พบผลลัพธ์ทั้งหมด 24 รายการ
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 3278/2532
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
สิทธิในการขอให้ศาลสั่งให้ผู้เก็บโฉนดส่งมอบเพื่อบังคับคดี แม้เป็นผู้ถือกรรมสิทธิ์รวม
โจทก์มีสิทธิร้องขอให้ศาลมีคำสั่งให้ผู้เก็บโฉนดที่ดินพิพาทไว้ส่งมอบโฉนดที่ดินนั้นต่อศาลเพื่อดำเนินการบังคับคดีให้เป็นไปตามคำพิพากษาได้ คำสั่งของศาลเช่นว่านี้ย่อมไม่ทำให้ผู้เก็บโฉนดที่ดินพิพาทสูญเสียสิทธิในฐานะผู้ถือกรรมสิทธิ์รวมในที่ดินพิพาทแต่อย่างใด และโฉนดที่ดินพิพาทที่ส่งมอบต่อศาลก็เพื่อไปดำเนินการให้เป็นไปตามคำพิพากษาเท่านั้น มิใช่เอาไปเสียจากการยึดถือครอบครองของผู้เก็บโฉนดที่ดินนั้น.
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 4106/2529 เวอร์ชัน 3 คำพิพากษาฎีกานี้ มีเนื้อหาจากเว็บทางการหลายรูปแบบ
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
การเพิกถอนโฉนดที่ดินที่ไม่ถูกต้องตามคำพิพากษาเดิม ผู้ได้รับหนังสือหรือคู่กรณีมีอำนาจฟ้องร้องต่อศาลได้
ประเด็นในคดีซึ่งศาลชั้นต้นได้วินิจฉัยไว้แล้วและในชั้นศาลอุทธรณ์จำเลยก็ได้หยิบยกขึ้นโต้แย้งไว้ในคำแก้อุทธรณ์อันเป็นประเด็นที่ศาลอุทธรณ์จะต้องวินิจฉัยให้ เมื่อศาลอุทธรณ์ไม่ได้วินิจฉัยประเด็นข้อนี้ไว้ ศาลฎีกาเห็นสมควรที่จะวินิจฉัยตามข้อเท็จจริงที่ปรากฏอยู่แล้วในสำนวนก็ชอบจะทำได้ โดยไม่จำต้องย้อนสำนวน
ตามบทบัญญัติในประมวลกฎหมายที่ดินมาตรา 61 วรรคท้ายในกรณีที่มีการออกโฉนดที่ดินโดยไม่ถูกต้อง ผู้ได้รับหนังสือหรือคู่กรณีมีอำนาจดำเนินการฟ้องร้องยังศาลให้เพิกถอนได้ ไม่จำเป็นจะต้องให้อธิบดีกรมที่ดินเป็นผู้เพิกถอนทุกกรณี และเมื่อศาลมีคำสั่งหรือคำพิพากษาถึงที่สุดให้เพิกถอนหรือแก้ไขอย่างไรแล้วจึงให้พนักงานเจ้าหน้าที่ตามมาตรา 71 แห่งประมวลกฎหมายที่ดินดำเนินการตามคำพิพากษาหรือคำสั่งนั้นตามวิธีการที่อธิบดีกรมที่ดินกำหนด
ตามบทบัญญัติในประมวลกฎหมายที่ดินมาตรา 61 วรรคท้ายในกรณีที่มีการออกโฉนดที่ดินโดยไม่ถูกต้อง ผู้ได้รับหนังสือหรือคู่กรณีมีอำนาจดำเนินการฟ้องร้องยังศาลให้เพิกถอนได้ ไม่จำเป็นจะต้องให้อธิบดีกรมที่ดินเป็นผู้เพิกถอนทุกกรณี และเมื่อศาลมีคำสั่งหรือคำพิพากษาถึงที่สุดให้เพิกถอนหรือแก้ไขอย่างไรแล้วจึงให้พนักงานเจ้าหน้าที่ตามมาตรา 71 แห่งประมวลกฎหมายที่ดินดำเนินการตามคำพิพากษาหรือคำสั่งนั้นตามวิธีการที่อธิบดีกรมที่ดินกำหนด
