พบผลลัพธ์ทั้งหมด 304 รายการ
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 156/2513 เวอร์ชัน 2 คำพิพากษาฎีกานี้ มีเนื้อหาจากเว็บทางการหลายรูปแบบ
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
ความรับผิดของสมาคมจากสัญญาค้ำประกันและการรับสภาพหนี้ ทำให้คดีไม่ขาดอายุความ
เมื่อข้อบังคับของสมาคมบัญญัติว่า ให้นายกสมาคมมีอำนาจสั่งจ่ายเงินเพื่อกิจการของสมาคมได้ และเหรัญญิกจะจ่ายเงินของสมาคมทุกครั้งจะต้องได้รับอนุมัติจากนายกสมาคมก่อน การลงชื่อในเช็คเพื่อจ่ายเงินของสมาคม ให้นายก เหรัญญิกและเลขาธิการลงชื่อร่วมกัน โดยประทับตราของสมาคมไว้ เมื่อข้อบังคับบัญญัติไว้เช่นนี้ จำเลยที่ 2,3,4 จึงทำสัญญาแทนสมาคมได้ สมาคมจึงต้องรับผิดตามสัญญานั้น
สมาคมกู้เงินธนาคารโจทก์โดยวิธีเบิกเงินเกินบัญชี ต่อมาภายในกำหนดอายุความ นายกสมาคมคนใหม่ได้มีหนังสือถึงธนาคารรับว่าเป็นหนี้ธนาคารโจทก์จริง และขอปิดบัญชี ส่วนหนี้ซึ่งค้างชำระจะขอผ่อนชำระให้จนกว่าจะหมดสิ้น จึงเป็นหนังสือรับสภาพหนี้ อายุความฟ้องร้องจึงสะดุดหยุดลง คดีของโจทก์จึงไม่ขาดอายุความ
ประเพณีการค้าที่คำนวณดอกเบี้ยทบต้นในบัญชีเดินสะพัดหรือในการค้าอย่างอื่นในทำนองเดียวกัน แม้กฎหมายยอมให้คิดดอกเบี้ยทบต้นเป็นพิเศษก็ดี แต่ถ้าบัญชีเดินสะพัดนั้นมีการหักทอนหนี้และเรียกร้องให้ชำระเงินคงเหลือ อันเป็นการเลิกสัญญาบัญชีเดินสะพัดตามประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ มาตรา 856, 859 และลูกหนี้ผิดนัดแล้ว ซึ่งลูกหนี้จะเบิกเงินเกินบัญชีไม่ได้ ย่อมไม่มีเหตุที่ธนาคารจะอ้างมาคิดดอกเบี้ยทบต้นต่อไป ทั้งตามกฎหมายก็ห้ามมิให้คิดดอกเบี้ยซ้อนดอกเบี้ยในระหว่างผิดนัดด้วย
สมาคมกู้เงินธนาคารโจทก์โดยวิธีเบิกเงินเกินบัญชี ต่อมาภายในกำหนดอายุความ นายกสมาคมคนใหม่ได้มีหนังสือถึงธนาคารรับว่าเป็นหนี้ธนาคารโจทก์จริง และขอปิดบัญชี ส่วนหนี้ซึ่งค้างชำระจะขอผ่อนชำระให้จนกว่าจะหมดสิ้น จึงเป็นหนังสือรับสภาพหนี้ อายุความฟ้องร้องจึงสะดุดหยุดลง คดีของโจทก์จึงไม่ขาดอายุความ
ประเพณีการค้าที่คำนวณดอกเบี้ยทบต้นในบัญชีเดินสะพัดหรือในการค้าอย่างอื่นในทำนองเดียวกัน แม้กฎหมายยอมให้คิดดอกเบี้ยทบต้นเป็นพิเศษก็ดี แต่ถ้าบัญชีเดินสะพัดนั้นมีการหักทอนหนี้และเรียกร้องให้ชำระเงินคงเหลือ อันเป็นการเลิกสัญญาบัญชีเดินสะพัดตามประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ มาตรา 856, 859 และลูกหนี้ผิดนัดแล้ว ซึ่งลูกหนี้จะเบิกเงินเกินบัญชีไม่ได้ ย่อมไม่มีเหตุที่ธนาคารจะอ้างมาคิดดอกเบี้ยทบต้นต่อไป ทั้งตามกฎหมายก็ห้ามมิให้คิดดอกเบี้ยซ้อนดอกเบี้ยในระหว่างผิดนัดด้วย
