
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
ความรับผิดทางอาญาต่างกันของจำเลยร่วม กรณีพยานหลักฐานแยกรับฟังได้
จำเลยสองคนถูกหาว่าชิงทรัพย์และฆ่าคน. เมื่อข้อเท็จจริงเกี่ยวกับจำเลยแต่ละคนสามารถแยกรับฟังได้. กรณีจึงมิใช่เป็นเหตุในลักษณะคดี.