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 4106/2529
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
การเพิกถอนโฉนดที่ดินที่ออกโดยไม่ถูกต้องตามคำพิพากษาเดิม ผู้มีสิทธิฟ้องร้องต่อศาลได้โดยตรง
ประเด็นในคดีซึ่งศาลชั้นต้นได้วินิจฉัยไว้แล้วและในชั้นศาลอุทธรณ์จำเลยก็ได้หยิบยกขึ้นโต้แย้งไว้ในคำแก้อุทธรณ์อันเป็นประเด็นที่ศาลอุทธรณ์จะต้องวินิจฉัยให้เมื่อศาลอุทธรณ์ไม่ได้วินิจฉัยประเด็นข้อนี้ไว้ศาลฎีกาเห็นสมควรที่จะวินิจฉัยตามข้อเท็จจริงที่ปรากฏอยู่แล้วในสำนวนก็ชอบจะทำได้โดยไม่จำต้องย้อนสำนวน ตามบทบัญญัติในประมวลกฎหมายที่ดินมาตรา61วรรคท้ายในกรณีที่มีการออกโฉนดที่ดินโดยไม่ถูกต้องผู้ได้รับหนังสือหรือคู่กรณีมีอำนาจดำเนินการฟ้องร้องยังศาลให้เพิกถอนได้ไม่จำเป็นจะต้องให้อธิบดีกรมที่ดินเป็นผู้เพิกถอนทุกกรณีและเมื่อศาลมีคำสั่งหรือคำพิพากษาถึงที่สุดให้เพิกถอนหรือแก้ไขอย่างไรแล้วจึงให้พนักงานเจ้าหน้าที่ตามมาตรา71แห่งประมวลกฎหมายที่ดินดำเนินการตามคำพิพากษาหรือคำสั่งนั้นตามวิธีการที่อธิบดีกรมที่ดินกำหนด.
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 4106/2529 เวอร์ชัน 2 คำพิพากษาฎีกานี้ มีเนื้อหาจากเว็บทางการหลายรูปแบบ
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
การเพิกถอนโฉนดที่ดินที่ไม่ถูกต้องตามคำพิพากษา ผู้รับหนังสือ/คู่กรณีมีอำนาจฟ้องร้องได้โดยตรง
ประเด็นในคดีซึ่งศาลชั้นต้นได้วินิจฉัยไว้แล้วและในชั้นศาลอุทธรณ์จำเลยก็ได้หยิบยกขึ้นโต้แย้งไว้ในคำแก้อุทธรณ์อันเป็นประเด็นที่ศาลอุทธรณ์จะต้องวินิจฉัยให้ เมื่อศาลอุทธรณ์ไม่ได้วินิจฉัยประเด็นข้อนี้ไว้ ศาลฎีกาเห็นสมควรที่จะวินิจฉัยตามข้อเท็จจริงที่ปรากฏอยู่แล้วในสำนวนก็ชอบจะทำได้ โดยไม่จำต้องย้อนสำนวน
ตามบทบัญญัติในประมวลกฎหมายที่ดินมาตรา 61 วรรคท้ายในกรณีที่มีการออกโฉนดที่ดินโดยไม่ถูกต้อง ผู้ได้รับหนังสือหรือคู่กรณีมีอำนาจดำเนินการฟ้องร้องยังศาลให้เพิกถอนได้ ไม่จำเป็นจะต้องให้อธิบดีกรมที่ดินเป็นผู้เพิกถอนทุกกรณี และเมื่อศาลมีคำสั่งหรือคำพิพากษาถึงที่สุดให้เพิกถอนหรือแก้ไขอย่างไรแล้วจึงให้พนักงานเจ้าหน้าที่ตามมาตรา 71 แห่งประมวลกฎหมายที่ดินดำเนินการตามคำพิพากษาหรือคำสั่งนั้นตามวิธีการที่อธิบดีกรมที่ดินกำหนด
