พบผลลัพธ์ทั้งหมด 283 รายการ
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 701/2513 เวอร์ชัน 2 คำพิพากษาฎีกานี้ มีเนื้อหาจากเว็บทางการหลายรูปแบบ
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
การหักกลบลบหนี้ค่าหุ้นในคดีล้มละลาย: มาตรา 1119 วรรค 2 พ.ร.บ.แพ่งฯ ห้ามใช้สิทธิหักกลบลบหนี้
ผู้ร้องเป็นผู้ถือหุ้นของบริษัทจำกัดและยังค้างชำระเงินค่าหุ้นอยู่แต่ผู้ร้องก็เป็นเจ้าหนี้บริษัทเพราะได้ชำระหนี้แทนไปในฐานะผู้ค้ำประกันต่อมาเมื่อบริษัทล้มละลายและเจ้าพนักงานพิทักษ์ทรัพย์แจ้งให้ชำระเงินค่าหุ้นผู้ร้องจะขอให้เอาหนี้ดังกล่าวนี้หักกลบลบกันหาได้ไม่
(ประชุมใหญ่ครั้งที่ 16/2513)
(ประชุมใหญ่ครั้งที่ 16/2513)
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 701/2513
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
การหักกลบลบหนี้ค่าหุ้นในคดีล้มละลาย: มาตรา 1119 วรรค 2 พ.ร.บ.แพ่งฯ ห้ามโดยเด็ดขาด
ผู้ร้องเป็นผู้ถือหุ้นของบริษัทจำกัดและยังค้างชำระเงินค่าหุ้นอยู่แต่ผู้ร้องก็เป็นเจ้าหนี้บริษัทเพราะได้ชำระหนี้แทนไปในฐานะผู้ค้ำประกันต่อมาเมื่อบริษัทล้มละลายและเจ้าพนักงานพิทักษ์ทรัพย์แจ้งให้ชำระเงินค่าหุ้นผู้ร้องจะขอให้เอาหนี้ดังกล่าวนี้หักกลบลบกันหาได้ไม่
(ประชุมใหญ่ครั้งที่ 16/2513)
(ประชุมใหญ่ครั้งที่ 16/2513)
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 662/2513
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
สัญญาเช่าซื้อที่ไม่สมบูรณ์ และความรับผิดของคู่สัญญาเมื่อมีการผิดสัญญา โดยจำเลยที่ 2 ไม่ต้องรับผิด
โจทก์และจำเลยที่ 1 อยู่กินกันโดยไม่จดทะเบียนสมรสได้ตกลงกันให้จำเลยที่ 1 ซึ่งเป็นผู้มีสิทธิเช่าซื้ออาคารสงเคราะห์เป็นผู้เช่าซื้อโดยโจทก์เป็นผู้ออกเงินค่าเช่าซื้อ และภายหลังเมื่อจำเลยที่ 1 ได้กรรมสิทธิ์ในอาคารนั้นแล้วให้โอนกรรมสิทธิ์แก่โจทก์หรือบุตรเมื่อจำเลยที่ 1 มิได้ปฏิบัติตามข้อตกลงให้สำเร็จลุล่วงไป แต่กลับเอาสิทธิการเช่าซื้อไปโอนให้จำเลยที่ 2 เสีย เป็นเหตุให้โจทก์หรือบุตรไม่อาจรับโอนกรรมสิทธิ์ในทรัพย์สินนั้นได้ เช่นนี้จำเลยที่ 1 ย่อมเป็นฝ่ายผิดสัญญาและต้องรับผิดชดใช้ค่าเสียหายให้โจทก์
การที่จำเลยที่ 2 รับโอนสิทธิเช่าซื้อจากจำเลยที่ 1 โดยรู้ถึงข้อตกลงระหว่างโจทก์กับจำเลยที่ 1 ดังกล่าวนั้น ไม่ถือว่าเป็นการผิดสัญญาอย่างใดกับโจทก์ เพราะระหว่างจำเลยที่ 2 กับโจทก์หาได้มีสัญญาต่อกันอย่างใดไม่และแม้โจทก์จะก่อสร้างอาคารเพิ่มเติมสิ้นเงินไป 25,000 บาท การที่จำเลยที่ 2 รับโอนสิทธิเช่าซื้ออาคารนี้มาก็ไม่เป็นลาภมิควรได้อันต้องคืนแก่โจทก์
