พบผลลัพธ์ทั้งหมด 355 รายการ
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 1813/2516 เวอร์ชัน 2 คำพิพากษาฎีกานี้ มีเนื้อหาจากเว็บทางการหลายรูปแบบ
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
การยื่นบัญชีระบุพยาน: วันเริ่มต้นสืบพยานสำคัญกว่าวันนัด
ตามประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความแพ่ง มาตรา 88 บัญญัติให้ยื่นบัญชีระบุพยานต่อศาลก่อนวันสืบพยานไม่น้อยกว่า 3 วัน นั้นหมายถึงก่อนวันที่ศาลเริ่มต้นทำการสืบพยานจริง ๆ ไม่ใช่หมายถึงวันนัดสืบพยานครั้งแรก
ศาลชั้นต้นนัดสืบพยานจำเลยตามที่จำเลยแถลงรับนำสืบก่อนในวันที่ 6 สิงหาคม 2513 ครั้นถึงวันนัด จำเลยยื่นคำร้องขอระบุพยานเพิ่มเติม และในวันเดียวกันนั้น ศาลชั้นต้นเห็นควรให้เลื่อนคดีไปจึงให้เลื่อนคดีไปสืบพยานจำเลยในวันที่ 20 สิงหาคม 2513 โดยยังมิได้สั่งว่ารับหรือไม่รับบัญชีระบุพยานฉบับลงวันที่ 6 สิงหาคม 2513ของจำเลย ครั้นวันที่ 17 สิงหาคม 2513 จำเลยยื่นคำร้องระบุพยานโดยอ้างว่าพลั้งเผลอไม่ได้ยื่นบัญชีระบุพยานก่อนวันสืบพยาน 3 วันขอให้รับบัญชีระบุพยานจำเลยไว้ ดังนี้ การที่จำเลยยื่นบัญชีระบุพยานต่อศาลในวันที่ 6 สิงหาคม 2513 นั้น แม้จำเลยจะยื่นคำร้องว่าเป็นบัญชีระบุพยานเพิ่มเติมก็ตาม แท้จริงเป็นการระบุพยานครั้งแรกตามประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความแพ่ง มาตรา 88 วรรคแรก นั่นเองซึ่งจำเลยมีสิทธิยื่นบัญชีระบุพยานต่อศาลโดยไม่ต้องทำเป็นคำร้องเพราะวันนั้นศาลไม่ได้เริ่มต้นทำการสืบพยานจริง ๆ ส่วนการที่จำเลยยื่นบัญชีระบุพยานฉบับลงวันที่17 สิงหาคม 2513 โดยทำเป็นคำร้องนั้น แท้จริงก็เป็นการยื่นบัญชีระบุพยานเพิ่มเติมตามประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความแพ่ง มาตรา 88 วรรค2 นั่นเองซึ่งจำเลยมีสิทธิยื่นได้โดยไม่ต้องทำเป็นคำร้อง ฉะนั้น บัญชีระบุพยานจำเลยฉบับลงวันที่ 17 สิงหาคม 2513 จึงเป็นบัญชีระบุพยานที่ได้ยื่นต่อศาลไว้โดยชอบแล้ว
ศาลชั้นต้นนัดสืบพยานจำเลยตามที่จำเลยแถลงรับนำสืบก่อนในวันที่ 6 สิงหาคม 2513 ครั้นถึงวันนัด จำเลยยื่นคำร้องขอระบุพยานเพิ่มเติม และในวันเดียวกันนั้น ศาลชั้นต้นเห็นควรให้เลื่อนคดีไปจึงให้เลื่อนคดีไปสืบพยานจำเลยในวันที่ 20 สิงหาคม 2513 โดยยังมิได้สั่งว่ารับหรือไม่รับบัญชีระบุพยานฉบับลงวันที่ 6 สิงหาคม 2513ของจำเลย ครั้นวันที่ 17 สิงหาคม 2513 จำเลยยื่นคำร้องระบุพยานโดยอ้างว่าพลั้งเผลอไม่ได้ยื่นบัญชีระบุพยานก่อนวันสืบพยาน 3 วันขอให้รับบัญชีระบุพยานจำเลยไว้ ดังนี้ การที่จำเลยยื่นบัญชีระบุพยานต่อศาลในวันที่ 6 สิงหาคม 2513 นั้น แม้จำเลยจะยื่นคำร้องว่าเป็นบัญชีระบุพยานเพิ่มเติมก็ตาม แท้จริงเป็นการระบุพยานครั้งแรกตามประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความแพ่ง มาตรา 88 วรรคแรก นั่นเองซึ่งจำเลยมีสิทธิยื่นบัญชีระบุพยานต่อศาลโดยไม่ต้องทำเป็นคำร้องเพราะวันนั้นศาลไม่ได้เริ่มต้นทำการสืบพยานจริง