พบผลลัพธ์ทั้งหมด 283 รายการ
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 1062-1065/2512
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
ข้อยุติในคดีก่อนไม่ผูกมัดคดีใหม่ การเบิกความเท็จต้องพิจารณาจากข้อเท็จจริงในขณะนั้น
ในกรณีที่ผู้ใดถูกฟ้องหาว่าได้เบิกความเท็จไว้ในคดีใดที่ศาล. แม้ในที่สุดศาลจะได้ยอมรับฟังเป็นยุติไว้ในคดีนั้นโดยเชื่อตามที่ผู้นั้นได้เบิกความไว้. กรณีก็ไม่เป็นการผูกมัดในคดีใหม่นี้ว่าข้อความที่ผู้นั้นเบิกความไว้ครั้งนั้นจะต้องถือเอาเป็นยุติว่าเป็นความจริง. เพราะถ้าเป็นเช่นนั้นแล้ว หากเผอิญศาลรับฟังคำเบิกความของผู้ใดไว้เป็นยุติในคดีใด. ผู้นั้นก็ไม่อาจจะมีโทษฐานเบิกความเท็จได้เลย ทั้งๆที่ความจริงของคำเบิกความนั้นได้เป็นเท็จ.และสามารถพิสูจน์ให้เห็นชัดได้ในคดีที่ถูกฟ้องในชั้นหลังนี้. คำชี้ขาดของศาลในคดีที่พยานเบิกความไว้เป็นคำชี้ขาดที่ยุติระหว่างโจทก์กับจำเลยในคดีนั้นเท่านั้น. หาใช่เป็นการยุติระหว่างโจทก์ในคดีนั้นกับตัวพยานที่เบิกความเท็จในคดีนั้นด้วยไม่. แม้ว่าในคดีนี้ จำเลยที่ถูกฟ้องหาว่าเบิกความเท็จนั้นได้เป็นตัวจำเลยอยู่ในคดีเดิมที่มีการเบิกความดังกล่าวนั้นเอง. แต่จำเลยได้เข้าเบิกความในคดีนั้นในฐานะพยาน ซึ่งเป็นอีกฐานะหนึ่งต่างหากจากการเป็นตัวจำเลย. เมื่อจำเลยถูกฟ้องหาว่าเบิกความเท็จ. ก็จะยกเอาข้อยุติในฐานะเป็นจำเลยของคดีนั้นมาใช้บังคับด้วยหาได้ไม่.
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 1049/2512
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
ธนาคารพาณิชย์ไม่ใช่พ่อค้าตามประมวลกฎหมายแพ่งฯ อายุความฟ้องคดีไม่ขาด การผ่อนเวลาชำระหนี้ไม่ถือเป็นการละเมิด
คำว่าพ่อค้าตามความหมายแห่งประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์มาตรา 165(1) ต้องถือตามความรู้สึกของประชาชนธรรมดาทั่วๆ ไป เข้าใจกัน. คือหมายถึงบุคคลที่ประกอบการค้าโดยทำการซื้อสินค้ามาแล้วขายไปเป็นปกติธุระ. ไม่หมายความถึงผู้ประกอบการค้า ซึ่งไม่ได้ทำการซื้อและขายสินค้า.ธนาคารพาณิชย์ซึ่งประกอบกิจการตามพระราชบัญญัติการธนาคารพาณิชย์. ไม่ใช่พ่อค้าตามความหมายแห่งประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์มาตรา 165(1). จึงไม่อยู่ในบังคับอายุความ 2 ปีตามบทมาตราดังกล่าว.
