พบผลลัพธ์ทั้งหมด 13 รายการ
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 844/2513 เวอร์ชัน 2 คำพิพากษาฎีกานี้ มีเนื้อหาจากเว็บทางการหลายรูปแบบ
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
ความรับผิดของนายจ้างต่อละเมิดของลูกจ้าง และค่าเสียหายจากการไม่ได้ใช้รถ
คดีที่ฟ้องนายจ้างให้ร่วมรับผิดกับลูกจ้างตามประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์มาตรา 425 นั้น รถคันที่ลูกจ้างขับไปกระทำละเมิดนั้นจะเป็นของนายจ้างหรือไม่ไม่สำคัญ
จำเลยที่ 1 เป็นลูกจ้างขับรถไปในทางการที่จ้างของจำเลยที่ 2เมื่อจำเลยที่ 1 ขับรถไปชนรถของโจทก์เสียหายแล้วจำเลยที่ 3 ซึ่งเป็นผู้รับประกันภัยได้รับว่าจะซ่อมรถให้โจทก์ แต่แล้วก็ไม่ซ่อมให้ จำเลยที่ 2จะต้องร่วมรับผิดกับจำเลยที่ 1 เพื่อความเสียหาย ที่โจทก์ไม่ได้ใช้รถเป็นเวลานานด้วยจะอ้างว่าจำเลยที่ 3 ต้องรับผิดแต่ผู้เดียวหาได้ไม่และการที่โจทก์ไม่ได้ใช้รถนั้นเป็นผลโดยตรงจากการละเมิดจำเลยที่ 2 จะต้องรับผิดชดใช้ค่าเสียหายให้โจทก์ด้วย จะอ้างว่าโจทก์มีรถหลายคัน ไม่น่าจะขาดรถสำหรับใช้ หรือคาดไม่ถึงว่าโจทก์มีหน้าที่ต้องให้เช่ารถนั้นด้วยหาได้ไม่
ศาลชั้นต้นพิพากษาให้จำเลยที่ 1 และที่ 2 ใช้ค่าเสียหายในการที่โจทก์ไม่ได้ใช้รถตั้งแต่วันละเมิดจนกว่าจะชำระเงินเสร็จ เมื่อปรากฏว่าในระหว่างพิจารณาของศาลอุทธรณ์ จำเลยที่ 3 ได้ชดใช้ค่าซ่อมรถโจทก์แล้วความเสียหายของรถโจทก์จึงหมดสิ้นไปศาลฎีกาย่อมพิพากษาแก้ให้จำเลยที่ 1 กับที่ 2 ชำระค่าเสียหายในส่วนนี้ถึงวันที่จำเลยที่ 3ชดใช้ให้โจทก์นั้น
จำเลยที่ 1 เป็นลูกจ้างขับรถไปในทางการที่จ้างของจำเลยที่ 2เมื่อจำเลยที่ 1 ขับรถไปชนรถของโจทก์เสียหายแล้วจำเลยที่ 3 ซึ่งเป็นผู้รับประกันภัยได้รับว่าจะซ่อมรถให้โจทก์ แต่แล้วก็ไม่ซ่อมให้ จำเลยที่ 2จะต้องร่วมรับผิดกับจำเลยที่ 1 เพื่อความเสียหาย ที่โจทก์ไม่ได้ใช้รถเป็นเวลานานด้วยจะอ้างว่าจำเลยที่ 3 ต้องรับผิดแต่ผู้เดียวหาได้ไม่และการที่โจทก์ไม่ได้ใช้รถนั้นเป็นผลโดยตรงจากการละเมิดจำเลยที่ 2 จะต้องรับผิดชดใช้ค่าเสียหายให้โจทก์ด้วย จะอ้างว่าโจทก์มีรถหลายคัน ไม่น่าจะขาดรถสำหรับใช้ หรือคาดไม่ถึงว่าโจทก์มีหน้าที่ต้องให้เช่ารถนั้นด้วยหาได้ไม่