ๆ ส่วนการที่จำเลยยื่นบัญชีระบุพยานฉบับลงวันที่17 สิงหาคม 2513 โดยทำเป็นคำร้องนั้น แท้จริงก็เป็นการยื่นบัญชีระบุพยานเพิ่มเติมตามประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความแพ่ง มาตรา 88 วรรค2 นั่นเองซึ่งจำเลยมีสิทธิยื่นได้โดยไม่ต้องทำเป็นคำร้อง ฉะนั้น บัญชีระบุพยานจำเลยฉบับลงวันที่ 17 สิงหาคม 2513 จึงเป็นบัญชีระบุพยานที่ได้ยื่นต่อศาลไว้โดยชอบแล้ว
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 1384/2516 เวอร์ชัน 2 คำพิพากษาฎีกานี้ มีเนื้อหาจากเว็บทางการหลายรูปแบบ
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
อำนาจฟ้องคดีอาญาของ 'ผู้บุพการีตามความเป็นจริง' แม้มิได้เป็นบุพการีโดยชอบด้วยกฎหมาย
ผู้บุพการีตามประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความอาญา มาตรา 5(2) นั้นหมายถึง ผู้บุพการีตามความเป็นจริง
โจทก์กับนางลั่นแต่งงานกันโดยไม่ได้จดทะเบียนสมรสกันตามกฎหมายผู้ตายอายุ 17 ปียังเป็นผู้เยาว์ เป็นบุตรอยู่เรือนเดียวกันและอยู่ในความปกครองของโจทก์กับนางลั่น โจทก์เป็นผู้ไปแจ้งการเกิดว่าผู้ตายเป็นบุตรของตน และเป็นผู้ให้การศึกษาแก่ผู้ตายตลอดมาแต่โจทก์ไม่เคยยื่นคำร้องต่ออำเภอรับรองผู้ตายว่าเป็นบุตร แม้ผู้ตายจะมิใช่บุตรโดยชอบด้วยกฎหมายของโจทก์ แต่โจทก์ก็เป็นผู้บุพการีของผู้ตายตามความเป็นจริง เมื่อผู้ตายถูกจำเลยทำร้ายถึงแก่ความตายโจทก์ซึ่งเป็นผู้บุพการีตามความเป็นจริงของผู้ตายย่อมมีอำนาจฟ้องคดีแทนผู้ตายได้
(ประชุมใหญ่ ครั้งที่ 12/2516)
โจทก์กับนางลั่นแต่งงานกันโดยไม่ได้จดทะเบียนสมรสกันตามกฎหมายผู้ตายอายุ 17 ปียังเป็นผู้เยาว์ เป็นบุตรอยู่เรือนเดียวกันและอยู่ในความปกครองของโจทก์กับนางลั่น โจทก์เป็นผู้ไปแจ้งการเกิดว่าผู้ตายเป็นบุตรของตน และเป็นผู้ให้การศึกษาแก่ผู้ตายตลอดมาแต่โจทก์ไม่เคยยื่นคำร้องต่ออำเภอรับรองผู้ตายว่าเป็นบุตร แม้ผู้ตายจะมิใช่บุตรโดยชอบด้วยกฎหมายของโจทก์ แต่โจทก์ก็เป็นผู้บุพการีของผู้ตายตามความเป็นจริง เมื่อผู้ตายถูกจำเลยทำร้ายถึงแก่ความตายโจทก์ซึ่งเป็นผู้บุพการีตามความเป็นจริงของผู้ตายย่อมมีอำนาจฟ้องคดีแทนผู้ตายได้
(ประชุมใหญ่ ครั้งที่ 12/2516)
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 1384/2516
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
อำนาจฟ้องคดีอาญาของผู้บุพการีตามความเป็นจริง แม้มิได้เป็นผู้บุพการีโดยชอบด้วยกฎหมาย
ผู้บุพการีตามประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความอาญา มาตรา 5(2)นั้น หมายถึงผู้บุพการีตามความเป็นจริง
โจทก์กับนางลั่นแต่งงานกันโดยไม่ได้จดทะเบียนสมรสกันตามกฎหมาย ผู้ตายอายุ 17 ปียังเป็นผู้เยาว์ เป็นบุตรอยู่เรือนเดียวกันและอยู่ในความปกครองของโจทก์กับนางลั่น โจทก์เป็นผู้ไปแจ้งการเกิดว่าผู้ตายเป็นบุตรของตน และเป็นผู้ให้การศึกษาแก่ผู้ตายตลอดมา แต่โจทก์ไม่เคยยื่นคำร้องต่ออำเภอรับรองผู้ตายว่าเป็นบุตร แม้ผู้ตายจะมิใช่บุตรโดยชอบด้วยกฎหมายของโจทก์ แต่โจทก์ก็เป็นผู้บุพการีของผู้ตายตามความเป็นจริง เมื่อผู้ตายถูกจำเลยทำร้ายถึงแก่ความตาย โจทก์ซึ่งเป็นผู้บุพการีตามความเป็นจริงของผู้ตายย่อมมีอำนาจฟ้องคดีแทนผู้ตายได้ (ประชุมใหญ่ ครั้งที่ 12/2516)