โจทก์ฟ้องว่าจำเลยทำสัญญาค้ำประกันตามสำเนาเอกสารท้ายฟ้อง. จำเลยให้การรับว่า ลงชื่อเป็นผู้ค้ำประกันตามสำเนาเอกสารท้ายฟ้องจริง. แต่ต่อสู้ว่าลงชื่อในฐานะกรรมการกระทำการแทนบริษัทนิติบุคคล. ไม่มีเจตนาค้ำประกันเป็นส่วนตัว. ตามคำให้การจำเลยถือได้ว่า จำเลยรับว่าได้ทำสัญญาค้ำประกันจริง. แม้สัญญาค้ำประกันนั้นจะมิได้ปิดอากรแสตมป์. ซึ่งตามประมวลรัษฎากรห้ามรับฟังเป็นพยานหลักฐานในคดีแพ่ง. คดีก็ไม่จำเป็นต้องอาศัยสัญญาค้ำประกันเป็นพยานหลักฐาน. เพราะมีประเด็นแต่เพียงว่าจำเลยได้ทำสัญญาค้ำประกันเป็นส่วนตัวหรือไม่.
การผ่อนเวลาชำระหนี้ให้แก่ลูกหนี้ซึ่งทำให้ผู้ค้ำประกันหลุดพ้นจากความรับผิดนั้น. จะต้องมีการตกลงผ่อนเวลากันแน่นอนและมีผลว่า ในระหว่างผ่อนเวลานั้นเจ้าหนี้จะใช้สิทธิเรียกร้องหรือฟ้องร้องมิได้. หากเพียงแต่เมื่อหนี้ถึงกำหนดชำระ เจ้าหนี้ไม่ได้เรียกร้องให้ลูกหนี้ชำระหนี้.ยังถือไม่ได้ว่า. เป็นการผ่อนเวลาให้แก่ลูกหนี้.เพราะเจ้าหนี้อาจใช้สิทธิเรียกร้องเมื่อไรก็ได้.
การที่หนี้ถึงกำหนดชำระแล้ว. เจ้าหนี้ปล่อยเวลาให้ล่วงเลยมานานโดยมิได้เรียกร้องให้ลูกหนี้ชำระหนี้นั้น.เป็นสิทธิของเจ้าหนี้โดยชอบ. มิใช่เป็นการกระทำละเมิดต่อผู้ค้ำประกัน. (ข้อกฎหมายตามวรรคแรกวินิจฉัยโดยที่ประชุมใหญ่ ครั้งที่11/2512).
โจทก์ฟ้องว่าจำเลยทำสัญญาค้ำประกันตามสำเนาเอกสารท้ายฟ้อง. จำเลยให้การรับว่า ลงชื่อเป็นผู้ค้ำประกันตามสำเนาเอกสารท้ายฟ้องจริง. แต่ต่อสู้ว่าลงชื่อในฐานะกรรมการกระทำการแทนบริษัทนิติบุคคล. ไม่มีเจตนาค้ำประกันเป็นส่วนตัว. ตามคำให้การจำเลยถือได้ว่า จำเลยรับว่าได้ทำสัญญาค้ำประกันจริง. แม้สัญญาค้ำประกันนั้นจะมิได้ปิดอากรแสตมป์. ซึ่งตามประมวลรัษฎากรห้ามรับฟังเป็นพยานหลักฐานในคดีแพ่ง. คดีก็ไม่จำเป็นต้องอาศัยสัญญาค้ำประกันเป็นพยานหลักฐาน. เพราะมีประเด็นแต่เพียงว่าจำเลยได้ทำสัญญาค้ำประกันเป็นส่วนตัวหรือไม่.
การผ่อนเวลาชำระหนี้ให้แก่ลูกหนี้ซึ่งทำให้ผู้ค้ำประกันหลุดพ้นจากความรับผิดนั้น. จะต้องมีการตกลงผ่อนเวลากันแน่นอนและมีผลว่า ในระหว่างผ่อนเวลานั้นเจ้าหนี้จะใช้สิทธิเรียกร้องหรือฟ้องร้องมิได้. หากเพียงแต่เมื่อหนี้ถึงกำหนดชำระ เจ้าหนี้ไม่ได้เรียกร้องให้ลูกหนี้ชำระหนี้.ยังถือไม่ได้ว่า. เป็นการผ่อนเวลาให้แก่ลูกหนี้.เพราะเจ้าหนี้อาจใช้สิทธิเรียกร้องเมื่อไรก็ได้.
