พบผลลัพธ์ทั้งหมด 363 รายการ
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 255/2513
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
ราคาทุนทรัพย์ในคดีบังคับโอนกรรมสิทธิ์: ศาลใช้ราคาที่ตกลงกันจริง แม้ราคาซื้อขายจะต่ำกว่า
โจทก์ฟ้องขอให้บังคับจำเลยโอนกรรมสิทธิ์ที่ดินให้โจทก์ตั้งราคาทุนทรัพย์ของที่พิพาท 240,000 บาท จำเลยรับว่ามีราคาตามที่โจทก์ตีไว้ ดังนี้ ต้องถือว่าโจทก์ขอให้บังคับจำเลยส่งทรัพย์ราคา 240,000 บาทให้โจทก์ หากจำเลยไม่สามารถโอนทรัพย์ให้โจทก์ได้ ก็ต้องใช้ราคาตามที่โจทก์จำเลยตั้งพิพาท จะถือเอาราคาซื้อขายตามที่ปรากฏจากข้อเท็จจริงว่าโจทก์ซื้อจากจำเลยเพียง 20,000 บาทมาใช้บังคับไม่ได้ เพราะมิใช่ราคาที่แท้จริงของทรัพย์พิพาท
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 269/2512 เวอร์ชัน 3 คำพิพากษาฎีกานี้ มีเนื้อหาจากเว็บทางการหลายรูปแบบ
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
เบี้ยปรับในสัญญาซื้อขาย: เมื่อผู้ซื้อผิดสัญญา ผู้ขายมีสิทธิเรียกดอกเบี้ยตามที่ตกลงกันไว้ได้
ผู้ซื้อกับผู้ขายทำสัญญาจะซื้อขายที่ดินกันไว้ว่า ตกลงกำหนดโอนที่ดินให้ผู้ซื้อหรือผู้หนึ่งผู้ใดที่ผู้ซื้อระบุภายใน 1 เดือนนับแต่วันทำสัญญา ถ้าพ้นกำหนดแล้วผู้ซื้อยังชำระเงินค่าที่ดินให้ผู้ขายไม่ได้ ผู้ขายยอมขยายเวลาให้อีก 150 วัน โดยผู้ซื้อยอมเสียดอกเบี้ยร้อยละ 15 ต่อปีในเงินค่าที่ดินที่ยังไม่ชำระสำหรับระยะเวลา 150 วันนั้น ถ้าเกินกำหนดนี้ ผู้ขายมีสิทธิเลิกสัญญาได้ทันที ดอกเบี้ยที่กำหนดไว้ตามสัญญาดังกล่าวถือได้ว่าเป็นเบี้ยปรับ เมื่อไม่ชำระหนี้หรือไม่ชำระหนี้ให้ถูกต้องตามสมควร ตามประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ มาตรา 379 เพราะเป็นค่าเสียหายจำนวนหนึ่งที่คู่สัญญาตกลงกันไว้ล่วงหน้าว่าจะชดใช้ให้เมื่อผู้ซื้อไม่ชำระหนี้ในกำหนดเวลาตามสัญญา
เมื่อผู้ซื้อผิดสัญญาไม่สามารถรับโอนที่ดินและชำระเงินค่าที่ดินได้ตามสัญญา ผู้ขายย่อมฟ้องเรียกดอกเบี้ยซึ่งกำหนดไว้เป็นเบี้ยปรับจากผู้ซื้อได้
เมื่อผู้ซื้อผิดสัญญาไม่สามารถรับโอนที่ดินและชำระเงินค่าที่ดินได้ตามสัญญา ผู้ขายย่อมฟ้องเรียกดอกเบี้ยซึ่งกำหนดไว้เป็นเบี้ยปรับจากผู้ซื้อได้
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 269/2512 เวอร์ชัน 2 คำพิพากษาฎีกานี้ มีเนื้อหาจากเว็บทางการหลายรูปแบบ
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
เบี้ยปรับในสัญญาซื้อขาย: ศาลฎีกาวินิจฉัยให้โจทก์ชำระดอกเบี้ยตามสัญญา แม้ผิดสัญญาซื้อขาย