โจทก์กับนางลั่นแต่งงานกันโดยไม่ได้จดทะเบียนสมรสกันตามกฎหมาย ผู้ตายอายุ 17 ปียังเป็นผู้เยาว์ เป็นบุตรอยู่เรือนเดียวกันและอยู่ในความปกครองของโจทก์กับนางลั่น โจทก์เป็นผู้ไปแจ้งการเกิดว่าผู้ตายเป็นบุตรของตน และเป็นผู้ให้การศึกษาแก่ผู้ตายตลอดมา แต่โจทก์ไม่เคยยื่นคำร้องต่ออำเภอรับรองผู้ตายว่าเป็นบุตร แม้ผู้ตายจะมิใช่บุตรโดยชอบด้วยกฎหมายของโจทก์ แต่โจทก์ก็เป็นผู้บุพการีของผู้ตายตามความเป็นจริง เมื่อผู้ตายถูกจำเลยทำร้ายถึงแก่ความตาย โจทก์ซึ่งเป็นผู้บุพการีตามความเป็นจริงของผู้ตายย่อมมีอำนาจฟ้องคดีแทนผู้ตายได้ (ประชุมใหญ่ ครั้งที่ 12/2516)
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 1378/2516 เวอร์ชัน 2 คำพิพากษาฎีกานี้ มีเนื้อหาจากเว็บทางการหลายรูปแบบ
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
อายุความหนี้จากการซ่อมรถและซื้อเครื่องอะไหล่: สิทธิเรียกร้องเริ่มนับจากวันที่ปิดบัญชี
จำเลยได้เปิดบัญชีค่าซ่อมรถรวมทั้งค่าเครื่องอะไหล่รถกับโจทก์ตั้งแต่ 28 กันยายน 2509 ตลอดมาจนถึงวันที่ 10พฤศจิกายน 2510โจทก์จึงปิดบัญชีคิดเงิน สิทธิเรียกร้องของโจทก์ในหนี้ดังกล่าวมีกำหนดอายุความ 2 ปี และโจทก์ชอบที่จะใช้บังคับได้ตั้งแต่วันถัดจากวันปิดบัญชีเป็นต้นไป เมื่อไม่ปรากฏว่าหลังจากนั้นจำเลยได้ทำการอย่างใดอย่างหนึ่งอันปราศจากเคลือบคลุมสงสัยตระหนักเป็นปริยายว่ายอมรับสภาพตามสิทธิเรียกร้องนั้น และเมื่อนับถึงวันฟ้องมีระยะเวลาเกินกว่า 2 ปีแล้ว ฟ้องของโจทก์จึงขาดอายุความ
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 1378/2516
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
อายุความหนี้ค่าซ่อมรถ: สิทธิเรียกร้องเริ่มนับแต่วันปิดบัญชี หากฟ้องเกิน 2 ปี ฟ้องขาดอายุความ
จำเลยได้เปิดบัญชีค่าซ่อมรถรวมทั้งค่าเครื่องอะไหล่รถกับโจทก์ ตั้งแต่ 28 กันยายน 2509 ตลอดมาจนถึงวันที่ 10พฤศจิกายน 2510 โจทก์จึงปิดบัญชีคิดเงิน สิทธิเรียกร้องของโจทก์ในหนี้ดังกล่าวมีกำหนดอายุความ 2 ปี และโจทก์ชอบที่จะใช้บังคับได้ตั้งแต่วันถัดจากวันปิดบัญชีเป็นต้นไป เมื่อไม่ปรากฏว่าหลังจากนั้นจำเลยได้ทำการอย่างใดอย่างหนึ่งอันปราศจากเคลือบคลุมสงสัยตระหนักเป็นปริยายว่ายอมรับสภาพตามสิทธิเรียกร้องนั้น และเมื่อนับถึงวันฟ้องมีระยะเวลาเกินกว่า 2 ปีแล้ว ฟ้องของโจทก์จึงขาดอายุความ
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 1039/2516
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
อำนาจสั่งคืนทรัพย์ในคดีอาญา แม้ศาลยกฟ้อง คำขอส่วนแพ่งยังคงมีผล