การที่หนี้ถึงกำหนดชำระแล้ว. เจ้าหนี้ปล่อยเวลาให้ล่วงเลยมานานโดยมิได้เรียกร้องให้ลูกหนี้ชำระหนี้นั้น.เป็นสิทธิของเจ้าหนี้โดยชอบ. มิใช่เป็นการกระทำละเมิดต่อผู้ค้ำประกัน. (ข้อกฎหมายตามวรรคแรกวินิจฉัยโดยที่ประชุมใหญ่ ครั้งที่11/2512).
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 1049/2512 เวอร์ชัน 3 คำพิพากษาฎีกานี้ มีเนื้อหาจากเว็บทางการหลายรูปแบบ
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
ธนาคารไม่ใช่พ่อค้าตามประมวลกฎหมายแพ่งฯ อายุความ 2 ปี และการผ่อนเวลาชำระหนี้ไม่ถือเป็นการละเมิด
คำว่าพ่อค้าตามความหมายแห่งประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ มาตรา 165(1) ต้องถือตามความรู้สึกของประชาชนธรรมดาทั่ว ๆ ไป เข้าใจกัน คือหมายถึงบุคคลที่ประกอบการค้าโดยทำการซื้อสินค้ามาแล้วขายไปเป็นปกติธุระ ไม่หมายความถึงผู้ประกอบการค้า ซึ่งไม่ได้ทำการซื้อและขายสินค้า ธนาคารพาณิชย์ซึ่งประกอบกิจการตามพระราชบัญญัติการธนาคารพาณิชย์ ไม่ใช่พ่อค้าตามความหมายแห่งประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ มาตรา 164 (1) จึงไม่อยู่ในบังคับอายุความ 2 ปี ตามบทมาตรา ดังกล่าว
โจทก์ฟ้องว่าจำเลยทำสัญญาค้ำประกันตามสำเนาเอกสารท้ายฟ้อง จำเลยให้การับว่า ลงชื่อเป็นผู้ค้ำประกันตามสำเนาเอกสารท้ายฟ้องจริง แต่ต่อสู้ว่าลงชื่อในฐานะกรรมการกระทำการแทนบริษัทนิติบุคคล ไม่มีเจตนาค้ำประกันเป็นส่วนตัว ตามคำให้การจำเลยถือได้ว่า จำเลยรับว่าได้ทำสัญญาค้ำประกันจริง แม้สัญญาค้ำประกันนั้นจะมิได้ปิดอากรแสตมป์ ซึ่งตามประมวลรัษฎากรห้ามรับฟังเป็นพยานหลักฐานในคดีแพ่ง คดีก็ไม่จำเป็นต้องอาศัยสัญญาค้ำประกันพยานหลักฐาน เพราะมีประเด็นแต่เพียงว่าจำเลยได้ทำสัญญาค้ำประกันเป็นส่วนตัวหรือไม่
การผ่อนเวลาชำระหนี้ให้แก่ลูกหนี้ซึ่งทำให้ผู้ค้ำประกันหลุดพ้นจากความรับผิดนั้น จะต้องมีการตกลงผ่อนเวลากันแน่นอนและมีผลว่า ในระหว่างผ่อนเวลานั้น เจ้าหนี้จะใช้สิทธิเรียกร้องหรือฟ้องร้องมิได้ หากเพียงแต่เมื่อหนี้ถึงกำหนดชำระ เจ้าหนี้ไม่ได้เรียกร้องให้ลูกหนี้ชำระหนี้ ยังถือไม่ได้ว่า เป็นการผ่อนเวลาให้แก่ลูกหนี้ เพราะเจ้าหนี้อาจใช้สิทธิเรียกร้องเมื่อไรก็ได้
การที่หนี้ถึงกำหนดชำระแล้ว เจ้าหนี้ปล่อยเวลาให้ล่วงเลยมานานได้มิได้เรียกร้องให้ลูกหนี้ชำระหนี้ เป็นสิทธิของเจ้าหนี้โดยชอบ มิใช่เป็นการกระทำละเมิดต่อผู้ค้ำประกัน
(ข้อกฎหมายตามวรรคแรกวินิจฉัยโดยที่ประชุมใหญ่ ครั้งที่ 11/2512)