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 156/2513
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
อำนาจกรรมการทำสัญญาแทนสมาคม, การรับสภาพหนี้ และอายุความเบิกเงินเกินบัญชี
เมื่อข้อบังคับของสมาคมบัญญัติว่า ให้นายกสมาคมมีอำนาจสั่งจ่ายเงินเพื่อกิจการของสมาคมได้ และเหรัญญิกจะจ่ายเงินของสมาคมทุกครั้งจะต้องได้รับอนุมัติจากนายกสมาคมก่อน การลงชื่อในเช็คเพื่อจ่ายเงินของสมาคม ให้นายก เหรัญญิก และเลขาธิการลงชื่อร่วมกันโดยประทับตราของสมาคมไว้ เมื่อข้อบังคับบัญญัติไว้เช่นนี้ จำเลยที่ 2, 3, 4 จึงทำสัญญาแทนสมาคมได้ สมาคมจึงต้องรับผิดตามสัญญานั้น
สมาคมกู้เงินธนาคารโจทก์โดยวิธีเบิกเงินเกินบัญชี ต่อมาภายในกำหนดอายุความ นายกสมาคมคนใหม่ได้มีหนังสือถึงธนาคารรับว่าเป็นหนี้ธนาคารโจทก์จริง และขอปิดบัญชีส่วนหนี้ซึ่งค้างชำระจะขอผ่อนชำระให้จนกว่าจะหมดสิ้น จึงเป็นหนังสือรับสภาพหนี้ อายุความฟ้องร้องจึงสะดุดหยุดลง คดีของโจทก์จึงไม่ขาดอายุความ
ประเพณีการค้าที่คำนวณดอกเบี้ยทบต้นในบัญชีเดินสะพัดหรือในการค้าอย่างอื่นในทำนองเดียวกัน แม้กฎหมายยอมให้คิดดอกเบี้ยทบต้นเป็นพิเศษก็ดี แต่ถ้าบัญชีเดินสะพัดนั้นมีการหักทอนหนี้และเรียกร้องให้ชำระเงินคงเหลือ อันเป็นการเลิกสัญญาบัญชีเดินสะพัดตามประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ มาตรา 856, 859 และลูกหนี้ผิดนัดแล้วซึ่งลูกหนี้จะเบิกเงินเกินบัญชีไม่ได้ ย่อมไม่มีเหตุที่ธนาคารจะอ้างมาคิดดอกเบี้ยทบต้นต่อไป ทั้งตามกฎหมายก็ห้ามมิให้คิดดอกเบี้ยซ้อนดอกเบี้ยในระหว่างผิดนัดด้วย
สมาคมกู้เงินธนาคารโจทก์โดยวิธีเบิกเงินเกินบัญชี ต่อมาภายในกำหนดอายุความ นายกสมาคมคนใหม่ได้มีหนังสือถึงธนาคารรับว่าเป็นหนี้ธนาคารโจทก์จริง และขอปิดบัญชีส่วนหนี้ซึ่งค้างชำระจะขอผ่อนชำระให้จนกว่าจะหมดสิ้น จึงเป็นหนังสือรับสภาพหนี้ อายุความฟ้องร้องจึงสะดุดหยุดลง คดีของโจทก์จึงไม่ขาดอายุความ
ประเพณีการค้าที่คำนวณดอกเบี้ยทบต้นในบัญชีเดินสะพัดหรือในการค้าอย่างอื่นในทำนองเดียวกัน แม้กฎหมายยอมให้คิดดอกเบี้ยทบต้นเป็นพิเศษก็ดี แต่ถ้าบัญชีเดินสะพัดนั้นมีการหักทอนหนี้และเรียกร้องให้ชำระเงินคงเหลือ อันเป็นการเลิกสัญญาบัญชีเดินสะพัดตามประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ มาตรา 856, 859 และลูกหนี้ผิดนัดแล้วซึ่งลูกหนี้จะเบิกเงินเกินบัญชีไม่ได้ ย่อมไม่มีเหตุที่ธนาคารจะอ้างมาคิดดอกเบี้ยทบต้นต่อไป ทั้งตามกฎหมายก็ห้ามมิให้คิดดอกเบี้ยซ้อนดอกเบี้ยในระหว่างผิดนัดด้วย