ตามบทบัญญัติในประมวลกฎหมายที่ดินมาตรา 61 วรรคท้ายในกรณีที่มีการออกโฉนดที่ดินโดยไม่ถูกต้อง ผู้ได้รับหนังสือหรือคู่กรณีมีอำนาจดำเนินการฟ้องร้องยังศาลให้เพิกถอนได้ ไม่จำเป็นจะต้องให้อธิบดีกรมที่ดินเป็นผู้เพิกถอนทุกกรณี และเมื่อศาลมีคำสั่งหรือคำพิพากษาถึงที่สุดให้เพิกถอนหรือแก้ไขอย่างไรแล้วจึงให้พนักงานเจ้าหน้าที่ตามมาตรา 71 แห่งประมวลกฎหมายที่ดินดำเนินการตามคำพิพากษาหรือคำสั่งนั้นตามวิธีการที่อธิบดีกรมที่ดินกำหนด
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 1857/2529 เวอร์ชัน 2 คำพิพากษาฎีกานี้ มีเนื้อหาจากเว็บทางการหลายรูปแบบ
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
อำนาจฟ้องคดีพิพาทที่ดิน: การโต้แย้งสิทธิและอายุความ การเพิกถอน น.ส.3
ข้อที่จำเลยและจำเลยร่วมฎีกาว่าการฟ้องคดีของโจทก์ทั้งสองไม่ได้รับความยินยอมจากคู่สมรสจึงไม่มีอำนาจฟ้องนั้น จำเลยและจำเลยร่วมมิได้ให้การต่อสู้ไว้ในคำให้การ การที่จำเลยและจำเลยร่วมมิได้ให้การต่อสู้เป็นประเด็นในคำให้การไว้แต่ศาลชั้นต้นจึงเป็นข้อที่มิได้ยกขึ้นว่ากันมาแล้วในศาลชั้นต้น ต้องห้ามตามประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความแพ่ง มาตรา 249แม้ปัญหาเรื่องอำนาจฟ้องเป็นข้อกฎหมายอันเกี่ยวด้วยความสงบเรียบร้อยของประชาชน ศาลฎีกาก็เห็นว่าไม่มีเหตุอันสมควรที่จะยกขึ้นวินิจฉัย
แม้ประมวลกฎหมายที่ดิน มาตรา 61 จะบัญญัติให้ผู้ว่าราชการจังหวัดมีอำนาจเพิกถอนหนังสือรับรองการทำประโยชน์ (น.ส.3) เมื่อปรากฏว่าได้ออกโดยคลาดเคลื่อน เช่น ออก น.ส.3 ทับที่ของบุคคลอื่นแต่ก็มิได้หมายความว่าเฉพาะผู้ว่าราชการจังหวัดเท่านั้นที่สั่งเพิกถอนหรือแก้ไขน.ส.3 ที่ออกโดยคลาดเคลื่อนหรือไม่ชอบด้วยกฎหมายและมิได้หมายความว่าการเพิกถอนหรือแก้ไข น.ส.3 ที่ออกโดยคลาดเคลื่อนหรือโดยไม่ชอบด้วยกฎหมายนั้น จะต้องดำเนินการตามวิธีการตามที่มาตรา 61 บัญญัติไว้เพียงประการเดียว ในบางกรณีคู่กรณีอาจเห็นว่าการดำเนินการตามมาตรา 61 อาจไม่ทันการหรือเกิดความล่าช้าเนื่องจากคู่กรณีอีกฝ่ายหนึ่งประวิงเวลาไว้ เช่นนี้ คู่กรณีก็มีสิทธิดำเนินคดีทางศาลเพื่อให้ศาลพิพากษาหรือมีคำสั่งเพิกถอนหรือแก้ไขการออกน.ส.3โดยคลาดเคลื่อนหรือโดยไม่ชอบนั้นได้ ดังจะเห็นได้จากความในวรรคท้ายแห่งมาตรา 61 ว่า 'ในกรณีที่ศาลมีคำพิพากษาหรือคำสั่งถึงที่สุดให้เพิกถอนหรือแก้ไขอย่างใดแล้วให้พนักงานเจ้าหน้าที่ตามมาตรา71 ดำเนินการตามคำพิพากษาหรือคำสั่งนั้นตามวิธีการที่อธิบดีกำหนด' ส่วนบทบัญญัติมาตรา 60 