โจทก์ฟ้องว่าจำเลยทำสัญญาค้ำประกันตามสำเนาเอกสารท้ายฟ้อง จำเลยให้การับว่า ลงชื่อเป็นผู้ค้ำประกันตามสำเนาเอกสารท้ายฟ้องจริง แต่ต่อสู้ว่าลงชื่อในฐานะกรรมการกระทำการแทนบริษัทนิติบุคคล ไม่มีเจตนาค้ำประกันเป็นส่วนตัว ตามคำให้การจำเลยถือได้ว่า จำเลยรับว่าได้ทำสัญญาค้ำประกันจริง แม้สัญญาค้ำประกันนั้นจะมิได้ปิดอากรแสตมป์ ซึ่งตามประมวลรัษฎากรห้ามรับฟังเป็นพยานหลักฐานในคดีแพ่ง คดีก็ไม่จำเป็นต้องอาศัยสัญญาค้ำประกันพยานหลักฐาน เพราะมีประเด็นแต่เพียงว่าจำเลยได้ทำสัญญาค้ำประกันเป็นส่วนตัวหรือไม่
การผ่อนเวลาชำระหนี้ให้แก่ลูกหนี้ซึ่งทำให้ผู้ค้ำประกันหลุดพ้นจากความรับผิดนั้น จะต้องมีการตกลงผ่อนเวลากันแน่นอนและมีผลว่า ในระหว่างผ่อนเวลานั้น เจ้าหนี้จะใช้สิทธิเรียกร้องหรือฟ้องร้องมิได้ หากเพียงแต่เมื่อหนี้ถึงกำหนดชำระ เจ้าหนี้ไม่ได้เรียกร้องให้ลูกหนี้ชำระหนี้ ยังถือไม่ได้ว่า เป็นการผ่อนเวลาให้แก่ลูกหนี้ เพราะเจ้าหนี้อาจใช้สิทธิเรียกร้องเมื่อไรก็ได้
การที่หนี้ถึงกำหนดชำระแล้ว เจ้าหนี้ปล่อยเวลาให้ล่วงเลยมานานได้มิได้เรียกร้องให้ลูกหนี้ชำระหนี้ เป็นสิทธิของเจ้าหนี้โดยชอบ มิใช่เป็นการกระทำละเมิดต่อผู้ค้ำประกัน
(ข้อกฎหมายตามวรรคแรกวินิจฉัยโดยที่ประชุมใหญ่ ครั้งที่ 11/2512)
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 1049/2512 เวอร์ชัน 2 คำพิพากษาฎีกานี้ มีเนื้อหาจากเว็บทางการหลายรูปแบบ
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
ธนาคารไม่ใช่พ่อค้าตาม ปพพ.มาตรา 165(1) อายุความฟ้อง 2 ปีไม่ใช้กับคดีนี้ สัญญาค้ำประกันไม่ปิดอากรแสตมป์ใช้ได้
คำว่าพ่อค้าตามความหมายแห่งประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์มาตรา 165(1) ต้องถือตามความรู้สึกของประชาชนธรรมดาทั่วๆ ไป เข้าใจกัน คือหมายถึงบุคคลที่ประกอบการค้าโดยทำการซื้อสินค้ามาแล้วขายไปเป็นปกติธุระ ไม่หมายความถึงผู้ประกอบการค้า ซึ่งไม่ได้ทำการซื้อและขายสินค้า ธนาคารพาณิชย์ซึ่งประกอบกิจการตามพระราชบัญญัติการธนาคารพาณิชย์ ไม่ใช่พ่อค้าตามความหมายแห่งประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ มาตรา 165(1) จึงไม่อยู่ในบังคับอายุความ 2 ปีตามบทมาตราดังกล่าว
โจทก์ฟ้องว่าจำเลยทำสัญญาค้ำประกันตามสำเนาเอกสารท้ายฟ้องจำเลยให้การรับว่า ลงชื่อเป็นผู้ค้ำประกันตามสำเนาเอกสารท้ายฟ้องจริง แต่ต่อสู้ว่าลงชื่อในฐานะกรรมการกระทำการแทนบริษัทนิติบุคคล ไม่มีเจตนาค้ำประกันเป็นส่วนตัว ตามคำให้การจำเลยถือได้ว่า จำเลยรับว่าได้ทำสัญญาค้ำประกันจริง แม้สัญญาค้ำประกันนั้นจะมิได้ปิดอากรแสตมป์ ซึ่งตามประมวลรัษฎากรห้ามรับฟังเป็นพยานหลักฐานในคดีแพ่ง คดีก็ไม่จำเป็นต้องอาศัยสัญญาค้ำประกันเป็นพยานหลักฐาน เพราะมีประเด็นแต่เพียงว่าจำเลยได้ทำสัญญาค้ำประกันเป็นส่วนตัวหรือไม่