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 1887/2512 เวอร์ชัน 2 คำพิพากษาฎีกานี้ มีเนื้อหาจากเว็บทางการหลายรูปแบบ
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
การซื้อขายที่ดินยังไม่สมบูรณ์หากยังมิได้จดทะเบียน แม้ชำระราคาและครอบครองแล้ว เจ้าหนี้มีสิทธิยึดได้
การซื้อขายที่ดินมีโฉนด แม้ผู้ซื้อจะชำระราคาเรียบร้อยและเข้าครอบครองที่ดินแล้วก็ตาม ถ้ายังไม่ได้จดทะเบียนโอนกรรมสิทธิ์ การซื้อขายย่อมยังไม่สมบูรณ์ตามกฎหมาย ฉะนั้น ผู้ซื้อที่ดินโฉนดพิพาทส่วนหนึ่งตามกรณีข้างต้นนี้ย่อมไม่มีสิทธิร้องขอให้ปล่อยที่ดินส่วนของผู้ซื้อซึ่งถูกโจทก์เจ้าหนี้ตามคำพิพากษาของผู้ขายนำยึดบังคับชำระหนี้ เพราะแม้แต่การยึดที่ดินที่ลูกหนี้ตามคำพิพากษากับผู้อื่นมีกรรมสิทธิ์รวมโดยยังมิได้แบ่งกันเป็นส่วนสัดนั้น เจ้าหนี้ตามคำพิพากษาก็ยังมีสิทธิยึดได้ทั้งแปลงแต่คดีนี้ผู้ร้องยังไม่มีกรรมสิทธิ์รวมในที่ดินที่โจทก์นำยึด จึงไม่มีสิทธิร้องขัดทรัพย์
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 1856/2512 เวอร์ชัน 2 คำพิพากษาฎีกานี้ มีเนื้อหาจากเว็บทางการหลายรูปแบบ
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
การยินยอมให้ปลูกสร้างบนที่ดินของผู้อื่น ทำให้เรือนที่สร้างไม่เป็นส่วนควบกับที่ดิน และเจ้าหนี้มีสิทธิยึดได้
จำเลยได้บุตรสาวผู้ร้องเป็นภริยา และได้ปลูกเรือนพิพาทบนที่ดินของผู้ร้องใช้เป็นที่อยู่อาศัยของจำเลยและภริยา แม้เรือนจะมีลักษณะถาวรติดที่ดิน แต่เมื่อตามพฤติการณ์เห็นได้ว่าผู้ร้องกับสามียินยอมให้ปลูกเพื่อใช้เป็นที่อยู่อาศัย กรณีจึงเข้าข้อยกเว้นตามประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ มาตรา 109 ไม่ถือว่าเรือนพิพาทเป็นส่วนควบกับที่ดินของผู้ร้องและสามี ผู้ร้องจึงไม่อาจร้องขัดทรัพย์เรือนพิพาทของจำเลยที่เจ้าหนี้ตามคำพิพากษานำยึดบังคับคดีได้
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 1856/2512
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
การยินยอมให้ปลูกเรือนบนที่ดินของผู้อื่น และผลกระทบต่อสิทธิในทรัพย์สิน
จำเลยได้บุตรสาวผู้ร้องเป็นภริยา และได้ปลูกเรือนพิพาทบนที่ดินของผู้ร้องใช้เป็นที่อยู่อาศัยของจำเลยและภริยา. แม้เรือนจะมีลักษณะถาวรติดที่ดิน แต่เมื่อตามพฤติการณ์เห็นได้ว่าผู้ร้องกับสามียินยอมให้ปลูกเพื่อใช้เป็นที่อยู่อาศัย. กรณีจึงเข้าข้อยกเว้นตามประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ มาตรา 109 ไม่ถือว่าเรือนพิพาทเป็นส่วนควบกับที่ดินของผู้ร้องและสามี. ผู้ร้องจึงไม่อาจร้องขัดทรัพย์เรือนพิพาทของจำเลยที่เจ้าหนี้ตามคำพิพากษานำยึดบังคับคดีได้.