ผู้ซื้อกับผู้ขายทำสัญญาจะซื้อขายที่ดินกันไว้ว่าตกลงกำหนดโอนที่ดินให้ผู้ซื้อหรือผู้หนึ่งผู้ใดที่ผู้ซื้อระบุภายใน 1 เดือนนับแต่วันทำสัญญา ถ้าพ้นกำหนดแล้วผู้ซื้อยังชำระเงินค่าที่ดินให้ผู้ขายไม่ได้ ผู้ขายยอมขยายเวลาให้อีก 150 วัน โดยผู้ซื้อยอมเสียดอกเบี้ยร้อยละ 15 ต่อปีในเงินค่าที่ดินที่ยังไม่ชำระสำหรับระยะเวลา 150 วันนั้น
ถ้าเกินกำหนดนี้ ผู้ขายมีสิทธิเลิกสัญญาได้ทันทีดอกเบี้ยที่กำหนดว้ตามสัญญาดังกล่าวถือได้ว่าเป็นเบี้ยปรับ เมื่อไม่ชำระหนี้หรือไม่ชำระหนี้ให้ถูกต้องตามสมควร ตามประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ มาตรา 379เพราะเป็นค่าเสียหายจำนวนหนึ่งที่คู่สัญญาตกลงกันไว้ล่วงหน้าว่าจะชดใช้ให้เมื่อผู้ซื้อไม่ชำระหนี้ในกำหนดเวลาตามสัญญา
เมื่อผู้ซื้อผิดสัญญาไม่สามารถรับโอนที่ดินและชำระเงินค่าที่ดินได้ตามสัญญา ผู้ขายย่อมฟ้องเรียกดอกเบี้ยซึ่งกำหนดไว้เป็นเบี้ยปรับจากผู้ซื้อได้
ถ้าเกินกำหนดนี้ ผู้ขายมีสิทธิเลิกสัญญาได้ทันทีดอกเบี้ยที่กำหนดว้ตามสัญญาดังกล่าวถือได้ว่าเป็นเบี้ยปรับ เมื่อไม่ชำระหนี้หรือไม่ชำระหนี้ให้ถูกต้องตามสมควร ตามประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ มาตรา 379เพราะเป็นค่าเสียหายจำนวนหนึ่งที่คู่สัญญาตกลงกันไว้ล่วงหน้าว่าจะชดใช้ให้เมื่อผู้ซื้อไม่ชำระหนี้ในกำหนดเวลาตามสัญญา
เมื่อผู้ซื้อผิดสัญญาไม่สามารถรับโอนที่ดินและชำระเงินค่าที่ดินได้ตามสัญญา ผู้ขายย่อมฟ้องเรียกดอกเบี้ยซึ่งกำหนดไว้เป็นเบี้ยปรับจากผู้ซื้อได้
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 269/2512
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
เบี้ยปรับในสัญญาซื้อขาย: ผู้ซื้อผิดสัญญาต้องชำระดอกเบี้ยตามที่ตกลง
ผู้ซื้อกับผู้ขายทำสัญญาจะซื้อขายที่ดินกันไว้ว่า. ตกลงกำหนดโอนที่ดินให้ผู้ซื้อหรือผู้หนึ่งผู้ใดที่ผู้ซื้อระบุภายใน 1 เดือนนับแต่วันทำสัญญา. ถ้าพ้นกำหนดแล้วผู้ซื้อยังชำระเงินค่าที่ดินให้ผู้ขายไม่ได้. ผู้ขายยอมขยายเวลาให้อีก 150 วัน โดยผู้ซื้อยอมเสียดอกเบี้ยร้อยละ 15 ต่อปีในเงินค่าที่ดินที่ยังไม่ชำระสำหรับระยะเวลา 150 วันนั้น. ถ้าเกินกำหนดนี้ ผู้ขายมีสิทธิเลิกสัญญาได้ทันที.ดอกเบี้ยที่กำหนดไว้ตามสัญญาดังกล่าวถือได้ว่าเป็นเบี้ยปรับ. เมื่อไม่ชำระหนี้หรือไม่ชำระหนี้ให้ถูกต้องตามสมควร ตามประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ มาตรา 379. เพราะเป็นค่าเสียหายจำนวนหนึ่งที่คู่สัญญาตกลงกันไว้ล่วงหน้าว่าจะชดใช้ให้เมื่อผู้ซื้อไม่ชำระหนี้ในกำหนดเวลาตามสัญญา.