แห่งประมวลกฎหมายที่ดินก็เป็นเรื่องที่คู่กรณีโต้แย้งสิทธิในการออกโฉนดที่ดินและกำหนดระยะเวลาการฟ้องร้องไว้ในกรณีที่ผู้ว่าราชการจังหวัดได้พิจารณาสั่งในปัญหาพิพาทนั้นตามบทบัญญัติมาตรา 60,61 หาได้มีข้อห้ามมิให้ฟ้องคดีหากมิได้ดำเนินการตามขั้นตอนที่กำหนดไว้ไม่ โจทก์จึงมีอำนาจฟ้องได้เองหากสิทธิของโจทก์ถูกโต้แย้งตามบทบัญญัติมาตรา 55 แห่งประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความแพ่ง
การที่โจทก์ทั้งสองขอให้เจ้าพนักงานที่ดินรังวัดสอบเขตที่ดินของตนในการรังวัดสอบเขตครั้งนี้มี ส.ซึ่งได้รับมอบอำนาจจากจำเลยให้ไประวังแนวเขตได้ยืนยันว่ามีการรังวัดรุกล้ำเข้าไปในที่ดินของจำเลย ส. จึงไม่ยอมรับรองแนวเขตด้านนี้ เมื่อ ส.ขอรังวัดสอบเขตที่ดินของจำเลยส. ก็ยืนยันว่าที่ดินที่โจทก์ที่ 1 อ้างว่าเป็นของโจทก์ที่ 1 นั้น เป็นที่ดินของจำเลย นอกจากนี้ปรากฏตามรายงานผลการรังวัดตรวจสอบ น.ส.3 ของเจ้าพนักงานที่ดินลงวันที่ 28 มิถุนายน 2522 ถึงนายอำเภอมีข้อความสำคัญว่า เมื่อโจทก์ที่ 1 กับพวกขอรังวัดสอบเขตปรากฏว่าเกิดกรณีสงสัยว่าที่ดินซึ่งจำเลยซื้อมาจะทับ น.ส.3ของโจทก์ที่1 จึงได้แจ้งให้จำเลยทราบ ครั้นจำเลยขอรังวัดสอบเขตจึงทราบแน่ชัดว่าน.ส.3ก. ของจำเลยทับ น.ส.3 ของโจทก์เป็นบางส่วน ดังนี้จึงเป็นพฤติการณ์ที่ถือได้ว่ามีการโต้แย้งสิทธิเกิดขึ้นแล้วโจทก์ทั้งสองย่อมมีอำนาจเสนอคดีต่อศาลหรือมีอำนาจฟ้องคดีได้
ตามคำฟ้องของโจทก์เป็นเรื่องที่โจทก์ขอให้เพิกถอน น.ส.3ก.ของจำเลยส่วนที่ออกทับ น.ส.3ของโจทก์ จำเลยและจำเลยร่วมมิได้ให้การโดยชัดแจ้งว่าได้แย่งการครอบครองที่ดินของโจทก์จึงไม่มีประเด็นในเรื่องกำหนดเวลาการฟ้องคดีเพื่อเอาคืนซึ่งการครอบครองตามประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ มาตรา 1375 ศาลฎีกาไม่รับวินิจฉัยให้
แม้ประมวลกฎหมายที่ดิน มาตรา 61 จะบัญญัติให้ผู้ว่าราชการจังหวัดมีอำนาจเพิกถอนหนังสือรับรองการทำประโยชน์ (น.ส.3) เมื่อปรากฏว่าได้ออกโดยคลาดเคลื่อน เช่น ออก น.ส.3 ทับที่ของบุคคลอื่นแต่ก็มิได้หมายความว่าเฉพาะผู้ว่าราชการจังหวัดเท่านั้นที่สั่งเพิกถอนหรือแก้ไขน.ส.3 ที่ออกโดยคลาดเคลื่อนหรือไม่ชอบด้วยกฎหมายและมิได้หมายความว่าการเพิกถอนหรือแก้ไข น.ส.3 ที่ออกโดยคลาดเคลื่อนหรือโดยไม่ชอบด้วยกฎหมายนั้น จะต้องดำเนินการตามวิธีการตามที่มาตรา 61 บัญญัติไว้เพียงประการเดียว ในบางกรณีคู่กรณีอาจเห็นว่าการดำเนินการตามมาตรา 61 อาจไม่ทันการหรือเกิดความล่าช้าเนื่องจากคู่กรณีอีกฝ่ายหนึ่งประวิงเวลาไว้ เช่นนี้ คู่กรณีก็มีสิทธิดำเนินคดีทางศาลเพื่อให้ศาลพิพากษาหรือมีคำสั่งเพิกถอนหรือแก้ไขการออกน.