การที่จำเลยที่ 2 รับโอนสิทธิเช่าซื้อจากจำเลยที่ 1 โดยรู้ถึงข้อตกลงระหว่างโจทก์กับจำเลยที่ 1 ดังกล่าวนั้น ไม่ถือว่าเป็นการผิดสัญญาอย่างใดกับโจทก์ เพราะระหว่างจำเลยที่ 2 กับโจทก์หาได้มีสัญญาต่อกันอย่างใดไม่และแม้โจทก์จะก่อสร้างอาคารเพิ่มเติมสิ้นเงินไป 25,000 บาท การที่จำเลยที่ 2 รับโอนสิทธิเช่าซื้ออาคารนี้มาก็ไม่เป็นลาภมิควรได้อันต้องคืนแก่โจทก์
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 662/2513 เวอร์ชัน 2 คำพิพากษาฎีกานี้ มีเนื้อหาจากเว็บทางการหลายรูปแบบ
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
สัญญาเช่าซื้อและการผิดสัญญา จำเลยที่ 1 ต้องรับผิดชดใช้ค่าเสียหายให้โจทก์จากการไม่โอนกรรมสิทธิ์
โจทก์และจำเลยที่ 1 อยู่กินกันโดยไม่จดทะเบียนสมรส ได้ตกลงกันให้จำเลยที่ 1 ซึ่งเป็นผู้มีสิทธิเช่าซื้ออาคารสงเคราะห์เป็นผู้เช่าซื้อโดยโจทก์เป็นผู้ออกเงินค่าเช่าซื้อ และภายหลังเมื่อจำเลยที่ 1 ได้กรรมสิทธิ์ในอาคารนั้นแล้วให้โอนกรรมสิทธิ์แก่โจทก์หรือบุตรเมื่อจำเลยที่ 1 มิได้ปฏิบัติตามข้อตกลงให้สำเร็จลุล่วงไป แต่กลับเอาสิทธิการเช่าซื้อไปโอนให้จำเลยที่ 2 เสีย เป็นเหตุให้โจทก์หรือ บุตรไม่อาจรับโอนกรรมสิทธิ์ในทรัพย์สินนั้นได้ เช่นนี้จำเลยที่ 1 ย่อมเป็นฝ่ายผิดสัญญา และต้องรับผิดชดใช้ค่าเสียหายให้โจทก์
การที่จำเลยที่ 2 รับโอนสิทธิเช่าซื้อจากจำเลยที่ 1 โดยรู้ถึงข้อตกลงระหว่างโจทก์กับจำเลยที่ 1 ดังกล่าวนั้น ไม่ถือว่าเป็นการผิดสัญญาอย่างใดกับโจทก์ เพราะระหว่างจำเลยที่ 2 กับโจทก์หาได้มีสัญญาต่อกันอย่างใดไม่และแม้โจทก์จะก่อสร้างอาคารเพิ่มเติมสิ้นเงินไป 25,000 บาท การที่จำเลยที่ 2 รับโอนสิทธิเช่าซื้ออาคารนี้มาก็ไม่เป็นลาภมิควรได้อันต้องคืนแก่โจทก์
การที่จำเลยที่ 2 รับโอนสิทธิเช่าซื้อจากจำเลยที่ 1 โดยรู้ถึงข้อตกลงระหว่างโจทก์กับจำเลยที่ 1 ดังกล่าวนั้น ไม่ถือว่าเป็นการผิดสัญญาอย่างใดกับโจทก์ เพราะระหว่างจำเลยที่ 2 กับโจทก์หาได้มีสัญญาต่อกันอย่างใดไม่และแม้โจทก์จะก่อสร้างอาคารเพิ่มเติมสิ้นเงินไป 25,000 บาท การที่จำเลยที่ 2 รับโอนสิทธิเช่าซื้ออาคารนี้มาก็ไม่เป็นลาภมิควรได้อันต้องคืนแก่โจทก์
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 632/2513 เวอร์ชัน 2 คำพิพากษาฎีกานี้ มีเนื้อหาจากเว็บทางการหลายรูปแบบ