ในคดีที่พนักงานอัยการเป็นโจทก์ฟ้องว่าจำเลยลักทรัพย์กับขอให้จำเลยคืนหรือใช้ราคาทรัพย์แก่ผู้เสียหายด้วยนั้น แม้ศาลจะพิพากษายกฟ้องคดีส่วนอาญา แต่เมื่อคำขอส่วนแพ่ง เป็นคำขอที่เกี่ยวเนื่องกับคดีอาญาที่โจทก์ฟ้อง ดังนี้อำนาจของพนักงานอัยการที่จะว่ากล่าวเกี่ยวกับคำขอส่วนแพ่งยังคงมีต่อไป ศาลจึงมีอำนาจสั่งให้จำเลยคืนหรือใช้ราคาทรัพย์แก่ผู้เสียหายได้ (ประชุมใหญ่ ครั้งที่ 10/2516)
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 1039/2516 เวอร์ชัน 2 คำพิพากษาฎีกานี้ มีเนื้อหาจากเว็บทางการหลายรูปแบบ
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
อำนาจสั่งให้ชดใช้ค่าเสียหายในคดีอาญา แม้ศาลยกฟ้อง
ในคดีที่พนักงานอัยการเป็นโจทก์ฟ้องว่าจำเลยลักทรัพย์กับขอให้จำเลยคืนหรือใช้ราคาทรัพย์แก่ผู้เสียหายด้วยนั้น แม้ศาลจะพิพากษายกฟ้องคดีส่วนอาญา แต่เมื่อคำขอส่วนแพ่ง เป็นคำขอที่เกี่ยวเนื่องกับคดีอาญาที่โจทก์ฟ้อง ดังนี้ อำนาจของพนักงานอัยการที่จะว่ากล่าวเกี่ยวกับคำขอส่วนแพ่งยังคงมีต่อไป ศาลจึงมีอำนาจสั่งให้จำเลยคืนหรือใช้ราคาทรัพย์แก่ผู้เสียหายได้(ประชุมใหญ่ ครั้งที่ 10/2516 )
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 706/2516 เวอร์ชัน 2 คำพิพากษาฎีกานี้ มีเนื้อหาจากเว็บทางการหลายรูปแบบ
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
การจับกุมและการควบคุมตัวโดยมิชอบของเจ้าพนักงานตำรวจ การข่มขืนใจและหน่วงเหนี่ยวเสรีภาพ
การบรรยายฟ้องเกี่ยวแก่การกระทำตามประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความอาญามาตรา 158(5) หาได้บัญญัติว่าต้องใช้ถ้อยคำของกฎหมายไม่โจทก์จะบรรยายถ้อยคำอย่างใดพอให้เข้าใจได้ว่า จำเลยได้กระทำการที่กฎหมายบัญญัติว่าเป็นความผิดก็ใช้ได้
ฟ้องขอให้ลงโทษจำเลยตามประมวลกฎหมายอาญา มาตรา 309และ มาตรา 295 โดยโจทก์บรรยายฟ้องว่า "จำเลยมีจิตคิดร้ายเจตนากลั่นแกล้งปฏิบัติหน้าที่โดยมิชอบ ร่วมกันจับมือขา กระชากและเตะโจทก์ ใส่กุญแจมือโจทก์ไพล่หลังจนโจทก์มีบาดแผลและทั้งควบคุมโจทก์ไว้ 2 คืน โจทก์ได้รับความเสียหาย" ข้อความดังกล่าวเข้าใจได้ดีแล้วว่า พฤติการณ์ที่จำเลยกระทำต่อโจทก์นั้น เป็นการที่จำเลยได้ข่มขืนใจให้โจทก์ต้องจำยอมต่อการกระทำของจำเลย โดยทำให้กลัวว่าจะเกิดอันตรายต่อชีวิตร่างกาย เสรีภาพของโจทก์ และการที่จำเลยจับมือ ขา กระชากและเตะโจทก์จนมีบาดแผล ถือได้ว่าเป็นการประทุษร้ายให้เกิดอันตรายแก่กายเพราะการกระทำของจำเลยเป็นการกระทำซึ่งกฎหมายบัญญัติว่าเป็นผิด จึงเป็น ฟ้องที่สมบูรณ์แล้ว
ประมวลกฎหมายอาญามาตรา 157 มิได้ยกเลิกไปเสียทีเดียวเพียงแต่ถูกแก้ไขเพิ่มเติมโดยพระราชบัญญัติแก้ไขเพิ่มเติมประมวลกฎหมายอาญา พ.ศ.2502 มาตรา 13 และยังคงเป็นบทบังคับอยู่เช่นเดิม แม้ฟ้องโจทก์อ้างแต่พระราชบัญญัติและมาตราเดิมไม่อ้างกฎหมายที่แก้ไขเพิ่มเติมเป็นบทลงโทษก็ใช้ได้ ถือว่าเป็นหน้าที่ของศาลต้องรู้เองศาลย่อมมีอำนาจลงโทษตามมาตรา 157 ที่แก้ไขได้