ส.3โดยคลาดเคลื่อนหรือโดยไม่ชอบนั้นได้ ดังจะเห็นได้จากความในวรรคท้ายแห่งมาตรา 61 ว่า 'ในกรณีที่ศาลมีคำพิพากษาหรือคำสั่งถึงที่สุดให้เพิกถอนหรือแก้ไขอย่างใดแล้วให้พนักงานเจ้าหน้าที่ตามมาตรา71 ดำเนินการตามคำพิพากษาหรือคำสั่งนั้นตามวิธีการที่อธิบดีกำหนด' ส่วนบทบัญญัติมาตรา 60 แห่งประมวลกฎหมายที่ดินก็เป็นเรื่องที่คู่กรณีโต้แย้งสิทธิในการออกโฉนดที่ดินและกำหนดระยะเวลาการฟ้องร้องไว้ในกรณีที่ผู้ว่าราชการจังหวัดได้พิจารณาสั่งในปัญหาพิพาทนั้นตามบทบัญญัติมาตรา 60,61 หาได้มีข้อห้ามมิให้ฟ้องคดีหากมิได้ดำเนินการตามขั้นตอนที่กำหนดไว้ไม่ โจทก์จึงมีอำนาจฟ้องได้เองหากสิทธิของโจทก์ถูกโต้แย้งตามบทบัญญัติมาตรา 55 แห่งประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความแพ่ง
การที่โจทก์ทั้งสองขอให้เจ้าพนักงานที่ดินรังวัดสอบเขตที่ดินของตนในการรังวัดสอบเขตครั้งนี้มี ส.ซึ่งได้รับมอบอำนาจจากจำเลยให้ไประวังแนวเขตได้ยืนยันว่ามีการรังวัดรุกล้ำเข้าไปในที่ดินของจำเลย ส. จึงไม่ยอมรับรองแนวเขตด้านนี้ เมื่อ ส.ขอรังวัดสอบเขตที่ดินของจำเลยส. ก็ยืนยันว่าที่ดินที่โจทก์ที่ 1 อ้างว่าเป็นของโจทก์ที่ 1 นั้น เป็นที่ดินของจำเลย นอกจากนี้ปรากฏตามรายงานผลการรังวัดตรวจสอบ น.ส.3 ของเจ้าพนักงานที่ดินลงวันที่ 28 มิถุนายน 2522 ถึงนายอำเภอมีข้อความสำคัญว่า เมื่อโจทก์ที่ 1 กับพวกขอรังวัดสอบเขตปรากฏว่าเกิดกรณีสงสัยว่าที่ดินซึ่งจำเลยซื้อมาจะทับ น.ส.3ของโจทก์ที่1 จึงได้แจ้งให้จำเลยทราบ ครั้นจำเลยขอรังวัดสอบเขตจึงทราบแน่ชัดว่าน.ส.3ก. ของจำเลยทับ น.ส.3 ของโจทก์เป็นบางส่วน ดังนี้จึงเป็นพฤติการณ์ที่ถือได้ว่ามีการโต้แย้งสิทธิเกิดขึ้นแล้วโจทก์ทั้งสองย่อมมีอำนาจเสนอคดีต่อศาลหรือมีอำนาจฟ้องคดีได้
ตามคำฟ้องของโจทก์เป็นเรื่องที่โจทก์ขอให้เพิกถอน น.ส.3ก.ของจำเลยส่วนที่ออกทับ น.ส.3ของโจทก์ จำเลยและจำเลยร่วมมิได้ให้การโดยชัดแจ้งว่าได้แย่งการครอบครองที่ดินของโจทก์จึงไม่มีประเด็นในเรื่องกำหนดเวลาการฟ้องคดีเพื่อเอาคืนซึ่งการครอบครองตามประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ มาตรา 1375 ศาลฎีกาไม่รับวินิจฉัยให้
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 560/2529 เวอร์ชัน 2 คำพิพากษาฎีกานี้ มีเนื้อหาจากเว็บทางการหลายรูปแบบ
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