ศาลชั้นต้นพิพากษาให้จำเลยที่ 1 และที่ 2 ใช้ค่าเสียหายในการที่โจทก์ไม่ได้ใช้รถตั้งแต่วันละเมิดจนกว่าจะชำระเงินเสร็จ เมื่อปรากฏว่าในระหว่างพิจารณาของศาลอุทธรณ์ จำเลยที่ 3 ได้ชดใช้ค่าซ่อมรถโจทก์แล้วความเสียหายของรถโจทก์จึงหมดสิ้นไปศาลฎีกาย่อมพิพากษาแก้ให้จำเลยที่ 1 กับที่ 2 ชำระค่าเสียหายในส่วนนี้ถึงวันที่จำเลยที่ 3ชดใช้ให้โจทก์นั้น
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 844/2513
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
นายจ้างต้องรับผิดร่วมกับลูกจ้างในความเสียหายจากการขับรถละเมิด แม้รถไม่ใช่ของนายจ้าง และการชดใช้ค่าเสียหายสิ้นสุดเมื่อรถซ่อมเสร็จ
คดีที่ฟ้องนายจ้างให้ร่วมรับผิดกับลูกจ้างตามประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ มาตรา 425 นั้น รถคันที่ลูกจ้างขับไปกระทำละเมิดนั้นจะเป็นของนายจ้างหรือไม่ไม่สำคัญ
จำเลยที่ 1 เป็นลูกจ้างขับรถไปในทางการที่จ้างของจำเลยที่ 2เมื่อจำเลยที่ 1 ขับรถไปชนรถของโจทก์เสียหายแล้วจำเลยที่ 3 ซึ่งเป็นผู้รับประกันภัยได้รับว่าจะซ่อมรถให้โจทก์ แต่แล้วก็ไม่ซ่อมให้ จำเลยที่ 2จะต้องร่วมรับผิดกับจำเลยที่ 1 เพื่อความเสียหาย ที่โจทก์ไม่ได้ใช้รถเป็นเวลานานด้วยจะอ้างว่าจำเลยที่ 3 ต้องรับผิดแต่ผู้เดียวหาได้ไม่และการที่โจทก์ไม่ได้ใช้รถนั้นเป็นผลโดยตรงจากการละเมิดจำเลยที่ 2 จะต้องรับผิดชดใช้ค่าเสียหายให้โจทก์ด้วย จะอ้างว่าโจทก์มีรถหลายคัน ไม่น่าจะขาดรถสำหรับใช้ หรือคาดไม่ถึงว่าโจทก์มีหน้าที่ต้องให้เช่ารถนั้นด้วยหาได้ไม่
ศาลชั้นต้นพิพากษาให้จำเลยที่ 1 และที่ 2 ใช้ค่าเสียหายในการที่โจทก์ไม่ได้ใช้รถตั้งแต่วันละเมิดจนกว่าจะชำระเงินเสร็จ เมื่อปรากฏว่าในระหว่างพิจารณาของศาลอุทธรณ์ จำเลยที่ 3 ได้ชดใช้ค่าซ่อมรถโจทก์แล้วความเสียหายของรถโจทก์จึงหมดสิ้นไปศาลฎีกาย่อมพิพากษาแก้ให้จำเลยที่ 1 กับที่ 2 ชำระค่าเสียหายในส่วนนี้ถึงวันที่จำเลยที่ 3 ชดใช้ให้โจทก์นั้น
จำเลยที่ 1 เป็นลูกจ้างขับรถไปในทางการที่จ้างของจำเลยที่ 2เมื่อจำเลยที่ 1 ขับรถไปชนรถของโจทก์เสียหายแล้วจำเลยที่ 3 ซึ่งเป็นผู้รับประกันภัยได้รับว่าจะซ่อมรถให้โจทก์ แต่แล้วก็ไม่ซ่อมให้ จำเลยที่ 2จะต้องร่วมรับผิดกับจำเลยที่ 1 เพื่อความเสียหาย ที่โจทก์ไม่ได้ใช้รถเป็นเวลานานด้วยจะอ้างว่าจำเลยที่ 3 ต้องรับผิดแต่ผู้เดียวหาได้ไม่และการที่โจทก์ไม่ได้ใช้รถนั้นเป็นผลโดยตรงจากการละเมิดจำเลยที่ 2 จะต้องรับผิดชดใช้ค่าเสียหายให้โจทก์ด้วย จะอ้างว่าโจทก์มีรถหลายคัน ไม่น่าจะขาดรถสำหรับใช้ หรือคาดไม่ถึงว่าโจทก์มีหน้าที่ต้องให้เช่ารถนั้นด้วยหาได้ไม่