เมื่อผู้ซื้อผิดสัญญาไม่สามารถรับโอนที่ดินและชำระเงินค่าที่ดินได้ตามสัญญา ผู้ขายย่อมฟ้องเรียกดอกเบี้ยซึ่งกำหนดไว้เป็นเบี้ยปรับจากผู้ซื้อได้.
เมื่อผู้ซื้อผิดสัญญาไม่สามารถรับโอนที่ดินและชำระเงินค่าที่ดินได้ตามสัญญา ผู้ขายย่อมฟ้องเรียกดอกเบี้ยซึ่งกำหนดไว้เป็นเบี้ยปรับจากผู้ซื้อได้.
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 185/2512 เวอร์ชัน 2 คำพิพากษาฎีกานี้ มีเนื้อหาจากเว็บทางการหลายรูปแบบ
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
สิทธิการเรียกร้องหนี้จากผู้ค้ำประกันในคดีล้มละลาย: ยื่นคำขอรับชำระหนี้ได้อีก แม้เคยได้รับชำระหนี้บางส่วน
หนี้เงินกู้เป็นหนี้ที่จำเลยได้ทำสัญญาค้ำประกันบริษัทส.ซึ่งได้กู้เงินเจ้าหนี้ไปแต่ปรากฏว่าบริษัท ส. ถูกพิพากษาให้ล้มละลายเจ้าหนี้ก็ได้ยื่นคำขอรับชำระหนี้เอาจากกองทรัพย์สินของบริษัท ส. และศาลได้สั่งให้ได้รับชำระหนี้เต็มจำนวนดังนี้การที่ศาลมีคำสั่งให้ผู้ขอรับชำระหนี้ในคดีแดงที่ 99/2507 ซึ่งบริษัท ส. เป็นลูกหนี้และล้มละลายให้ได้รับชำระหนี้นั้นมีผลเพียงให้ผู้ขอรับชำระหนี้มีสิทธิที่จะได้รับชำระหนี้เต็มจำนวนที่ได้ยื่นขอรับชำระหนี้เท่านั้น ซึ่งผู้ขอรับชำระหนี้ยังไม่ได้รับชำระหนี้รายนี้เลยจำเลยซึ่งเป็นผู้ค้ำประกันลูกหนี้ผู้ล้มละลายมีหน้าที่ผูกพันตนต่อเจ้าหนี้เพื่อชำระหนี้ในเมื่อลูกหนี้ไม่สามารถชำระหนี้ให้แก่เจ้าหนี้เต็มตามจำนวนที่เป็นหนี้ โดยผู้ขอรับชำระหนี้มีสิทธิเรียกร้องให้จำเลยชำระหนี้ได้เต็มตามจำนวนตามอำนาจของเจ้าหนี้ตามประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ มาตรา 194 และเมื่อปรากฏว่าจำเลยซึ่งเป็นผู้ค้ำประกันถูกศาลพิพากษาให้เป็นบุคคลล้มละลาย โดยหนี้นั้นลูกหนี้ยังไม่ได้ชำระหนี้แก่เจ้าหนี้ประกอบกับพระราชบัญญัติล้มละลาย มาตรา 91 ได้บัญญัติให้เจ้าหนี้ซึ่งจะขอรับชำระหนี้ในคดีล้มละลายต้องยื่นคำขอต่อเจ้าพนักงานพิทักษ์ทรัพย์ภายในกำหนดเวลา 2 เดือน นับแต่วันโฆษณาคำสั่งพิทักษ์ทรัพย์เด็ดขาดผู้ขอรับชำระหนี้จึงมีสิทธิยื่นคำขอรับชำระหนี้ในคดีนี้ได้อีกในฐานะจำเลยผู้ล้มละลายเป็นผู้ค้ำประกันลูกหนี้ผู้ล้มละลายอีกคดีหนึ่งอยู่ถ้าจะให้ผู้ขอรับชำระหนี้รอไว้จนกว่าจะได้รับส่วนแบ่งชำระหนี้จากคดีล้มละลายแดงที่99/2507 