เจ้าหน้าที่ตรวจสอบเอกสารมอบอำนาจโดยสุจริต แม้ลายมือชื่อและตราประทับจะคล้ายคลึงกับของจริง ไม่ถือเป็นความประมาทเลินเละ
คดีก่อนจำเลยที่5ได้เป็นโจทก์ฟ้องโจทก์ในคดีนี้เป็นจำเลยที่3ขอให้เพิกถอนนิติกรรมซื้อขายที่พิพาทและศาลฎีกาได้วินิจฉัยชี้ขาดในคดีดังกล่าวว่าจำเลยที่5ไม่มีส่วนร่วมหรือรู้เห็นในการปลอมใบมอบอำนาจคำพิพากษาของศาลฎีกาดังกล่าวจึงผูกพันโจทก์คดีนี้ตามป.วิ.พ.มาตรา145โจทก์จะมาอ้างในคดีนี้อีกว่าจำเลยที่5ได้มีส่วนร่วมหรือรู้เห็นเกี่ยวกับการกระทำปลอมหนังสือมอบอำนาจที่ใช้ในการขายที่ดินพิพาทให้กับโจทก์หาได้ไม่ กรมที่ดินได้วางระเบียบเพื่อป้องกันการทุจริตที่เกิดขึ้นเกี่ยวแก่การมอบอำนาจไว้ว่า"ฯโดยที่เจ้าหน้าที่ผู้ตรวจสอบลายมือชื่อมิใช่ผู้ชำนาญการพิเศษโดยเฉพาะการตรวจสอบจึงต้องใช้ความระมัดระวังอย่างวิญญูชนจะพึงกระทำได้...ฯลฯ...การตรวจสอบลายมือชื่อของผู้มอบอำนาจ...ให้ตรวจสอบว่ามีลักษณะคล้ายคลึงกับของเดิมพอที่จะเชื่อถือได้หรือไม่...ฯลฯ..."ดังนี้เมื่อลายมือชื่อปลอมของผู้มอบอำนาจในหนังสือมอบอำนาจปลอมกับลายมือชื่อที่แท้จริงของผู้มอบอำนาจมีลักษณะตัวอักษรช่องไฟและลีลาในการเขียนคล้ายคลึงกันมากในสายตาของวิญญูชนย่อมถือได้ว่าเป็นลายมือชื่อของบุคคลคนเดียวกันการที่เจ้าพนักงานที่ดินเชื่อว่าลายมือชื่อของผู้มอบอำนาจในหนังสือมอบอำนาจปลอมเป็นลายมือชื่อที่แท้จริงจึงถือไม่ได้ว่าเจ้าพนักงานที่ดินกระทำโดยประมาทเลินเล่อ กรมที่ดินวางระเบียบว่า"หนังสือมอบอำนาจควรมีพยานอย่างน้อย1คนถ้าผู้มอบอำนาจพิมพ์ลายมือต้องมีพยาน2คน...ฯลฯ..."เมื่อปรากฏว่าหนังสือมอบอำนาจนอกจากจะมีผู้รับมอบอำนาจลงชื่อเป็นพยานคนหนึ่งแล้วยังมีลายมือชื่อพยานอื่นอีกเช่นนี้แม้จะตัดลายมือชื่อพยานที่เป็นผู้รับมอบอำนาจออกไปใบมอบอำนาจนั้นก็ยังสมบูรณ์อยู่เมื่อไม่มีระเบียบให้เจ้าพนักงานผู้ตรวจสอบใบมอบอำนาจถ่ายบัตรประจำตัวของผู้มอบอำนาจติดเรื่องไว้การที่เจ้าพนักงานไม่ได้กระทำเช่นนั้นจึงยังไม่อาจถือได้ว่าเป็นคนประมาทเลินเล่อถึงกับเป็นเหตุให้โจทก์ต้องเสียหาย โจทก์เบิกความเพียงว่าหากจำเลยที่3ตรวจดวงตราเขตบางรักที่ประทับก็จะรู้ว่าเป็นตราปลอมส่วนจำเลยที่4ก็เคยเห็นดวงตราเขตบางรักเสมอๆแต่มิได้นำสืบให้เห็นว่าดวงตราที่แท้จริงของเขตบางรักเป็นอย่างไรคำเบิกความของโจทก์จึงเป็นเพียงความเข้าใจหรือการคาดคะเนของโจทก์เองเป็นการเลื่อนลอยกรณียังฟังไม่ได้ว่าจำเลยที่3ที่4กระทำละเมิดต่อโจทก์.