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 1856/2512 เวอร์ชัน 3 คำพิพากษาฎีกานี้ มีเนื้อหาจากเว็บทางการหลายรูปแบบ
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
เรือนปลูกบนที่ดินผู้อื่น: การยินยอมของผู้ให้ที่ดินทำให้เรือนไม่เป็นส่วนควบ
จำเลยได้บุตรสาวผูร้องเป็นภริยา และได้ปลูกเรือนพิพาทบนที่ดินของผู้ร้องใช้เป็นที่อยู่อาศัยของจำเลยและภริยา แม้เรือนจะมีลักษณะถาวรติดที่ดิน แต่เมื่อตามพฤติการณ์เห็นได้ว่าผู้ร้องกับสามียินยอมให้ปลูกเพื่อใช้เป็นที่อยู่อาศัย กรณีจึงเข้าข้อยกเว้นตามประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ มาตรา 109 ไม่ถือว่าเรือนพิพาทเป็นส่วนควบกับที่ดินของผู้ร้องและสามี ผู้ร้องจึงไม่อาจร้องขัดทรัพย์เรือนพิพาทของจำเลยที่เจ้าหนี้ตามคำพิพากษานำยึดบังคับคดีได้
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 1807/2512 เวอร์ชัน 2 คำพิพากษาฎีกานี้ มีเนื้อหาจากเว็บทางการหลายรูปแบบ
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
สินสมรสระหว่างร้าง: ทรัพย์สินที่ได้มาระหว่างร้างแต่ยังไม่หย่าขาด ไม่เป็นสินสมรส หากได้มาโดยฝ่ายหนึ่งหามาเอง
โจทก์จำเลยเป็นสามีภริยากันก่อนใช้ประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ บรรพ 5 ต่อมาร้างกัน แต่ยังมิได้หย่าขาดจากกัน ทรัพย์สินที่ได้มาระหว่างร้างกันแม้ยังมิได้หย่าขาดจากกันตามกฎหมายก็ไม่เป็นสินสมรส เพราะเหตุว่าทรัพย์สินมิใช่ได้มาโดยการอยู่กินสมรสร่วมกัน หากเป็นโดยฝ่ายหนึ่งหามาได้ตามลำพังและแยกไว้เป็นส่วนตัวแล้ว(อ้างฎีกาที่ 1235/2494,991/2501) เมื่อไม่เป็นสินสมรส จำเลยก็มีสิทธิยกให้โดยเสน่หาได้ โดยไม่จำต้องรับความยินยอมจากโจทก์ผู้เป็นภริยาก่อน
คดีมีทุนทรัพย์ที่พิพาทไม่เกินห้าพันบาท และศาลอุทธรณ์พิพากษายืนตามศาลชั้นต้น คงฎีกาได้เฉพาะปัญหาข้อกฎหมายและในการวินิจฉัยปัญหานี้ ศาลฎีกาจำต้องถือตามข้อเท็จจริงที่ศาลอุทธรณ์วินิจฉัยจากพยานหลักฐานในสำนวนแต่ข้อเท็จจริงในปัญหาที่ว่าห้องพิพาทเป็นทรัพย์สินที่ได้มาระหว่างร้างกันหรือไม่ ศาลอุทธรณ์ยังมิได้วินิจฉัยถึง ศาลฎีกาจึงยังมิอาจที่จะวินิจฉัยข้อกฎหมายตามฎีกาจำเลยได้เพราะข้อเท็จจริงที่ศาลอุทธรณ์ฟังมาไม่พอแก่การวินิจฉัยข้อกฎหมาย ศาลฎีกาย่อมยกคำพิพากษาศาลอุทธรณ์ ให้ศาลอุทธรณ์วินิจฉัยข้อเท็จจริงในปัญหาที่ว่าห้องพิพาทเป็นทรัพย์สินที่ได้มาในระหว่างโจทก์จำเลยร้างกันจริงหรือไม่ แล้วพิพากษาใหม่ตามรูปคดี