เสียก่อนก็จะพ้นกำหนดเวลายื่นคำขอรับชำระหนี้ในคดีนี้ผู้ขอรับชำระหนี้ไม่อาจจะยื่นคำขอรับชำระหนี้ได้ทำให้ผู้ขอรับชำระหนี้เสียหายและลบล้างอำนาจของเจ้าหนี้ซึ่งมีอยู่ฉะนั้น ผู้ขอรับชำระหนี้จึงมีสิทธิยื่นคำขอรับชำระหนี้ในคดีนี้ได้อีกแต่ผู้ขอรับชำระหนี้มีสิทธิได้รับชำระหนี้ในคดีนี้และคดีแดงที่ 99/2507 รวม 2 คดีไม่เกินจำนวนเงินตามที่เป็นเจ้าหนี้อยู่
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 185/2512 เวอร์ชัน 3 คำพิพากษาฎีกานี้ มีเนื้อหาจากเว็บทางการหลายรูปแบบ
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
สิทธิการรับชำระหนี้ของผู้ค้ำประกันในคดีล้มละลาย: การยื่นคำขอรับชำระหนี้ซ้ำได้เพื่อคุ้มครองสิทธิ
หนี้เงินกู้เป็นหนี้ที่จำเลยได้ทำสัญญาค้ำประกันบริษัทส. ซึ่งได้กู้เงินเจ้าหนี้ไป แต่ปรากฏว่าบริษัท ส.ถูกพิพากษาให้ล้มละลาย เจ้าหนี้ก็ได้ยื่นคำขอรับชำระหนี้เอาจากกองทรัพย์สินของบริษัท ส. และศาลได้สั่งให้ได้รับชำระหนี้เต็มจำนวน ดังนี้การที่ศาลมีคำสั่งให้ผู้ขอรับชำระหนี้ในคดีแดงที่ 99/2507 ซึ่งบริษัท ส. เป็นลูกหนี้และล้มละลายให้ได้รับชำระหนี้นั้นมีผลเพียงให้ผู้ขอรับชำระหนี้มีสิทธิที่จะได้รับชำระหนี้เต็มจำนวนที่ได้ยื่นขอรับชำระหนี้เท่านั้น ซึ่งผู้ขอรับชำระหนี้ยังไม่ได้รับชำระหนี้รายนี้เลย จำเลยซึ่งเป็นผู้ค้ำประกันลูกหนี้ผู้ล้มละลายมีหน้าที่ผูกพันตนต่อเจ้าหนี้เพื่อชำระหนี้ในเมื่อลูกหนี้ไม่สามารถชำระหนี้ให้แก่เจ้าหนี้เต็มตามจำนวนที่เป็นหนี้ โดยผู้ขอรับชำระหนี้มีสิทธิเรียกร้องให้จำเลยชำระหนี้ได้เต็มตามจำนวนตามอำนาจของเจ้าหนี้ตามประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ มาตรา 194 และเมื่อปรากฏว่าจำเลยซึ่งเป็นผู้ค้ำประกันถูกศาลพิพากษาให้เป็นบุคคลล้มละลาย โดยหนี้นั้นลูกหนี้ยังไม่ได้ชำระหนี้แก่เจ้าหนี้ ประกอบกับพระราชบัญญัติล้มละลายมาตรา 91 ได้บัญญัติให้เจ้าหนี้ซึ่งจะขอรับชำระหนี้ในคดีล้มละลายต้องยื่นคำขอต่อเจ้าพนักงานพิทักษ์ทรัพย์ภายในกำหนดเวลา 2 เดือน นับแต่วันโฆษณาคำสั่งพิทักษ์ทรัพย์เด็ดขาด