โจทก์ได้กระทำผิดซึ่งหน้า แต่ความผิดที่โจทก์กระทำเป็นแต่เพียงความผิดฐานลหุโทษ ฐานฉายภาพยนตร์ในโรงภาพยนตร์เก็บค่าดูจากประชาชนโดยไม่ได้รับอนุญาต จำเลยทุกคนรู้จักหลักแหล่งของโจทก์แล้ว จึงไม่เป็นเหตุให้ถือว่าเป็นกรณีฉุกเฉินอย่างยิ่งตามประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความอาญา มาตรา 96(2)การที่จำเลยทั้งหมดผู้เป็นเจ้าพนักงานไปทำการจับกุมโจทก์ในที่รโหฐานในเวลากลางคืนโดยไม่มีหมาย จึงไม่มีอำนาจที่จะทำได้ตามกฎหมาย โจทก์มีสิทธิป้องกันการจับกุมได้และการที่จำเลยทั้งหมดควบคุมโจทก์จากโรงภาพยนตร์ไปสถานีตำรวจ ถือได้ว่าเป็นการหน่วงเหนี่ยวโจทก์ให้ปราศจากเสรีภาพในร่างกายเช่นกัน
ฟ้องขอให้ลงโทษจำเลยตามประมวลกฎหมายอาญา มาตรา 309และ มาตรา 295 โดยโจทก์บรรยายฟ้องว่า "จำเลยมีจิตคิดร้ายเจตนากลั่นแกล้งปฏิบัติหน้าที่โดยมิชอบ ร่วมกันจับมือขา กระชากและเตะโจทก์ ใส่กุญแจมือโจทก์ไพล่หลังจนโจทก์มีบาดแผลและทั้งควบคุมโจทก์ไว้ 2 คืน โจทก์ได้รับความเสียหาย" ข้อความดังกล่าวเข้าใจได้ดีแล้วว่า พฤติการณ์ที่จำเลยกระทำต่อโจทก์นั้น เป็นการที่จำเลยได้ข่มขืนใจให้โจทก์ต้องจำยอมต่อการกระทำของจำเลย โดยทำให้กลัวว่าจะเกิดอันตรายต่อชีวิตร่างกาย เสรีภาพของโจทก์ และการที่จำเลยจับมือ ขา กระชากและเตะโจทก์จนมีบาดแผล ถือได้ว่าเป็นการประทุษร้ายให้เกิดอันตรายแก่กายเพราะการกระทำของจำเลยเป็นการกระทำซึ่งกฎหมายบัญญัติว่าเป็นผิด จึงเป็น ฟ้องที่สมบูรณ์แล้ว
ประมวลกฎหมายอาญามาตรา 157 มิได้ยกเลิกไปเสียทีเดียวเพียงแต่ถูกแก้ไขเพิ่มเติมโดยพระราชบัญญัติแก้ไขเพิ่มเติมประมวลกฎหมายอาญา พ.ศ.2502 มาตรา 13 และยังคงเป็นบทบังคับอยู่เช่นเดิม แม้ฟ้องโจทก์อ้างแต่พระราชบัญญัติและมาตราเดิมไม่อ้างกฎหมายที่แก้ไขเพิ่มเติมเป็นบทลงโทษก็ใช้ได้ ถือว่าเป็นหน้าที่ของศาลต้องรู้เองศาลย่อมมีอำนาจลงโทษตามมาตรา 157 ที่แก้ไขได้
โจทก์ได้กระทำผิดซึ่งหน้า แต่ความผิดที่โจทก์กระทำเป็นแต่เพียงความผิดฐานลหุโทษ ฐานฉายภาพยนตร์ในโรงภาพยนตร์เก็บค่าดูจากประชาชนโดยไม่ได้รับอนุญาต จำเลยทุกคนรู้จักหลักแหล่งของโจทก์แล้ว จึงไม่เป็นเหตุให้ถือว่าเป็นกรณีฉุกเฉินอย่างยิ่งตามประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความอาญา มาตรา 96(2)การที่จำเลยทั้งหมดผู้เป็นเจ้าพนักงานไปทำการจับกุมโจทก์ในที่รโหฐานในเวลากลางคืนโดยไม่มีหมาย จึงไม่มีอำนาจที่จะทำได้ตามกฎหมาย โจทก์มีสิทธิป้องกันการจับกุมได้และการที่จำเลยทั้งหมดควบคุมโจทก์จากโรงภาพยนตร์ไปสถานีตำรวจ ถือได้ว่าเป็นการหน่วงเหนี่ยวโจทก์ให้ปราศจากเสรีภาพในร่างกายเช่นกัน
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 706/2516
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
การจับกุมและการกระทำโดยมิชอบของเจ้าพนักงาน: อำนาจจับกุม ความจำเป็น และขอบเขตการใช้กำลัง
การบรรยายฟ้องเกี่ยวแก่การกระทำตามประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความอาญา มาตรา 158(5) หาได้บัญญัติว่าต้องใช้ถ้อยคำของกฎหมายไม่ โจทก์จะบรรยายถ้อยคำอย่างใดพอให้เข้าใจได้ว่า จำเลยได้กระทำการที่กฎหมายบัญญัติว่าเป็นความผิดก็ใช้ได้