คดีมีทุนทรัพย์ที่พิพาทไม่เกินห้าพันบาท และศาลอุทธรณ์พิพากษายืนตามศาลชั้นต้น คงฎีกาได้เฉพาะปัญหาข้อกฎหมายและในการวินิจฉัยปัญหานี้ ศาลฎีกาจำต้องถือตามข้อเท็จจริงที่ศาลอุทธรณ์วินิจฉัยจากพยานหลักฐานในสำนวนแต่ข้อเท็จจริงในปัญหาที่ว่าห้องพิพาทเป็นทรัพย์สินที่ได้มาระหว่างร้างกันหรือไม่ ศาลอุทธรณ์ยังมิได้วินิจฉัยถึง ศาลฎีกาจึงยังมิอาจที่จะวินิจฉัยข้อกฎหมายตามฎีกาจำเลยได้เพราะข้อเท็จจริงที่ศาลอุทธรณ์ฟังมาไม่พอแก่การวินิจฉัยข้อกฎหมาย ศาลฎีกาย่อมยกคำพิพากษาศาลอุทธรณ์ ให้ศาลอุทธรณ์วินิจฉัยข้อเท็จจริงในปัญหาที่ว่าห้องพิพาทเป็นทรัพย์สินที่ได้มาในระหว่างโจทก์จำเลยร้างกันจริงหรือไม่ แล้วพิพากษาใหม่ตามรูปคดี
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 1807/2512
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
สินสมรสระหว่างร้าง: ทรัพย์สินที่ได้มาขณะแยกกันอยู่ไม่เป็นสินสมรส จำเลยมีสิทธิยกให้ได้
โจทก์จำเลยเป็นสามีภริยากันก่อนใช้ประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ บรรพ 5. ต่อมาร้างกัน แต่ยังมิได้หย่าขาดจากกัน. ทรัพย์สินที่ได้มาระหว่างร้างกันแม้ยังมิได้หย่าขาดจากกันตามกฎหมายก็ไม่เป็นสินสมรส. เพราะเหตุว่าทรัพย์สินมิใช่ได้มาโดยการอยู่กินสมรสร่วมกัน. หากเป็นโดยฝ่ายหนึ่งหามาได้ตามลำพังและแยกไว้เป็นส่วนตัวแล้ว (อ้างฎีกาที่ 1235/2494,991/2501). เมื่อไม่เป็นสินสมรส. จำเลยก็มีสิทธิยกให้โดยเสน่หาได้. โดยไม่จำต้องรับความยินยอมจากโจทก์ผู้เป็นภริยาก่อน.
คดีมีทุนทรัพย์ที่พิพาทไม่เกินห้าพันบาท. และศาลอุทธรณ์พิพากษายืนตามศาลชั้นต้น คงฎีกาได้เฉพาะปัญหาข้อกฎหมาย.และในการวินิจฉัยปัญหานี้ ศาลฎีกาจำต้องถือตามข้อเท็จจริงที่ศาลอุทธรณ์วินิจฉัยจากพยานหลักฐานในสำนวน.แต่ข้อเท็จจริงในปัญหาที่ว่าห้องพิพาทเป็นทรัพย์สินที่ได้มาระหว่างร้างกันหรือไม่. ศาลอุทธรณ์ยังมิได้วินิจฉัยถึง. ศาลฎีกาจึงยังมิอาจที่จะวินิจฉัยข้อกฎหมายตามฎีกาจำเลยได้เพราะข้อเท็จจริงที่ศาลอุทธรณ์ฟังมาไม่พอแก่การวินิจฉัยข้อกฎหมาย. ศาลฎีกาย่อมยกคำพิพากษาศาลอุทธรณ์ ให้ศาลอุทธรณ์วินิจฉัยข้อเท็จจริงในปัญหาที่ว่าห้องพิพาทเป็นทรัพย์สินที่ได้มาในระหว่างโจทก์จำเลยร้างกันจริงหรือไม่. แล้วพิพากษาใหม่ตามรูปคดี.