ผู้ขอรับชำระหนี้จึงมีสิทธิยื่นคำขอรับชำระหนี้ในคดีนี้ได้อีกในฐานะจำเลยผู้ล้มละลายเป็นผู้ค้ำประกันลูกหนี้ผู้ล้มละลายอีกคดีหนึ่งอยู่ ถ้าจะให้ผู้ขอรับชำระหนี้รอไว้จนกว่าจะได้รับส่วนแบ่งชำระหนี้จากคดีล้มละลายแดงที่ 99/2507 เสียก่อนก็จะพ้นกำหนดเวลายื่นคำขอรับชำระหนี้ในคดีนี้ผู้ขอรับชำระหนี้ไม่อาจจะยื่นคำขอรับชำระหนี้ได้ ทำให้ผู้ขอรับชำระหนี้เสียหายและลบล้างอำนาจของเจ้าหนี้ซึ่งมีอยู่ ฉะนั้น ผู้ขอรับชำระหนี้จึงมีสิทธิยื่นคำขอรับชำระหนี้ในคดีนี้ได้อีก แต่ผู้ขอรับชำระหนี้มีสิทธิได้รับชำระหนี้ในคดีนี้และคดีแดงที่ 99/2507 รวม 2 คดีไม่เกินจำนวนเงินตามที่เป็นเจ้าหนี้อยู่
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 185/2512
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
สิทธิการรับชำระหนี้ของผู้ค้ำประกันในคดีล้มละลาย: ยื่นคำขอได้แม้ลูกหนี้ได้รับชำระหนี้บางส่วน
หนี้เงินกู้เป็นหนี้ที่จำเลยได้ทำสัญญาค้ำประกันบริษัทส.ซึ่งได้กู้เงินเจ้าหนี้ไป.แต่ปรากฏว่าบริษัทส.ถูกพิพากษาให้ล้มละลาย. เจ้าหนี้ก็ได้ยื่นคำขอรับชำระหนี้เอาจากกองทรัพย์สินของบริษัท ส. และศาลได้สั่งให้ได้รับชำระหนี้เต็มจำนวน. ดังนี้การที่ศาลมีคำสั่งให้ผู้ขอรับชำระหนี้ในคดีแดงที่ 99/2507 ซึ่งบริษัท ส. เป็นลูกหนี้และล้มละลายให้ได้รับชำระหนี้นั้นมีผลเพียงให้ผู้ขอรับชำระหนี้มีสิทธิที่จะได้รับชำระหนี้เต็มจำนวนที่ได้ยื่นขอรับชำระหนี้เท่านั้น. ซึ่งผู้ขอรับชำระหนี้ยังไม่ได้รับชำระหนี้รายนี้เลย. จำเลยซึ่งเป็นผู้ค้ำประกันลูกหนี้ผู้ล้มละลายมีหน้าที่ผูกพันตนต่อเจ้าหนี้เพื่อชำระหนี้.ในเมื่อลูกหนี้ไม่สามารถชำระหนี้ให้แก่เจ้าหนี้เต็มตามจำนวนที่เป็นหนี้. โดยผู้ขอรับชำระหนี้มีสิทธิเรียกร้องให้จำเลยชำระหนี้ได้เต็มตามจำนวนตามอำนาจของเจ้าหนี้ตามประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ มาตรา 194. และเมื่อปรากฏว่าจำเลยซึ่งเป็นผู้ค้ำประกันถูกศาลพิพากษาให้เป็นบุคคลล้มละลาย โดยหนี้นั้น.