ฟ้องขอให้ลงโทษจำเลยตามประมวลกฎหมายอาญา มาตรา 309 และ มาตรา 295 โดยโจทก์บรรยายฟ้องว่า "จำเลยมีจิตคิดร้ายเจตนากลั่นแกล้งปฏิบัติหน้าที่โดยมิชอบ ร่วมกันจับมือขา กระชากและเตะโจทก์ ใส่กุญแจมือโจทก์ไพล่หลังจนโจทก์มีบาดแผลและทั้งควบคุมโจทก์ไว้ 2 คืน โจทก์ได้รับความเสียหาย" ข้อความดังกล่าวเข้าใจได้ดีแล้วว่า พฤติการณ์ที่จำเลยกระทำต่อโจทก์นั้น เป็นการที่จำเลยได้ข่มขืนใจให้โจทก์ต้องจำยอมต่อการกระทำของจำเลย โดยทำให้กลัวว่าจะเกิดอันตรายต่อชีวิตร่างกาย เสรีภาพของโจทก์ และการที่จำเลยจับมือ ขา กระชากและเตะโจทก์จนมีบาดแผล ถือได้ว่าเป็นการประทุษร้ายให้เกิดอันตรายแก่กายเพราะการกระทำของจำเลยเป็นการกระทำซึ่งกฎหมายบัญญัติว่าเป็นผิด จึงเป็น ฟ้องที่สมบูรณ์แล้ว
ประมวลกฎหมายอาญามาตรา 157 มิได้ยกเลิกไปเสียทีเดียวเพียงแต่ถูกแก้ไขเพิ่มเติมโดยพระราชบัญญัติแก้ไขเพิ่มเติมประมวลกฎหมายอาญา พ.ศ.2502 มาตรา 13 และยังคงเป็นบทบังคับอยู่เช่นเดิม แม้ฟ้องโจทก์อ้างแต่พระราชบัญญัติและมาตราเดิมไม่อ้างกฎหมายที่แก้ไขเพิ่มเติมเป็นบทลงโทษก็ใช้ได้ ถือว่าเป็นหน้าที่ของศาลต้องรู้เองศาลย่อมมีอำนาจลงโทษตามมาตรา 157 ที่แก้ไขได้
โจทก์ได้กระทำผิดซึ่งหน้า แต่ความผิดที่โจทก์กระทำเป็นแต่เพียงความผิดฐานลหุโทษ ฐานฉายภาพยนตร์ในโรงภาพยนตร์เก็บค่าดูจากประชาชนโดยไม่ได้รับอนุญาต จำเลยทุกคนรู้จักหลักแหล่งของโจทก์แล้ว จึงไม่เป็นเหตุให้ถือว่าเป็นกรณีฉุกเฉินอย่างยิ่งตามประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความอาญา มาตรา 96(2) การที่จำเลยทั้งหมดผู้เป็นเจ้าพนักงานไปทำการจับกุมโจทก์ในที่รโหฐานในเวลากลางคืนโดยไม่มีหมาย จึงไม่มีอำนาจที่จะทำได้ตามกฎหมาย โจทก์มีสิทธิป้องกันการจับกุมได้ และการที่จำเลยทั้งหมดควบคุมโจทก์จากโรงภาพยนตร์ไปสถานีตำรวจ ถือได้ว่าเป็นการหน่วงเหนี่ยวโจทก์ให้ปราศจากเสรีภาพในร่างกายเช่นกัน
ฟ้องขอให้ลงโทษจำเลยตามประมวลกฎหมายอาญา มาตรา 309 และ มาตรา 295 โดยโจทก์บรรยายฟ้องว่า "จำเลยมีจิตคิดร้ายเจตนากลั่นแกล้งปฏิบัติหน้าที่โดยมิชอบ ร่วมกันจับมือขา กระชากและเตะโจทก์ ใส่กุญแจมือโจทก์ไพล่หลังจนโจทก์มีบาดแผลและทั้งควบคุมโจทก์ไว้ 2 คืน โจทก์ได้รับความเสียหาย" ข้อความดังกล่าวเข้าใจได้ดีแล้วว่า พฤติการณ์ที่จำเลยกระทำต่อโจทก์นั้น เป็นการที่จำเลยได้ข่มขืนใจให้โจทก์ต้องจำยอมต่อการกระทำของจำเลย โดยทำให้กลัวว่าจะเกิดอันตรายต่อชีวิตร่างกาย เสรีภาพของโจทก์ และการที่จำเลยจับมือ ขา กระชากและเตะโจทก์จนมีบาดแผล ถือได้ว่าเป็นการประทุษร้ายให้เกิดอันตรายแก่กายเพราะการกระทำของจำเลยเป็นการกระทำซึ่งกฎหมายบัญญัติว่าเป็นผิด จึงเป็น ฟ้องที่สมบูรณ์แล้ว