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 560/2529
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
ความประมาทเลินเล่อของเจ้าพนักงานที่ดินในการตรวจสอบหนังสือมอบอำนาจ – พยานหลักฐานต้องชัดเจนและมีน้ำหนัก
คดีก่อนจำเลยที่5ได้เป็นโจทก์ฟ้องโจทก์ในคดีนี้เป็นจำเลยที่3ขอให้เพิกถอนนิติกรรมซื้อขายที่พิพาทและศาลฎีกาได้วินิจฉัยชี้ขาดในคดีดังกล่าวว่าจำเลยที่5ไม่มีส่วนร่วมหรือรู้เห็นในการปลอมใบมอบอำนาจคำพิพากษาของศาลฎีกาดังกล่าวจึงผูกพันโจทก์คดีนี้ตามประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความแพ่งมาตรา145โจทก์จะมาอ้างในคดีนี้อีกว่าจำเลยที่5ได้มีส่วนร่วมหรือรู้เห็นเกี่ยวกับการกระทำปลอมหนังสือมอบอำนาจที่ใช้ในการขายที่ดินพิพาทให้กับโจทก์หาได้ไม่. กรมที่ดินได้วางระเบียบเพื่อป้องกันการทุจริตที่เกิดขึ้นเกี่ยวแก่การมอบอำนาจไว้ว่า'ฯโดยเจ้าหน้าที่ผู้ตรวจสอบลายมือชื่อมิใช่ผู้ชำนาญการพิเศษโดยเฉพาะการตรวจสอบจึงต้องใช้ความระมัดระวังอย่างวิญญูชนจะพึงกระทำได้.....ฯลฯ.....การตรวจสอบลายมือชื่อของผู้มอบอำนาจ....ให้ตรวจสอบว่ามีลักษณะคล้ายคลึงกับของเดิมพอที่จะเชื่อถือได้หรือไม่....ฯลฯ....'ดังนี้เมื่อลายมือชื่อปลอมของผู้มอบอำนาจในหนังสือมอบอำนาจปลอมกับลายมือชื่อที่แท้จริงของผู้มอบอำนาจมีลักษณะตัวอักษรช่องไฟและลีลาในการเขียนคล้ายคลึงกันมากในสายตาของวิญญูชนย่อมถือได้ว่าเป็นลายมือชื่อของบุคคลคนเดียวกันการที่เจ้าพนักงานที่ดินเชื่อว่าลายมือชื่อของผู้มอบอำนาจในหนังสือมอบอำนาจปลอมเป็นลายมือชื่อที่แท้จริงจึงถือไม่ได้ว่าเจ้าพนักงานที่ดินกระทำโดยประมาทเลินเล่อ. กรมที่ดินวางระเบียบว่า'หนังสือมอบอำนาจควรมีพยานอย่างน้อย1คนถ้าผู้มอบอำนาจพิมพ์ลายมือต้องมีพยาน2คน...ฯลฯ...'เมื่อปรากฏว่าหนังสือมอบอำนาจนอกจากจะมีผู้รับมอบอำนาจลงชื่อเป็นพยานคนหนึ่งแล้วยังมีลายมือชื่อพยานอื่นอีกเช่นนี้แม้จะตัดลายมือชื่อพยานที่เป็นผู้รับมอบอำนาจออกไปใบมอบอำนาจนั้นก็ยังสมบูรณ์อยู่เมื่อไม่มีระเบียบให้เจ้าพนักงานผู้ตรวจสอบใบมอบอำนาจถ่ายบัตรประจำตัวของผู้มอบอำนาจติดเรื่องไว้การที่เจ้าพนักงานไม่ได้กระทำเช่นนั้นจึงยังไม่อาจถือได้ว่าเป็นความประมาทเลินเล่อถึงกับเป็นเหตุให้โจทก์ต้องเสียหาย. โจทก์เบิกความเพียงว่าหากจำเลยที่3ตรวจดวงตราเขตบางรักที่ประทับก็จะรู้ว่าเป็นตราปลอมส่วนจำเลยที่4ก็เคยเห็นดวงตราเขตบางรักเสมอๆแต่มิได้นำสืบให้เห็นว่าดวงตราที่แท้จริงของเขตบางรักเป็นอย่างไรคำเบิกความของโจทก์จึงเป็นเพียงความเข้าใจหรือการคาดคะเนของโจทก์เองเป็นการเลื่อนลอยกรณียังฟังไม่ได้ว่าจำเลยที่3ที่4กระทำละเมิดต่อโจทก์.(ที่มา-ส่งเสริมฯ)
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 1403/2519
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