ลูกหนี้ยังไม่ได้ชำระหนี้แก่เจ้าหนี้. ประกอบกับพระราชบัญญัติล้มละลาย มาตรา 91 ได้บัญญัติให้เจ้าหนี้ซึ่งจะขอรับชำระหนี้ในคดีล้มละลายต้องยื่นคำขอต่อเจ้าพนักงานพิทักษ์ทรัพย์ภายในกำหนดเวลา 2 เดือน นับแต่วันโฆษณาคำสั่งพิทักษ์ทรัพย์เด็ดขาด. ผู้ขอรับชำระหนี้จึงมีสิทธิยื่นคำขอรับชำระหนี้ในคดีนี้ได้อีกในฐานะจำเลยผู้ล้มละลายเป็นผู้ค้ำประกันลูกหนี้ผู้ล้มละลายอีกคดีหนึ่งอยู่. ถ้าจะให้ผู้ขอรับชำระหนี้รอไว้จนกว่าจะได้รับส่วนแบ่งชำระหนี้จากคดีล้มละลายแดงที่ 99/2507 เสียก่อน.ก็จะพ้นกำหนดเวลายื่นคำขอรับชำระหนี้ในคดีนี้.ผู้ขอรับชำระหนี้ไม่อาจจะยื่นคำขอรับชำระหนี้ได้. ทำให้ผู้ขอรับชำระหนี้เสียหายและลบล้างอำนาจของเจ้าหนี้ซึ่งมีอยู่. ฉะนั้น ผู้ขอรับชำระหนี้จึงมีสิทธิยื่นคำขอรับชำระหนี้ในคดีนี้ได้อีก. แต่ผู้ขอรับชำระหนี้มีสิทธิได้รับชำระหนี้ในคดีนี้และคดีแดงที่ 99/2507 รวม 2 คดีไม่เกินจำนวนเงินตามที่เป็นเจ้าหนี้อยู่.
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 1850/2511 เวอร์ชัน 2 คำพิพากษาฎีกานี้ มีเนื้อหาจากเว็บทางการหลายรูปแบบ
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
การชำระค่าทดแทนเวนคืนให้ผู้ไม่มีสิทธิ เจ้าหน้าที่ต้องรับผิดชอบชำระให้เจ้าของที่ดินที่แท้จริง
คณะกรรมการเวนคืนอสังหาริมทรัพย์ฯ ได้จ่ายเงินค่าทำขวัญทดแทนรายของโจทก์ ให้แก่ผู้ที่ไม่มีอำนาจรับชำระ อันเป็นการชำระหนี้ผิดไป คณะกรรมการจึงต้องชำระให้โจทก์ใหม่
มาตรา 10 แห่งพระราชบัญญัติว่าด้วยการเวนคืนอสังหาริมทรัพย์พ.ศ.2497 เป็นบทบัญญัติว่าด้วยผู้รับประโยชน์ในการที่จะได้รับชดใช้จากเงินค่าทำขวัญทดแทน เช่นผู้รับจำนองผู้ทรงบุริมสิทธิหรือทรัพยสิทธิอย่างอื่นซึ่ง ไม่ใช่เป็นเจ้าของที่ดิน โจทก์จึงไม่อยู่ในบังคับที่จะต้องขอรับเงินค่าทำขวัญทดแทนภายใน 1 เดือน ตามมาตรา 20 สำหรับมาตรา 26 ก็ใช้บังคับเฉพาะกรณีที่เจ้าหน้าที่จ่ายเงินค่าทำขวัญทดแทนให้แก่ผู้มีสิทธิได้รับตามกฎหมายคนใดคนหนึ่งไปแล้ว เจ้าหน้าที่จึงจะไม่ต้องรับผิดชอบต่อบุคคลที่มาเสนอคำขอร้องในภายหลัง ฉะนั้น ในกรณีที่เจ้าหน้าที่จ่ายเงินให้ผู้ไม่มีสิทธิรับไป ย่อมไม่ได้รับความคุ้มครองตามมาตรานี้