คดีมีทุนทรัพย์ที่พิพาทไม่เกินห้าพันบาท. และศาลอุทธรณ์พิพากษายืนตามศาลชั้นต้น คงฎีกาได้เฉพาะปัญหาข้อกฎหมาย.และในการวินิจฉัยปัญหานี้ ศาลฎีกาจำต้องถือตามข้อเท็จจริงที่ศาลอุทธรณ์วินิจฉัยจากพยานหลักฐานในสำนวน.แต่ข้อเท็จจริงในปัญหาที่ว่าห้องพิพาทเป็นทรัพย์สินที่ได้มาระหว่างร้างกันหรือไม่. ศาลอุทธรณ์ยังมิได้วินิจฉัยถึง. ศาลฎีกาจึงยังมิอาจที่จะวินิจฉัยข้อกฎหมายตามฎีกาจำเลยได้เพราะข้อเท็จจริงที่ศาลอุทธรณ์ฟังมาไม่พอแก่การวินิจฉัยข้อกฎหมาย. ศาลฎีกาย่อมยกคำพิพากษาศาลอุทธรณ์ ให้ศาลอุทธรณ์วินิจฉัยข้อเท็จจริงในปัญหาที่ว่าห้องพิพาทเป็นทรัพย์สินที่ได้มาในระหว่างโจทก์จำเลยร้างกันจริงหรือไม่. แล้วพิพากษาใหม่ตามรูปคดี.
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 1807/2512 เวอร์ชัน 3 คำพิพากษาฎีกานี้ มีเนื้อหาจากเว็บทางการหลายรูปแบบ
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
ทรัพย์สินที่ได้มาระหว่างร้างกันไม่เป็นสินสมรส จำเลยมีสิทธิยกให้ได้หากหามาได้เอง
โจทก์จำเลยเป็นสามีภริยากันก่อนใช้ประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ บรรพ 5 ต่อมาร้างกัน แต่ยังมิได้หย่าขาดจากกัน ทรัพย์สินที่ได้มาระหว่างร้างกันและแม้ยังมิได้หย่าขาดจากกันตามกฎหมายก็ไม่เป็นสินสมรส เพราะเหตุว่าทรัพย์สินมิใช่ได้มาโดยการอยู่กินสมรสร่วมกัน หากเป็นโดยฝ่ายหนึ่งหามาได้ตามลำพังและแยกไว้เป็นส่วนตัวแล้ว (อ้างฎีกาที่ 1235/2494, 991/2501) เมื่อไม่เป็นสินสมรส จำเลยก็มีสิทธิยกให้โดยเสน่หาได้ โดยไม่จำต้องรับความยินยอมจากโจทก์ผู้เป็นภริยาก่อน
คดีมีทุนทรัพย์ที่พิพาทไม่เกินห้าพันบาท และศาลอุทธรณ์พิพากษายืนตามศาลชั้นต้น คงฎีกาได้เฉพาะปัญหาข้อกฎหมาย และในการวินิจฉัยปัญหานี้ ศาลฎีกาจำต้องถือตามข้อเท็จจริงที่ศาลอุทธรณ์วินิจฉัยจากพยานหลักฐานในสำนวน แต่ข้อเท็จจริงในปัญหาที่ว่าห้องพิพาทเป็นทรัพย์สินที่ได้มาระหว่างร้างกันหรือไม่ ศาลอุทธรณ์ยังมิได้วินิจฉัยถึง ศาลฎีกาจึงยังมิอาจที่จะวินิจฉัยข้อกฎหมายตามฎีกาจำเลยได้ เพราะข้อเท็จจริงที่ศาลอุทธรณ์ฟังมาไม่พอแก่การวินิจฉัยข้อกฎหมาย ศาลฎีกาย่อมยกคำพิพากษาศาลอุทธรณ์ ให้ศาลอุทธรณ์วินิจฉัยข้อเท็จจริงในปัญหาที่ว่าห้องพิพาทเป็นทรัพย์สินที่ได้มาในระหว่างโจทก์จำเลยร้างกันหรือไม่ แล้วพิพากษาใหม่ ตามรูปคดี
