คำพิพากษาที่เกี่ยวข้องกับผู้พิพากษา
อัศนี เกาไศยนันท์

พบผลลัพธ์ทั้งหมด 304 รายการ

คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 1806/2512

ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้ การบอกเลิกสัญญาเช่า: การส่งหนังสือทางไปรษณีย์ลงทะเบียนตอบรับ แม้ผู้รับไม่รับเอง ก็ถือว่าการบอกกล่าวมีผล
โจทก์ส่งหนังสือบอกกล่าวเลิกการเช่าโดยทางไปรษณีย์ลงทะเบียนตอบรับถึงจำเลย 3 แห่ง. คือ ที่บ้านของจำเลย ที่บ้านเช่า และที่โรงรับจำนำของจำเลย. แต่ถูกส่งกลับคืนมา โดยฉบับหนึ่งสลักหลังว่า'ผู้รับไม่อยู่ ไม่มีใครรับแทน ส่งไม่ได้คืน'. อีกฉบับหนึ่งสลักหลังว่า'ผู้รับไม่อยู่ คนในบ้านไม่รับแทน ส่งไม่ได้คืน'.และอีกฉบับหนึ่งสลักหลังว่า'ผู้รับไม่อยู่ ไม่มีใครรับแทน ส่ง 3 ครั้งแล้ว ส่งไม่ได้คืน'. ข้อความที่สลักหลังแสดงว่ามีผู้รับแต่ไม่ยอมรับแทน การส่งไม่ได้เป็นเพราะจำเลยหลีกเลี่ยงไม่ยอมรับ. จึงถือได้ว่าการบอกกล่าวเลิกสัญญาเช่าของโจทก์ถึงจำเลยแล้ว.
ตามประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ มาตรา 130 วรรคแรก. การแสดงเจตนาบอกเลิกสัญญาเช่าของโจทก์โดยทางจดหมายย่อมมีผลนับแต่เวลาที่ไปถึงจำเลยเป็นต้นไป. จำเลยจะได้ทราบข้อความในหนังสือนั้นหรือไม่. การบอกกล่าวก็มีผลเป็นการบอกเลิกสัญญาเช่าตามมาตรา 566 แล้ว.

คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 1806/2512 เวอร์ชัน 2 คำพิพากษาฎีกานี้ มีเนื้อหาจากเว็บทางการหลายรูปแบบ

ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้ การบอกเลิกสัญญาเช่ามีผลเมื่อหนังสือถึงจำเลย แม้จำเลยไม่รับเอง
โจทก์ส่งหนังสือบอกกล่าวเลิกการเช่าโดยทางไปรษณีย์ลงทะเบียนตอบรับถึงจำเลย 3 แห่ง คือ ที่บ้านของจำเลย ที่บ้านเช่า และที่โรงรับจำนำของจำเลย แต่ถูกส่งกลับคืนมา โดยฉบับหนึ่งสลักหลังว่า"ผู้รับไม่อยู่ ไม่มีใครรับแทน ส่งไม่ได้คืน" อีกฉบับหนึ่งสลักหลังว่า"ผู้รับไม่อยู่ คนในบ้านไม่รับแทน ส่งไม่ได้คืน" และอีกฉบับหนึ่งสลักหลังว่า"ผู้รับไม่อยู่ ไม่มีใครรับแทน ส่ง 3 ครั้งแล้ว ส่งไม่ได้คืน"ข้อความที่สลักหลังแสดงว่ามีผู้รับแต่ไม่ยอมรับแทน การส่งไม่ได้เป็นเพราะจำเลยหลีกเลี่ยงไม่ยอมรับ จึงถือได้ว่าการบอกกล่าวเลิกสัญญาเช่าของโจทก์ถึงจำเลยแล้ว
ตามประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ มาตรา 130 วรรคแรก การแสดงเจตนาบอกเลิกสัญญาเช่าของโจทก์โดยทางจดหมายย่อมมีผลนับแต่เวลาที่ไปถึงจำเลยเป็นต้นไป จำเลยจะได้ทราบข้อความในหนังสือนั้นหรือไม่ การบอกกล่าวก็มีผลเป็นการบอกเลิกสัญญาเช่าตามมาตรา 566 แล้ว

คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 1803/2512 เวอร์ชัน 3 คำพิพากษาฎีกานี้ มีเนื้อหาจากเว็บทางการหลายรูปแบบ

ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้ การฟ้องซ้ำและการแก้ไขเพิ่มเติมฟ้องคดีแพ่ง: การฟ้องคดีใหม่ในเรื่องเดียวกันหลังมีการตรวจพบทรัพย์สินเพิ่มเติม
โจทก์ฟ้องจำเลยในตำแหน่งเจ้าหน้าที่ฝ่ายการเงินสำนักงาน ก.พ. ให้รับผิดในยอดเงินขาดบัญชีอยู่ในความรับผิดชอบ ระหว่างพิจารณาปรากฏผลการตรวจสอบครั้งหลังว่ายอดเงินขาดบัญชีมีจำนวนเพิ่มขึ้นอีก 9,600 บาท เช่นนี้ โจทก์ชอบที่จะแก้ไขเพิ่มเติมจำนวนทุนทรัพย์ในฟ้องเดิมตามประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความแพ่ง มาตรา 179,180 โจทก์จะฟ้องเป็นคดีใหม่อีกต่างหากในเรื่องเดียวกันนี้เป็นการต้องห้ามตามมาตรา 173 (1) และปัญหาอำนาจฟ้องเกี่ยวด้วยความสงบเรียบร้อย ฯ ที่ศาลหยิบยกขึ้นวินิจฉัยเองได้ แม้จำเลยจะมิได้ยกขึ้นอ้างในชั้นฎีกา

คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 1803/2512 เวอร์ชัน 2 คำพิพากษาฎีกานี้ มีเนื้อหาจากเว็บทางการหลายรูปแบบ

ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้ การฟ้องซ้ำและการแก้ไขฟ้องเพิ่มทุนทรัพย์: ศาลฎีกาวินิจฉัยว่าการฟ้องคดีใหม่ในเรื่องเดิมเป็นฟ้องซ้ำ แม้จะมีการตรวจพบเงินขาดเพิ่ม
โจทก์ฟ้องจำเลยในตำแหน่งเจ้าหน้าที่ฝ่ายการเงินสำนักงาน ก.พ. ให้รับผิดในยอดเงินขาดบัญชีที่อยู่ในความรับผิดชอบ ระหว่างพิจารณาปรากฏผลการตรวจสอบครั้งหลังว่ายอดเงินขาดบัญชีมีจำนวนเพิ่มขึ้นอีก 9,600 บาท เช่นนี้ โจทก์ชอบที่จะขอแก้ไขเพิ่มเติมจำนวนทุนทรัพย์ในฟ้องเดิมตามประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความแพ่ง มาตรา 179,180 โจทก์จะฟ้องเป็นคดีใหม่อีกต่างหากในเรื่องเดียวกันนี้เป็นการต้องห้ามตามมาตรา 173(1) และปัญหาอำนาจฟ้องนี้เกี่ยวด้วยความสงบเรียบร้อยฯที่ศาลหยิบยกขึ้นวินิจฉัยเองได้ แม้จำเลยจะมิได้ยกขึ้นอ้างในชั้นฎีกา

คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 1803/2512

ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้ ฟ้องซ้ำ: การแก้ไขเพิ่มเติมฟ้องเดิม vs. การฟ้องคดีใหม่ เมื่อพบข้อเท็จจริงเพิ่มเติม
โจทก์ฟ้องจำเลยในตำแหน่งเจ้าหน้าที่ฝ่ายการเงินสำนักงานก.พ. ให้รับผิดในยอดเงินขาดบัญชีที่อยู่ในความรับผิดชอบ. ระหว่างพิจารณาปรากฏผลการตรวจสอบครั้งหลังว่ายอดเงินขาดบัญชีมีจำนวนเพิ่มขึ้นอีก 9,600 บาท. เช่นนี้ โจทก์ชอบที่จะขอแก้ไขเพิ่มเติมจำนวนทุนทรัพย์ในฟ้องเดิมตามประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความแพ่ง มาตรา 179,180. โจทก์จะฟ้องเป็นคดีใหม่อีกต่างหากในเรื่องเดียวกันนี้เป็นการต้องห้ามตามมาตรา 173(1). และปัญหาอำนาจฟ้องนี้เกี่ยวด้วยความสงบเรียบร้อยฯที่ศาลหยิบยกขึ้นวินิจฉัยเองได้.แม้จำเลยจะมิได้ยกขึ้นอ้างในชั้นฎีกา.

คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 1796/2512

ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้ สิทธิการเฉลี่ยทรัพย์สินของเจ้าพนักงานผู้มีอำนาจยึดทรัพย์ภาษีอากรค้าง ก่อนการยึดทรัพย์โดยเจ้าพนักงานบังคับคดี
ประมวลรัษฎากร มาตรา 12 ให้อำนาจข้าหลวงประจำจังหวัดหรือนายอำเภอโดยเฉพาะที่จะสั่งยึดและสั่งขายทอดตลาดทรัพย์สินของผู้ต้องรับผิดเสียภาษีอากรโดยมิต้องขอให้ศาลออกหมายยึดหรือสั่ง. จึงเห็นได้ว่าสำหรับค่าภาษีอากรค้างกฎหมายให้อำนาจแก่เจ้าพนักงานที่จะเรียกเก็บเองตลอดถึงการยึดทรัพย์ได้ด้วย. โดยไม่จำต้องนำคดีฟ้องศาลก่อน.เมื่อผู้ร้องซึ่งเป็นผู้ว่าราชการจังหวัดในฐานะเจ้าพนักงานมีสิทธิที่จะบังคับเหนือทรัพย์สินได้ตามกฎหมาย ทั้งก็เป็นผู้ใช้อำนาจนี้ก่อน. แต่ยังไม่ทันได้ขายทอดตลาด.เจ้าพนักงานบังคับคดีก็ไปยึดทรัพย์รายเดียวกันนี้ตามคำสั่งศาลอีก. ดังนี้ ผู้ร้องซึ่งมิได้เป็นเจ้าหนี้ตามคำพิพากษามีสิทธิขอเฉลี่ยได้ตามประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความแพ่ง มาตรา287. เพราะผู้ร้องเป็นบุคคลภายนอกมีสิทธิอาจร้องขอให้บังคับเหนือทรัพย์สินนั้นได้ตามกฎหมาย.(ประชุมใหญ่ ครั้งที่ 30/2512).

คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 1796/2512 เวอร์ชัน 2 คำพิพากษาฎีกานี้ มีเนื้อหาจากเว็บทางการหลายรูปแบบ

ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้ สิทธิการเฉลี่ยของเจ้าพนักงานภาษีอากรที่ยึดทรัพย์ก่อนการบังคับคดีตามคำพิพากษา
ประมวลรัษฎากร มาตรา 12 ให้อำนาจข้าหลวงประจำจังหวัดหรือนายอำเภอโดยเฉพาะที่จะสั่งยึดและสั่งขายทอดตลาดทรัพย์สินของผู้ต้องรับผิดเสียภาษีอากรโดยมิต้องขอให้ศาลออกหมายยึดหรือสั่ง จึงเห็นได้ว่าสำหรับค่าภาษีอากรค้างกฎหมายให้อำนาจแก่เจ้าพนักงานที่จะเรียกเก็บเองตลอดถึงการยึดทรัพย์ได้ด้วย โดยไม่จำต้องนำคดีฟ้องศาลก่อน เมื่อผู้ร้องซึ่งเป็นผู้ว่าราชการจังหวัดในฐานะเจ้าพนักงานมีสิทธิที่จะบังคับเหนือทรัพย์สินได้ตามกฎหมาย ทั้งก็เป็นผู้ใช้อำนาจนี้ก่อน แต่ยังไม่ทันได้ขายทอดตลาด เจ้าพนักงานบังคับคดีก็ไปยึดทรัพย์รายเดียวกันนี้ตามคำสั่งศาลอีก ดังนี้ ผู้ร้องซึ่งมิได้เป็นเจ้าหนี้ตามคำพิพากษามีสิทธิขอเฉลี่ยได้ตามประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความแพ่ง มาตรา 287 เพราะผู้ร้องเป็นบุคคลภายนอกมีสิทธิอาจร้องขอให้บังคับเหนือทรัพย์สินนั้นได้ตามกฎหมาย (ประชุมใหญ่ ครั้ง ที่ 30/2512)

คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 1728/2512 เวอร์ชัน 3 คำพิพากษาฎีกานี้ มีเนื้อหาจากเว็บทางการหลายรูปแบบ

ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้ เจตนาออกเช็คเป็นหลักฐานรับเงิน ไม่ถือเป็นความผิดตาม พ.ร.บ. เช็ค แม้มีการแก้เช็ค
เมื่อข้อเท็จจริงฟังได้ว่า จำเลยได้ออกเช็คให้ผู้เสียหายเพื่อเป็นหลักฐานแห่งกากรรับเงิน ฉะนั้นย่อมแสดงว่า คู่กรณีไม่มีเจตนาให้มีการใช้เงินตามเช็คนั้น จำเลยจึงไม่มีความผิดตามพระราชบัญญัติว่าด้วยความผิดอันเกิดจากการใช้เช็ค พ.ศ. 2497 มาตรา 3 ถึงแม้จะมีการแก้เช็คกัน(แก้วันที่) ก็ญังไม่พอฟังได้ว่าจำเลยมีเจตนาจะใช้เงินตามเช็คนั้น

คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 1728/2512 เวอร์ชัน 2 คำพิพากษาฎีกานี้ มีเนื้อหาจากเว็บทางการหลายรูปแบบ

ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้ เจตนาออกเช็คเป็นหลักฐานการรับเงิน ไม่ถือเป็นความผิดตาม พ.ร.บ. เช็ค
เมื่อข้อเท็จจริงฟังได้ว่า จำเลยได้ออกเช็คให้ผู้เสียหายเพื่อเป็นหลักฐานแห่งการรับเงิน ฉะนั้นย่อมแสดงว่าคู่กรณี ไม่มีเจตนาให้มีการใช้เงินตามเช็คนั้น จำเลยจึงไม่มีความผิดตามพระราชบัญญัติว่าด้วยความผิดอันเกิดจากการใช้เช็ค พ.ศ.2497 มาตรา 3 ถึงแม้จะมีการแก้เช็คกัน (แก้วันที่) ก็ยังไม่พอฟังได้ว่าจำเลยมีเจตนาจะใช้เงินตามเช็คนั้น

คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 1728/2512

ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้ เจตนาออกเช็คเป็นหลักฐานการรับเงิน ไม่ถือเป็นความผิดตาม พ.ร.บ.เช็ค
เมื่อข้อเท็จจริงฟังได้ว่า จำเลยได้ออกเช็คให้ผู้เสียหายเพื่อเป็นหลักฐานแห่งการรับเงิน. ฉะนั้นย่อมแสดงว่าคู่กรณี.ไม่มีเจตนา.ให้มีการใช้เงินตามเช็คนั้น. จำเลยจึงไม่มีความผิดตามพระราชบัญญัติว่าด้วยความผิดอันเกิดจากการใช้เช็ค พ.ศ.2497 มาตรา 3. ถึงแม้จะมีการแก้เช็คกัน (แก้วันที่) ก็ยังไม่พอฟังได้ว่าจำเลยมีเจตนาจะใช้เงินตามเช็คนั้น.
of 31