ศาลชั้นต้นพิพากษาให้จำเลยที่ 1 และที่ 2 ใช้ค่าเสียหายในการที่โจทก์ไม่ได้ใช้รถตั้งแต่วันละเมิดจนกว่าจะชำระเงินเสร็จ เมื่อปรากฏว่าในระหว่างพิจารณาของศาลอุทธรณ์ จำเลยที่ 3 ได้ชดใช้ค่าซ่อมรถโจทก์แล้วความเสียหายของรถโจทก์จึงหมดสิ้นไปศาลฎีกาย่อมพิพากษาแก้ให้จำเลยที่ 1 กับที่ 2 ชำระค่าเสียหายในส่วนนี้ถึงวันที่จำเลยที่ 3 ชดใช้ให้โจทก์นั้น
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 524/2513
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
สิทธิฎีกาเมื่อศาลอุทธรณ์พิพากษายืนตามศาลชั้นต้นแต่ด้วยเหตุผลอื่น และผลคำพิพากษาไม่ตัดสิทธิโจทก์ในการฟ้องคดีใหม่
แม้ศาลอุทธรณ์จะพิพากษาให้จำเลยชนะคดี แต่ถ้าจำเลยเห็นว่าศาลอุทธรณ์วินิจฉัยไม่ถูกต้องตรงตามประเด็นและผลของคำพิพากษาทำให้เสียสิทธิของจำเลย จำเลยก็มีสิทธิฎีกาได้
คดีมีประเด็นว่าโจทก์ฟ้องเรียกเงินที่โจทก์อ้างว่าเข้าหุ้นส่วนกับจำเลยคืนได้หรือไม่ ศาลชั้นต้นฟังว่าโจทก์ไม่ได้เข้าหุ้นส่วนกับจำเลยจึงยกฟ้อง ศาลอุทธรณ์เห็นว่าการนำสืบของโจทก์นอกฟ้องนอกประเด็น จึงพิพากษายืน ผลก็คือโจทก์ฟ้องเรียกเงินคืนจากจำเลยไม่ได้ ถือว่าศาลอุทธรณ์พิพากษาตรงตามประเด็นแล้ว
การที่ศาลอุทธรณ์พิพากษายกฟ้อง แต่ไม่ตัดสิทธิโจทก์ที่จะนำคดีมาฟ้องใหม่ภายในอายุความนั้น เป็นดุลพินิจของศาลที่จะวินิจฉัยสั่งได้
คดีมีประเด็นว่าโจทก์ฟ้องเรียกเงินที่โจทก์อ้างว่าเข้าหุ้นส่วนกับจำเลยคืนได้หรือไม่ ศาลชั้นต้นฟังว่าโจทก์ไม่ได้เข้าหุ้นส่วนกับจำเลยจึงยกฟ้อง ศาลอุทธรณ์เห็นว่าการนำสืบของโจทก์นอกฟ้องนอกประเด็น จึงพิพากษายืน ผลก็คือโจทก์ฟ้องเรียกเงินคืนจากจำเลยไม่ได้ ถือว่าศาลอุทธรณ์พิพากษาตรงตามประเด็นแล้ว
การที่ศาลอุทธรณ์พิพากษายกฟ้อง แต่ไม่ตัดสิทธิโจทก์ที่จะนำคดีมาฟ้องใหม่ภายในอายุความนั้น เป็นดุลพินิจของศาลที่จะวินิจฉัยสั่งได้
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 524/2513 เวอร์ชัน 2 คำพิพากษาฎีกานี้ มีเนื้อหาจากเว็บทางการหลายรูปแบบ
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
สิทธิฎีกาแม้ศาลอุทธรณ์พิพากษาให้ชนะคดี หากวินิจฉัยไม่ตรงประเด็นและกระทบสิทธิ
แม้ศาลอุทธรณ์จะพิพากษาให้จำเลยชนะคดี แต่ถ้าจำเลยเห็นว่าศาลอุทธรณ์วินิจฉัยไม่ถูกต้องตรงตามประเด็น และผลของคำพิพากษาทำให้เสียสิทธิของจำเลย จำเลยก็มีสิทธิฎีกาได้