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
การล้างมลทินตาม พ.ร.บ.ล้างมลทินฯ และการเพิ่มโทษทางอาญา กรณีพ้นโทษหลังวันที่กฎหมายใช้บังคับ
พระราชบัญญัติล้างมลทินในโอกาสครบ 25 พุทธศตวรรษ พ.ศ. 2499มาตรา 3 ล้างมลทินให้แต่เฉพาะผู้ต้องคำพิพากษาให้ลงโทษที่ได้พ้นโทษไปแล้วก่อนหรือวันที่กฎหมายนี้ใช้บังคับ คือ วันที่ 13 พฤษภาคม 2500เมื่อข้อเท็จจริงปรากฏว่าในวันดังกล่าว จำเลยยังรับโทษกักกันอยู่ในคดีก่อนจำเลยจึงไม่ได้รับการล้างมลทิน และเมื่อจำเลยกระทำผิดฐานลักทรัพย์ภายในระยะ 10 ปี นับแต่วันที่จำเลยพ้นจากการกักกันในคดีก่อนศาลย่อมพิพากษาให้กักกันจำเลยอีกได้ตามประมวลกฎหมายอาญา มาตรา 41
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 632/2513
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
การล้างมลทินตาม พ.ร.บ.ล้างมลทินฯ และผลต่อการเพิ่มโทษซ้ำ จำเลยต้องพ้นโทษก่อนวันใช้บังคับกฎหมาย
พระราชบัญญัติล้างมลทินในโอกาสครบ 25 พุทธศตวรรษ พ.ศ. 2499 มาตรา 3 ล้างมลทินให้แต่เฉพาะผู้ต้องคำพิพากษาให้ลงโทษที่ได้พ้นโทษไปแล้วก่อนหรือวันที่กฎหมายนี้ใช้บังคับ คือ วันที่ 13 พฤษภาคม 2500เมื่อข้อเท็จจริงปรากฏว่าในวันดังกล่าว จำเลยยังรับโทษกักกันอยู่ในคดีก่อนจำเลยจึงไม่ได้รับการล้างมลทิน และเมื่อจำเลยกระทำผิดฐานลักทรัพย์ภายในระยะ 10 ปี นับแต่วันที่จำเลยพ้นจากการกักกันในคดีก่อนศาลย่อมพิพากษาให้กักกันจำเลยอีกได้ตามประมวลกฎหมายอาญา มาตรา 41
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 591/2513 เวอร์ชัน 2 คำพิพากษาฎีกานี้ มีเนื้อหาจากเว็บทางการหลายรูปแบบ
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
หน้าที่นำสืบเจ้าหนี้ในการขอเฉลี่ยทรัพย์สิน - หากไม่สืบพยาน ศาลยกคำร้องได้
ผู้ร้องขอเข้าเฉลี่ยทรัพย์อ้างว่า จำเลยไม่มีทรัพย์สินอื่นใดอีกโจทก์คัดค้านว่าหนี้ตามคำพิพากษาที่ผู้ร้องขอเฉลี่ยนั้นเป็นหนี้สมยอมกันและจำเลยยังมีทรัพย์สินอื่นซึ่งผู้ร้องอาจเอาชำระหนี้ได้ ประเด็นตกหน้าที่ผู้ร้องต้องนำสืบก่อนว่าจำเลยไม่มีทรัพย์สินอื่นที่ผู้ร้องจะบังคับเอาได้อีกแล้วถ้าผู้ร้องไม่สืบพยาน ศาลยกคำร้องได้ โดยไม่จำต้องวินิจฉัยประเด็นอื่น
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 591/2513
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
หน้าที่นำสืบผู้ร้องขอเฉลี่ยทรัพย์: จำเลยไม่มีทรัพย์สินอื่นที่บังคับชำระได้