ประมวลกฎหมายอาญามาตรา 157 มิได้ยกเลิกไปเสียทีเดียวเพียงแต่ถูกแก้ไขเพิ่มเติมโดยพระราชบัญญัติแก้ไขเพิ่มเติมประมวลกฎหมายอาญา พ.ศ.2502 มาตรา 13 และยังคงเป็นบทบังคับอยู่เช่นเดิม แม้ฟ้องโจทก์อ้างแต่พระราชบัญญัติและมาตราเดิมไม่อ้างกฎหมายที่แก้ไขเพิ่มเติมเป็นบทลงโทษก็ใช้ได้ ถือว่าเป็นหน้าที่ของศาลต้องรู้เองศาลย่อมมีอำนาจลงโทษตามมาตรา 157 ที่แก้ไขได้
โจทก์ได้กระทำผิดซึ่งหน้า แต่ความผิดที่โจทก์กระทำเป็นแต่เพียงความผิดฐานลหุโทษ ฐานฉายภาพยนตร์ในโรงภาพยนตร์เก็บค่าดูจากประชาชนโดยไม่ได้รับอนุญาต จำเลยทุกคนรู้จักหลักแหล่งของโจทก์แล้ว จึงไม่เป็นเหตุให้ถือว่าเป็นกรณีฉุกเฉินอย่างยิ่งตามประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความอาญา มาตรา 96(2) การที่จำเลยทั้งหมดผู้เป็นเจ้าพนักงานไปทำการจับกุมโจทก์ในที่รโหฐานในเวลากลางคืนโดยไม่มีหมาย จึงไม่มีอำนาจที่จะทำได้ตามกฎหมาย โจทก์มีสิทธิป้องกันการจับกุมได้ และการที่จำเลยทั้งหมดควบคุมโจทก์จากโรงภาพยนตร์ไปสถานีตำรวจ ถือได้ว่าเป็นการหน่วงเหนี่ยวโจทก์ให้ปราศจากเสรีภาพในร่างกายเช่นกัน
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 698/2516 เวอร์ชัน 2 คำพิพากษาฎีกานี้ มีเนื้อหาจากเว็บทางการหลายรูปแบบ
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
การจับกุมและการป้องกันตัวโดยชอบด้วยกฎหมาย: กรณีความผิดซึ่งหน้า, การใช้อำนาจเกินสมควร และการป้องกันตน
คืนเกิดเหตุมีการลักลอบเล่นการพนันกันบนบ้านผู้มีชื่ออันเป็นที่รโหฐาน ผู้เสียหายกับพวกซึ่งเป็นเจ้าพนักงานตำรวจแต่ไม่ใช่ตำรวจชั้นผู้ใหญ่ ได้รับคำสั่งให้ไปจับกุม จึงพากันไปยังบ้านที่เกิดเหตุ แต่ไม่มีหมายจับหรือหมายค้นไปด้วยไปถึงได้แอบดูเห็นคนหลายคนกำลังเล่นการพนันกันอยู่กรณีเช่นนี้ถือว่าเป็นความผิดซึ่งเห็นกำลังกระทำลง อันเป็นความผิดซึ่งหน้าตามความหมายแห่งประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความอาญา มาตรา 80
ขณะเกิดเหตุนั้นมีคนบนเรือนประมาณ 50 คน ทั้งที่กำลังเล่นและมิได้เล่นการพนัน ถ้าปล่อยให้เนิ่นช้าไปโดยไม่จับทันทีก็อาจจับผู้กระทำความผิดไม่ได้เลย เพราะปนเปกันอยู่มากทั้งบรรดาพยานหลักฐานต่างๆ ก็อาจสูญหายหรือถูกทำลายไปหมดจึงเป็นกรณีฉุกเฉินอย่างยิ่ง ผู้เสียหายกับพวกจึงมีอำนาจเข้าไป (ค้น)ในบ้านที่เกิดเหตุอันเป็นที่รโหฐานในเวลากลางคืนโดยไม่ต้องมีหมายค้นตามประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความอาญา มาตรา 96 (2) ประกอบด้วยมาตรา 92 (2) และมีอำนาจจับผู้กระทำความผิด โดยไม่ต้องมีหมายจับตามประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความอาญา มาตรา 80และมาตรา 81 (1)
ขณะที่ผู้เสียหายกับพวกเข้าทำการจับกุมนั้น พวกผู้เล่นแตกฮือกันรีบหนีลงจากเรือนผู้เสียหายวิ่งเข้าจับข้อมือจำเลย จำเลยสะบัดหลุดผู้เสียหายใช้ปืนตีศีรษะจำเลยจนจำเลยล้มลงไป ขณะเดียวกันมีตำรวจอื่นเข้ากลุ้มรุมทำร้ายจำเลยด้วย แม้ผู้เสียหายจะมีอำนาจจับแต่การใช้วิธีการจับดังกล่าวนี้รุนแรงเกินความเหมาะสมแก่พฤติการณ์แห่งเรื่อง ตามที่บัญญัติไว้ในประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความอาญามาตรา 83 วรรคสอง การจับของผู้เสียหายดังนี้จึงเป็นการใช้วิธีจับที่ไม่ชอบด้วยกฎหมาย. จำเลยจึงชอบที่จะป้องกันสิทธิของจำเลยให้พ้นจากภยันตรายอันเกิดจากการจับโดยใช้วิธีการประทุษร้ายอันละเมิดต่อกฎหมายนี้ได้ ไม่เป็นความผิดฐานต่อสู้หรือขัดขวางเจ้าพนักงาน