คดีมีทุนทรัพย์ที่พิพาทไม่เกินห้าพันบาท และศาลอุทธรณ์พิพากษายืนตามศาลชั้นต้น คงฎีกาได้เฉพาะปัญหาข้อกฎหมาย และในการวินิจฉัยปัญหานี้ ศาลฎีกาจำต้องถือตามข้อเท็จจริงที่ศาลอุทธรณ์วินิจฉัยจากพยานหลักฐานในสำนวน แต่ข้อเท็จจริงในปัญหาที่ว่าห้องพิพาทเป็นทรัพย์สินที่ได้มาระหว่างร้างกันหรือไม่ ศาลอุทธรณ์ยังมิได้วินิจฉัยถึง ศาลฎีกาจึงยังมิอาจที่จะวินิจฉัยข้อกฎหมายตามฎีกาจำเลยได้ เพราะข้อเท็จจริงที่ศาลอุทธรณ์ฟังมาไม่พอแก่การวินิจฉัยข้อกฎหมาย ศาลฎีกาย่อมยกคำพิพากษาศาลอุทธรณ์ ให้ศาลอุทธรณ์วินิจฉัยข้อเท็จจริงในปัญหาที่ว่าห้องพิพาทเป็นทรัพย์สินที่ได้มาในระหว่างโจทก์จำเลยร้างกันหรือไม่ แล้วพิพากษาใหม่ ตามรูปคดี
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 1806/2512 เวอร์ชัน 3 คำพิพากษาฎีกานี้ มีเนื้อหาจากเว็บทางการหลายรูปแบบ
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
การบอกกล่าวเลิกสัญญาเช่า: ผลของการส่งหนังสือบอกกล่าวโดยผู้รับหลีกเลี่ยง
โจทก์ส่งหนังสือบอกกล่าวเลิกการเช่าโดยทางไปรษณีย์ลงทะเบียนตอบรับถึงจำเลย 3 แห่ง คือ ที่บ้านของจำเลย ที่บ้านเช่า และที่โรงรับจำนำของจำเลย แต่ถูกส่งกลับคืนมา โดยฉบับหนึ่งสลักหลังว่า "ผู้รับไม่อยู่ ไม่มีใครรับแทน ส่งไม่ได้คืน" อีกฉบับหนึ่งสลักหลังว่า "ผู้รับไม่อยู่ คนในบ้านไม่มีใครรับแทน ส่งไม่ได้คืน" และอีกฉบับหนึ่งสลักหลังว่า "ผู้รับไม่อยู่ ไม่มีใครรับแทน ส่ง 3 ครั้งแล้ว ส่งไม่ได้คืน" ข้อความที่สลักหลังแสดงว่า มีผู้รับแต่ไม่ยอมรับแทน การส่งไม่ได้เป็นเพราะจำเลยหลีกเลี่ยงไม่ยอมรับ จึงถือได้ว่าการบอกกล่าวเลิกสัญญาเช่าของโจทก์ถึงจำเลยแล้ว
ตามประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ มาตรา 130 วรรคแรก การแสดงเจตนาบอกเลิกสัญญาเช่าของโจทก์โดยทางจดหมายย่อมมีผลบังคับนับผลแต่เวลาที่ไปถึงจำเลยเป็นต้นไป จำเลยจะได้ทราบข้อความในหนังสือนั้นหรือไม่ การบอกกล่าวก็มีผลเป็นการบอกกล่าวสัญญาเช่าตามมาตรา 566 แล้ว
ตามประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ มาตรา 130 วรรคแรก การแสดงเจตนาบอกเลิกสัญญาเช่าของโจทก์โดยทางจดหมายย่อมมีผลบังคับนับผลแต่เวลาที่ไปถึงจำเลยเป็นต้นไป จำเลยจะได้ทราบข้อความในหนังสือนั้นหรือไม่ การบอกกล่าวก็มีผลเป็นการบอกกล่าวสัญญาเช่าตามมาตรา 566 แล้ว