ผู้ร้องขอเข้าเฉลี่ยทรัพย์อ้างว่า จำเลยไม่มีทรัพย์สินอื่นใดอีกโจทก์คัดค้านว่าหนี้ตามคำพิพากษาที่ผู้ร้องขอเฉลี่ยนั้นเป็นหนี้สมยอมกันและจำเลยยังมีทรัพย์สินอื่นซึ่งผู้ร้องอาจเอาชำระหนี้ได้ ประเด็นตกหน้าที่ผู้ร้องต้องนำสืบก่อนว่า จำเลยไม่มีทรัพย์สินอื่นที่ผู้ร้องจะบังคับเอาได้อีกแล้วถ้าผู้ร้องไม่สืบพยาน ศาลยกคำร้องได้โดยไม่จำต้องวินิจฉัยประเด็นอื่น
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 558/2513 เวอร์ชัน 2 คำพิพากษาฎีกานี้ มีเนื้อหาจากเว็บทางการหลายรูปแบบ
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
การได้มาซึ่งกรรมสิทธิ์โดยการครอบครองปรปักษ์จากคำให้การที่แสดงเจตนาเป็นเจ้าของ
คำให้การจำเลยที่ 1 สรุปความได้ว่า ที่พิพาทซึ่งเป็นที่ดินของจำเลยที่ 1ปลูกบ้านอยู่อาศัยถาวรได้ครอบครองทำกินปลูกต้นผลไม้มาจนปัจจุบันเป็นเวลา 30-40 ปี โจทก์ทั้งหกกับจำเลยที่ 2 ถึงที่ 5 ได้ขอลงชื่อร่วมในโฉนดที่จะรังวัดแบ่งแยกใหม่ให้กับจำเลยที่ 1 จำเลยที่ 1 จึงได้คัดค้านกับขอถอนถ้อยคำในบันทึก โจทก์ที่ 1 ถึงที่ 5 ได้ยอมทำหนังสือรับรองกรรมสิทธิ์ในที่ดินแปลงพิพาทของจำเลยที่ 1 ว่าจำเลยที่ 1 มีกรรมสิทธิ์อยู่ประมาณ11 ไร่เศษ ข้อความในคำให้การจำเลยที่ 1 ดังกล่าว แสดงเจตนาอย่างชัดแจ้งหรือยืนยันว่ากรรมสิทธิ์ในที่พิพาทเป็นของตนโดยการครอบครองมา อันเป็นการครอบครองปรปักษ์นั่นเอง ดังนี้ ถือว่าจำเลยที่ 1 ได้ให้การต่อสู้ว่าได้กรรมสิทธิ์ที่พิพาทโดยการครอบครองปรปักษ์แล้ว
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 558/2513
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
การได้มาซึ่งกรรมสิทธิ์โดยการครอบครองปรปักษ์จากคำให้การที่แสดงเจตนาเป็นเจ้าของ
คำให้การจำเลยที่ 1 สรุปความได้ว่า ที่พิพาทซึ่งเป็นที่ดินของจำเลยที่ 1 ปลูกบ้านอยู่อาศัยถาวรได้ครอบครองทำกินปลูกต้นผลไม้มาจนปัจจุบันเป็นเวลา 30-40 ปี โจทก์ทั้งหกกับจำเลยที่ 2 ถึงที่ 5 ได้ขอลงชื่อร่วมในโฉนดที่จะรังวัดแบ่งแยกใหม่ให้กับจำเลยที่ 1 จำเลยที่ 1 จึงได้คัดค้าน กับขอถอนถ้อยคำในบันทึกโจทก์ที่ 1 ถึงที่ 5 ได้ยอมทำหนังสือรับรองกรรมสิทธิ์ในที่ดินแปลงพิพาทของจำเลยที่ 1 ว่าจำเลยที่ 1 มีกรรมสิทธิ์อยู่ประมาณ 11 ไร่เศษ ข้อความในคำให้การจำเลยที่ 1 ดังกล่าว แสดงเจตนาอย่างชัดแจ้งหรือยืนยันว่ากรรมสิทธิ์ในที่พิพาทเป็นของตนโดยการครอบครองมา อันเป็นการครอบครองปรปักษ์นั่นเอง ดังนี้ ถือว่าจำเลยที่ 1 ได้ให้การต่อสู้ว่า ได้กรรมสิทธิ์ที่พิพาทโดยการครอบครองปรปักษ์แล้ว