จำเลยได้ใช้มีดแทงผู้เสียหายในขณะที่ผู้เสียหายทำร้ายจำเลยและมีตำรวจอื่นอีกหลายคนกลุ้มรุมเข้ามาทำร้ายจำเลยด้วยผู้เสียหายได้รับบาดเจ็บที่ท้อง 1 แห่ง และที่ไหล่ขวาอีก 1 แห่งรักษาประมาณ 21 วันหาย และมีดที่จำเลยใช้แทงก็เป็นมีดขนาดเล็กประกอบกับแทงในขณะที่เหตุการณ์กำลังชุลมุนสับสน อันอาจทำให้จำเลยเข้าใจได้ว่าจำเลยจะถูกผู้เสียหายและตำรวจอื่นทำร้ายเอาอีกการกระทำของจำเลยดังกล่าวถือได้ว่าเป็นการกระทำโดยชอบด้วยกฎหมายเพื่อป้องกันตนพอสมควรแก่เหตุ
(วรรค 1 - 2 วินิจฉัยโดยมติที่ประชุมใหญ่ ครั้งที่ 5/2516)
ขณะเกิดเหตุนั้นมีคนบนเรือนประมาณ 50 คน ทั้งที่กำลังเล่นและมิได้เล่นการพนัน ถ้าปล่อยให้เนิ่นช้าไปโดยไม่จับทันทีก็อาจจับผู้กระทำความผิดไม่ได้เลย เพราะปนเปกันอยู่มากทั้งบรรดาพยานหลักฐานต่างๆ ก็อาจสูญหายหรือถูกทำลายไปหมดจึงเป็นกรณีฉุกเฉินอย่างยิ่ง ผู้เสียหายกับพวกจึงมีอำนาจเข้าไป (ค้น)ในบ้านที่เกิดเหตุอันเป็นที่รโหฐานในเวลากลางคืนโดยไม่ต้องมีหมายค้นตามประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความอาญา มาตรา 96 (2) ประกอบด้วยมาตรา 92 (2) และมีอำนาจจับผู้กระทำความผิด โดยไม่ต้องมีหมายจับตามประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความอาญา มาตรา 80และมาตรา 81 (1)
ขณะที่ผู้เสียหายกับพวกเข้าทำการจับกุมนั้น พวกผู้เล่นแตกฮือกันรีบหนีลงจากเรือนผู้เสียหายวิ่งเข้าจับข้อมือจำเลย จำเลยสะบัดหลุดผู้เสียหายใช้ปืนตีศีรษะจำเลยจนจำเลยล้มลงไป ขณะเดียวกันมีตำรวจอื่นเข้ากลุ้มรุมทำร้ายจำเลยด้วย แม้ผู้เสียหายจะมีอำนาจจับแต่การใช้วิธีการจับดังกล่าวนี้รุนแรงเกินความเหมาะสมแก่พฤติการณ์แห่งเรื่อง ตามที่บัญญัติไว้ในประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความอาญามาตรา 83 วรรคสอง การจับของผู้เสียหายดังนี้จึงเป็นการใช้วิธีจับที่ไม่ชอบด้วยกฎหมาย. จำเลยจึงชอบที่จะป้องกันสิทธิของจำเลยให้พ้นจากภยันตรายอันเกิดจากการจับโดยใช้วิธีการประทุษร้ายอันละเมิดต่อกฎหมายนี้ได้ ไม่เป็นความผิดฐานต่อสู้หรือขัดขวางเจ้าพนักงาน
จำเลยได้ใช้มีดแทงผู้เสียหายในขณะที่ผู้เสียหายทำร้ายจำเลยและมีตำรวจอื่นอีกหลายคนกลุ้มรุมเข้ามาทำร้ายจำเลยด้วยผู้เสียหายได้รับบาดเจ็บที่ท้อง 1 แห่ง และที่ไหล่ขวาอีก 1 แห่งรักษาประมาณ 21 วันหาย และมีดที่จำเลยใช้แทงก็เป็นมีดขนาดเล็กประกอบกับแทงในขณะที่เหตุการณ์กำลังชุลมุนสับสน อันอาจทำให้จำเลยเข้าใจได้ว่าจำเลยจะถูกผู้เสียหายและตำรวจอื่นทำร้ายเอาอีกการกระทำของจำเลยดังกล่าวถือได้ว่าเป็นการกระทำโดยชอบด้วยกฎหมายเพื่อป้องกันตนพอสมควรแก่เหตุ
(วรรค 1 - 2 วินิจฉัยโดยมติที่ประชุมใหญ่ ครั้งที่ 5/2516)