การผ่อนเวลาชำระหนี้ให้แก่ลูกหนี้ซึ่งทำให้ผู้ค้ำประกันหลุดพ้นจากความรับผิดนั้น จะต้องมีการตกลงผ่อนเวลากันแน่นอนและมีผลว่า ในระหว่างผ่อนเวลานั้นเจ้าหนี้จะใช้สิทธิเรียกร้องหรือฟ้องร้องมิได้ หากเพียงแต่เมื่อหนี้ถึงกำหนดชำระ เจ้าหนี้ไม่ได้เรียกร้องให้ลูกหนี้ชำระหนี้ยังถือไม่ได้ว่า เป็นการผ่อนเวลาให้แก่ลูกหนี้ เพราะเจ้าหนี้อาจใช้สิทธิเรียกร้องเมื่อไรก็ได้
การที่หนี้ถึงกำหนดชำระแล้ว เจ้าหนี้ปล่อยเวลาให้ล่วงเลยมานานโดยมิได้เรียกร้องให้ลูกหนี้ชำระหนี้นั้น เป็นสิทธิของเจ้าหนี้โดยชอบ มิใช่เป็นการกระทำละเมิดต่อผู้ค้ำประกัน (ข้อกฎหมายตามวรรคแรกวินิจฉัยโดยที่ประชุมใหญ่ ครั้งที่ 11/2512)
โจทก์ฟ้องว่าจำเลยทำสัญญาค้ำประกันตามสำเนาเอกสารท้ายฟ้องจำเลยให้การรับว่า ลงชื่อเป็นผู้ค้ำประกันตามสำเนาเอกสารท้ายฟ้องจริง แต่ต่อสู้ว่าลงชื่อในฐานะกรรมการกระทำการแทนบริษัทนิติบุคคล ไม่มีเจตนาค้ำประกันเป็นส่วนตัว ตามคำให้การจำเลยถือได้ว่า จำเลยรับว่าได้ทำสัญญาค้ำประกันจริง แม้สัญญาค้ำประกันนั้นจะมิได้ปิดอากรแสตมป์ ซึ่งตามประมวลรัษฎากรห้ามรับฟังเป็นพยานหลักฐานในคดีแพ่ง คดีก็ไม่จำเป็นต้องอาศัยสัญญาค้ำประกันเป็นพยานหลักฐาน เพราะมีประเด็นแต่เพียงว่าจำเลยได้ทำสัญญาค้ำประกันเป็นส่วนตัวหรือไม่
การผ่อนเวลาชำระหนี้ให้แก่ลูกหนี้ซึ่งทำให้ผู้ค้ำประกันหลุดพ้นจากความรับผิดนั้น จะต้องมีการตกลงผ่อนเวลากันแน่นอนและมีผลว่า ในระหว่างผ่อนเวลานั้นเจ้าหนี้จะใช้สิทธิเรียกร้องหรือฟ้องร้องมิได้ หากเพียงแต่เมื่อหนี้ถึงกำหนดชำระ เจ้าหนี้ไม่ได้เรียกร้องให้ลูกหนี้ชำระหนี้ยังถือไม่ได้ว่า เป็นการผ่อนเวลาให้แก่ลูกหนี้ เพราะเจ้าหนี้อาจใช้สิทธิเรียกร้องเมื่อไรก็ได้
การที่หนี้ถึงกำหนดชำระแล้ว เจ้าหนี้ปล่อยเวลาให้ล่วงเลยมานานโดยมิได้เรียกร้องให้ลูกหนี้ชำระหนี้นั้น เป็นสิทธิของเจ้าหนี้โดยชอบ มิใช่เป็นการกระทำละเมิดต่อผู้ค้ำประกัน (ข้อกฎหมายตามวรรคแรกวินิจฉัยโดยที่ประชุมใหญ่ ครั้งที่ 11/2512)
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 1047/2512 เวอร์ชัน 2 คำพิพากษาฎีกานี้ มีเนื้อหาจากเว็บทางการหลายรูปแบบ
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