การจดทะเบียนซื้อขายที่ดิน: พนักงานเจ้าหน้าที่ปฏิบัติตามกฎหมายเมื่อมีเหตุเชื่อว่าเป็นการซื้อเพื่อประโยชน์คนต่างด้าว
โจทก์และ จ. ยื่นคำร้องต่อจำเลยซึ่งเป็นพนักงานเจ้าหน้าที่จดทะเบียนสิทธิและนิติกรรมเกี่ยวกับอสังหาริมทรัพย์ ขอทำนิติกรรมซื้อขายที่ดิน ดังนี้ เมื่อพฤติการณ์ที่จำเลยทราบมาโดยการสืบสวนและสอบสวนทำให้จำเลยเห็นว่ามีกรณีควรเชื่อได้ว่าโจทก์จะซื้อที่ดินเพื่อประโยชน์แก่คนต่างด้าว ก็ย่อมเป็นหน้าที่ของจำเลยที่จะดำเนินการต่อไปเพื่อขอคำสั่งรัฐมนตรีตามประมวลกฎหมายที่ดิน มาตรา 74 วรรค 2 และเมื่อได้ความว่าจำเลยกำลังดำเนินการสอบสวนพยานหลักฐานเพื่อเสนอรัฐมนตรีอยู่ ก็เป็นเรื่องที่จำเลยปฏิบัติหน้าที่ตามกฎหมายดังกล่าวจึงย่อมไม่อาจบังคับจำเลยให้รับจดทะเบียนสิทธิและนิติกรรมตามที่โจทก์ฟ้องขอให้บังคับได้ศาลย่อมพิพากษายกฟ้อง
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 1403/2519 เวอร์ชัน 2 คำพิพากษาฎีกานี้ มีเนื้อหาจากเว็บทางการหลายรูปแบบ
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
การจดทะเบียนซื้อขายที่ดิน - กรณีควรเชื่อได้ว่าซื้อเพื่อประโยชน์คนต่างด้าว - อำนาจหน้าที่พนักงานเจ้าหน้าที่
โจทก์และจ.ยื่นคำร้องต่อจำเลยซึ่งเป็นพนักงานเจ้าหน้าที่จดทะเบียนสิทธิและนิติกรรมเกี่ยวกับอสังหาริมทรัพย์ ขอทำนิติกรรมซื้อขายที่ดิน ดังนี้ เมื่อพฤติการณ์ที่จำเลยทราบมาโดยการสืบสวนและสอบสวนทำให้จำเลยเห็นว่ามีกรณีควรเชื่อได้ว่าโจทก์จะซื้อที่ดินเพื่อประโยชน์แก่คนต่างด้าว ก็ย่อมเป็นหน้าที่ของจำเลยที่จะดำเนินการต่อไปเพื่อขอคำสั่งรัฐมนตรีตามประมวลกฎหมายที่ดิน มาตรา 74 วรรค 2 และเมื่อได้ความว่าจำเลยกำลังดำเนินการสอบสวนพยานหลักฐานเพื่อเสนอรัฐมนตรีอยู่ ก็เป็นเรื่องที่จำเลยปฏิบัติหน้าที่ตามกฎหมายดังกล่าว จึงย่อมไม่อาจบังคับจำเลยให้รับจดทะเบียนสิทธิและนิติกรรมตามที่โจทก์ฟ้องบังคับได้ ศาลย่อมพิพากษายกฟ้อง
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 1303/2512 เวอร์ชัน 3 คำพิพากษาฎีกานี้ มีเนื้อหาจากเว็บทางการหลายรูปแบบ
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
การซื้อที่ดินจากการขายทอดตลาดโดยสุจริต แม้ประกาศขายจะผิดพลาด ย่อมได้รับสิทธิตามมาตรา 1330
เจ้าพนักงานบังคับคดียึดที่ดินมีโฉนดของโจทก์มาขายทอดตลาดเพื่อชำระหนี้ตามคำพิพากษาในคดีที่โจทก์ร่วมซึ่งเป็นสามีโจทก์ถูกจำเลยฟ้องเรียกหนี้เงินกู้ แม้ในการยึดเจ้าพนักงานบังคับคดีจะยึดอย่างที่ดินมือเปล่าโดยนำ ส.ค.1 สำหรับที่ดินแปลงอื่นของโจทก์ร่วมมา และประกาศขายทอดตลาดว่าเป็นที่ดินมี ส.ค. 1 โดยระบุเลขที่ เมื่อข้อเท็จจริงปรากฏว่า เจ้าพนักงานบังคับคดีกระทำโดยสุจริต และจำเลยเป็นผู้ซื้อที่ดินดังกล่าวจากการขายทอดตลาดตามคำสั่งศาลโดยสุจริต จำเลยย่อมได้สิทธิตามประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์มาตรา 1330