มาตรา 10 แห่งพระราชบัญญัติว่าด้วยการเวนคืนอสังหาริมทรัพย์พ.ศ.2497 เป็นบทบัญญัติว่าด้วยผู้รับประโยชน์ในการที่จะได้รับชดใช้จากเงินค่าทำขวัญทดแทน เช่นผู้รับจำนองผู้ทรงบุริมสิทธิหรือทรัพยสิทธิอย่างอื่นซึ่ง ไม่ใช่เป็นเจ้าของที่ดิน โจทก์จึงไม่อยู่ในบังคับที่จะต้องขอรับเงินค่าทำขวัญทดแทนภายใน 1 เดือน ตามมาตรา 20 สำหรับมาตรา 26 ก็ใช้บังคับเฉพาะกรณีที่เจ้าหน้าที่จ่ายเงินค่าทำขวัญทดแทนให้แก่ผู้มีสิทธิได้รับตามกฎหมายคนใดคนหนึ่งไปแล้ว เจ้าหน้าที่จึงจะไม่ต้องรับผิดชอบต่อบุคคลที่มาเสนอคำขอร้องในภายหลัง ฉะนั้น ในกรณีที่เจ้าหน้าที่จ่ายเงินให้ผู้ไม่มีสิทธิรับไป ย่อมไม่ได้รับความคุ้มครองตามมาตรานี้
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 1850/2511 เวอร์ชัน 3 คำพิพากษาฎีกานี้ มีเนื้อหาจากเว็บทางการหลายรูปแบบ
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
การชำระค่าทดแทนเวนคืนให้แก่ผู้ไม่มีสิทธิ เจ้าหน้าที่ต้องชำระให้เจ้าของที่ดินอีกครั้ง
คณะกรรมการเวนคืนอสังหาริมทรัพย์ฯ ได้จ่ายเงินค่าทำขวัญทดแทนรายของโจทก์ให้แก่ผู้ที่ไม่มีอำนาจรับชำระ อันเป็นการชำระหนี้ผิดไป คณะกรรมการจึงต้องชำระให้โจทก์ใหม่
มาตรา 10 แห่งพระราชบัญญัติว่าด้วยการเวนคืนอสังหาริมทรัพย์ พ.ศ.2497 เป็นบทบัญญัติว่าด้วยผู้รับประโยชน์ในการที่จะได้รับชดใช้จากเงินค่าทำขวัญทดแทน เช่นผู้รับจำนองผู้ทรงบุริมสิทธิหรือทรัพยสิทธิอย่างอื่นซึ่งไม่ใช่เป็นเจ้าของที่ดิน โจทก์จึงไม่อยู่ในบังคับที่จะต้องขอรับเงินค่าทำขวัญทดแทนภายใน 1 เดือน ตามมาตรา 20 สำหรับมาตรา 26 ก็ใช้บังคับเฉพาะกรณีที่เจ้าหน้าที่จ่ายเงินค่าทำขวัญทดแทนให้แก่ผู้มีสิทธิได้รับตามกฎหมายคนใดคนหนึ่งไปแล้ว เจ้าหน้าที่จึงจะไม่ต้องรับผิดชอบต่อบุคคลที่มาเสนอคำขอร้องในภายหลัง ฉะนั้น ในกรณีที่เจ้าหน้าที่จ่ายเงินให้ผู้ไม่มีสิทธิรับไป ย่อมไม่ได้รับความคุ้มครองตามมาตรานี้
มาตรา 10 แห่งพระราชบัญญัติว่าด้วยการเวนคืนอสังหาริมทรัพย์ พ.ศ.2497 เป็นบทบัญญัติว่าด้วยผู้รับประโยชน์ในการที่จะได้รับชดใช้จากเงินค่าทำขวัญทดแทน เช่นผู้รับจำนองผู้ทรงบุริมสิทธิหรือทรัพยสิทธิอย่างอื่นซึ่งไม่ใช่เป็นเจ้าของที่ดิน โจทก์จึงไม่อยู่ในบังคับที่จะต้องขอรับเงินค่าทำขวัญทดแทนภายใน 1 เดือน ตามมาตรา 20 สำหรับมาตรา 26 ก็ใช้บังคับเฉพาะกรณีที่เจ้าหน้าที่จ่ายเงินค่าทำขวัญทดแทนให้แก่ผู้มีสิทธิได้รับตามกฎหมายคนใดคนหนึ่งไปแล้ว เจ้าหน้าที่จึงจะไม่ต้องรับผิดชอบต่อบุคคลที่มาเสนอคำขอร้องในภายหลัง ฉะนั้น ในกรณีที่เจ้าหน้าที่จ่ายเงินให้ผู้ไม่มีสิทธิรับไป ย่อมไม่ได้รับความคุ้มครองตามมาตรานี้