การประกันตัวระหว่างฎีกาในคดีความผิดของพนักงานรัฐ: ราคาประกันที่เหมาะสมและความรับผิดของนายประกัน
ศาลอุทธรณ์พิพากษาว่าจำเลยผิดตามพระราชบัญญัติว่าด้วยความผิดของพนักงานในองค์การหรือหน่วยงานของรัฐ พ.ศ.2502มาตรา 4 ซึ่งมีอัตราโทษจำคุกอย่างสูงถึงตลอดชีวิตและปรับไม่เกิน 40,000 บาท ให้จำคุกจำเลย 7 ปีและให้จำเลยคืนหรือใช้ราคาทรัพย์ด้วย จำเลยฎีกาและร้องขอให้ปล่อยชั่วคราวในระหว่างฎีกา ศาลอนุญาตให้ประกันตีราคา 100,000 บาท การปล่อยชั่วคราวโดยให้ประกันตัวจำเลยระหว่างฎีกาเป็นราคา 100,000 บาทในกรณีเช่นนี้ ไม่เป็นการเรียกประกันเกินควร และไม่ขัดต่อรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย มาตรา 28 แต่อย่างไร
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 1047/2512 เวอร์ชัน 3 คำพิพากษาฎีกานี้ มีเนื้อหาจากเว็บทางการหลายรูปแบบ
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
การประกันตัวระหว่างฎีกาและการปรับนายประกัน: ศาลพิจารณาโทษจำคุกและปรับควบคู่กันได้
ศาลอุทธรณ์พิพากษาว่าจำเลยผิดตามพระราชบัญญัติว่าด้วยความผิดของพนักงานในองค์การหรือหน่วยงานของรัฐ พ.ศ. 2502 มาตรา 4 ซึ่งมีอัตราโทษจำคุกอย่างสูงถึงตลอดชีวิต และปรับไม่เกิน 40,000 บาท ให้จำคุกจำเลย 7 ปี และให้จำเลยคืนหรือใช้ราคาทรัพย์ด้วย จำเลยฎีกาและร้องขอให้ปล่อยชั่วคราวในระหว่างฎีกาศาลอนุญาตให้ประกัน ตีราคา 100,000 บาท การปล่อยชั่วคราวโดยให้ประกันตัวจำเลยระหว่างฎีกาเป็นราคา 100,000 บาท ในกรณีเช่นนี้ ไม่เป็นการเรียกประกันเกินควรและไม่ขัดต่อรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย มาตรา 28 แต่อย่างไร
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 1047/2512
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
การประกันตัวระหว่างฎีกาคดีทุจริต: ศาลยืนราคาประกัน 100,000 บาท ไม่เกินควร
ศาลอุทธรณ์พิพากษาว่าจำเลยผิดตามพระราชบัญญัติว่าด้วยความผิดของพนักงานในองค์การหรือหน่วยงานของรัฐ พ.ศ.2502มาตรา 4. ซึ่งมีอัตราโทษจำคุกอย่างสูงถึงตลอดชีวิตและปรับไม่เกิน 40,000 บาท. ให้จำคุกจำเลย 7 ปีและให้จำเลยคืนหรือใช้ราคาทรัพย์ด้วย. จำเลยฎีกาและร้องขอให้ปล่อยชั่วคราวในระหว่างฎีกา. ศาลอนุญาตให้ประกันตีราคา 100,000 บาท. การปล่อยชั่วคราวโดยให้ประกันตัวจำเลยระหว่างฎีกาเป็นราคา 100,000 บาทในกรณีเช่นนี้.ไม่เป็นการเรียกประกันเกินควร. และไม่ขัดต่อรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย มาตรา 28 แต่อย่างไร.