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 1850/2511
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
การชำระค่าทดแทนเวนคืนให้ผู้ไม่มีสิทธิ ทำให้เจ้าหน้าที่ต้องชำระให้เจ้าของที่ดินอีกครั้ง
คณะกรรมการเวนคืนอสังหาริมทรัพย์ฯ ได้จ่ายเงินค่าทำขวัญทดแทนรายของโจทก์.ให้แก่ผู้ที่ไม่มีอำนาจรับชำระ. อันเป็นการชำระหนี้ผิดไป คณะกรรมการจึงต้องชำระให้โจทก์ใหม่.
มาตรา 10 แห่งพระราชบัญญัติว่าด้วยการเวนคืนอสังหาริมทรัพย์พ.ศ.2497 เป็นบทบัญญัติว่าด้วยผู้รับประโยชน์ในการที่จะได้รับชดใช้จากเงินค่าทำขวัญทดแทน. เช่นผู้รับจำนองผู้ทรงบุริมสิทธิหรือทรัพยสิทธิอย่างอื่นซึ่ง.ไม่ใช่เป็นเจ้าของที่ดิน. โจทก์จึงไม่อยู่ในบังคับที่จะต้องขอรับเงินค่าทำขวัญทดแทนภายใน 1 เดือน ตามมาตรา 20. สำหรับมาตรา 26 ก็ใช้บังคับเฉพาะกรณีที่เจ้าหน้าที่จ่ายเงินค่าทำขวัญทดแทนให้แก่ผู้มีสิทธิได้รับตามกฎหมายคนใดคนหนึ่งไปแล้ว. เจ้าหน้าที่จึงจะไม่ต้องรับผิดชอบต่อบุคคลที่มาเสนอคำขอร้องในภายหลัง. ฉะนั้น ในกรณีที่เจ้าหน้าที่จ่ายเงินให้ผู้ไม่มีสิทธิรับไป. ย่อมไม่ได้รับความคุ้มครองตามมาตรานี้.
มาตรา 10 แห่งพระราชบัญญัติว่าด้วยการเวนคืนอสังหาริมทรัพย์พ.ศ.2497 เป็นบทบัญญัติว่าด้วยผู้รับประโยชน์ในการที่จะได้รับชดใช้จากเงินค่าทำขวัญทดแทน. เช่นผู้รับจำนองผู้ทรงบุริมสิทธิหรือทรัพยสิทธิอย่างอื่นซึ่ง.ไม่ใช่เป็นเจ้าของที่ดิน. โจทก์จึงไม่อยู่ในบังคับที่จะต้องขอรับเงินค่าทำขวัญทดแทนภายใน 1 เดือน ตามมาตรา 20. สำหรับมาตรา 26 ก็ใช้บังคับเฉพาะกรณีที่เจ้าหน้าที่จ่ายเงินค่าทำขวัญทดแทนให้แก่ผู้มีสิทธิได้รับตามกฎหมายคนใดคนหนึ่งไปแล้ว. เจ้าหน้าที่จึงจะไม่ต้องรับผิดชอบต่อบุคคลที่มาเสนอคำขอร้องในภายหลัง. ฉะนั้น ในกรณีที่เจ้าหน้าที่จ่ายเงินให้ผู้ไม่มีสิทธิรับไป. ย่อมไม่ได้รับความคุ้มครองตามมาตรานี้.