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 944/2512 เวอร์ชัน 2 คำพิพากษาฎีกานี้ มีเนื้อหาจากเว็บทางการหลายรูปแบบ
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
สัญญาเช่าเพิ่มเติมและสัญญาต่างตอบแทนพิเศษ: สิทธิในการนำสืบพยานหลักฐาน
ทำสัญญาเช่าห้องแถวสองชั้นฉบับแรกมีกำหนด 3 ปีระหว่างอายุสัญญาเช่าได้ทำสัญญาอีก 1 ฉบับ โดยผู้ให้เช่ารับจะให้เช่าห้องดังกล่าวต่อจากสัญญาเช่าฉบับแรกอีก 9 ปี และผู้เช่ารับภาระซ่อมแซมต่อเติมพื้นประตูและทำชั้นที่สามเพิ่ม ทั้งได้ทำการเหล่านี้แล้วสัญญาฉบับหลังย่อมเป็นสัญญาต่างตอบแทนชนิดพิเศษนอกเหนือไปจากสัญญาเช่าธรรมดา
ไม่มีกฎหมายบัญญัติให้ต้องมีเอกสารมาแสดงหรือบังคับให้จดทะเบียน
ไม่มีกฎหมายบัญญัติให้ต้องมีเอกสารมาแสดงหรือบังคับให้จดทะเบียน
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 944/2512 เวอร์ชัน 3 คำพิพากษาฎีกานี้ มีเนื้อหาจากเว็บทางการหลายรูปแบบ
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
สัญญาเช่าเพิ่มเติมและสัญญาต่างตอบแทนพิเศษ: การนำสืบพยานหลักฐานสัญญา
ทำสัญญาเช่าห้องแถวสองชั้นฉบับแรกมีกำหนด 3 ปี ระหว่างอายุสัญญาเช่าได้ทำสัญญาอีก 1 ฉบับ โดยผู้ให้เช่ารับจะให้เช่าห้องดังกล่าวต่อจากสัญญาเช่าฉบับแรกอีก 9 ปี และผู้เช่ารับภาระซ่อมแซมต่อเติมพื้นประตูและทำชั้นที่สามเพิ่ม ทั้งได้ทำการเหล่านี้แล้ว สัญญาฉบับหลังย่อมเป็นสัญญาต่างตอบแทนชนิดพิเศษนอกเหนือไปจากสัญญาเช่าธรรมดา ไม่มีกฎหมายบัญญัติให้ต้องมีเอกสารมาแสดงหรือบังคับให้จดทะเบียน
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 944/2512
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
สัญญาเช่าเพิ่มเติมและสัญญาต่างตอบแทนพิเศษ: สิทธิในการนำสืบพยาน
ทำสัญญาเช่าห้องแถวสองชั้นฉบับแรกมีกำหนด 3 ปี.ระหว่างอายุสัญญาเช่าได้ทำสัญญาอีก 1 ฉบับ โดยผู้ให้เช่ารับจะให้เช่าห้องดังกล่าวต่อจากสัญญาเช่าฉบับแรกอีก 9ปี และผู้เช่ารับภาระซ่อมแซมต่อเติมพื้นประตู.และทำชั้นที่สามเพิ่ม ทั้งได้ทำการเหล่านี้แล้ว. สัญญาฉบับหลังย่อมเป็นสัญญาต่างตอบแทนชนิดพิเศษนอกเหนือไปจากสัญญาเช่าธรรมดา. ไม่มีกฎหมายบัญญัติให้ต้องมีเอกสารมาแสดงหรือบังคับให้จดทะเบียน.