คดีมีประเด็นว่าโจทก์ฟ้องเรียกเงินที่โจทก์อ้างว่าเข้าหุ้นส่วนกับจำเลยคืนได้หรือไม่ ศาลชั้นต้นฟังว่าโจทก์ไม่ได้เข้าหุ้นส่วนกับจำเลยจึงยกฟ้อง ศาลอุทธรณ์เห็นว่าการนำสืบของโจทก์นอกฟ้องนอกประเด็นจึงพิพากษายืน ผลก็คือโจทก์ฟ้องเรียกเงินคืนจากจำเลยไม่ได้ ถือว่าศาลอุทธรณ์พิพากษาตรงตามประเด็นแล้ว
การที่ศาลอุทธรณ์พิพากษายกฟ้อง แต่ไม่ตัดสิทธิโจทก์ที่จะนำคดีมาฟ้องใหม่ภายในอายุความนั้น เป็นดุลยพินิจของศาลที่จะวินิจฉัยสั่งได้
คดีมีประเด็นว่าโจทก์ฟ้องเรียกเงินที่โจทก์อ้างว่าเข้าหุ้นส่วนกับจำเลยคืนได้หรือไม่ ศาลชั้นต้นฟังว่าโจทก์ไม่ได้เข้าหุ้นส่วนกับจำเลยจึงยกฟ้อง ศาลอุทธรณ์เห็นว่าการนำสืบของโจทก์นอกฟ้องนอกประเด็นจึงพิพากษายืน ผลก็คือโจทก์ฟ้องเรียกเงินคืนจากจำเลยไม่ได้ ถือว่าศาลอุทธรณ์พิพากษาตรงตามประเด็นแล้ว
การที่ศาลอุทธรณ์พิพากษายกฟ้อง แต่ไม่ตัดสิทธิโจทก์ที่จะนำคดีมาฟ้องใหม่ภายในอายุความนั้น เป็นดุลยพินิจของศาลที่จะวินิจฉัยสั่งได้
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 1485/2512
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
คดีล้มละลาย: การพิสูจน์ภาวะหนี้สินล้นพ้นตัวเป็นสำคัญ แม้ศาลวินิจฉัยเรื่องหนี้สิน แต่ไม่กระทบผลคำพิพากษา
ประเด็นสำคัญในคดีล้มละลายมีอยู่ว่า จำเลยซึ่งถูกฟ้องขอให้ล้มละลายเป็นผู้มีหนี้สินล้นพ้นตัวซึ่งมีกำหนดจำนวนหนี้สินแน่นอนเกินกว่าพันบาทหรือไม่ (หลังจากใช้พระราชบัญญัติล้มละลาย (ฉบับที่ 2) พ.ศ.2511 แล้ว จำนวนหนี้สินต้องไม่น้อยกว่าสามหมื่นบาท). เมื่อข้อเท็จจริงฟังได้ว่าจำเลยยังไม่มีหนี้สินล้นพ้นตัว. การที่จำเลยจะเป็นหนี้โจทก์จริงหรือไม่. จึงไม่ใช่ประเด็นที่จะต้องชี้ขาดในชั้นนี้ เพราะไม่ทำให้ผลแห่งคำพิพากษาที่ยกฟ้องเปลี่ยนแปลงไป.
คำพิพากษาศาลอุทธรณ์ในคดีล้มละลายวินิจฉัยว่า ตามเอกสารที่โจทก์อ้างฟ้อง จำเลยได้ยืมเงินไปจากโจทก์. แต่การยืมตามเอกสารบางฉบับ เป็นเวลากว่า 10 ปีแล้ว. จำเลยไม่ได้รับสภาพหนี้.จึงขาดอายุความ. ส่วนหนี้ที่ยังไม่ขาดอายุความนั้นไม่จำเป็นต้องชี้ขาดว่าจำเลยเป็นหนี้โจทก์อยู่เท่าใดแน่นอน. เพราะจำเลยนำสืบได้ว่าจำเลยมีทรัพย์สินอาจชำระหนี้โจทก์ได้ทั้งหมด. ไม่มีเหตุอันควรให้จำเลยล้มละลาย. แม้ศาลอุทธรณ์จะพิพากษายกฟ้องโจทก์ แต่คำวินิจฉัยที่ว่า จำเลยยืมเงินไปจากโจทก์และหนี้ตามเอกสารบางฉบับยังไม่ขาดอายุความ. อาจมีผลผูกพันจำเลยให้ต้องรับผิดในทางแพ่ง จำเลยจึงมีสิทธิฎีกาคัดค้านได้. (ข้อกฎหมายวรรคท้ายนี้ สรุปจากผลที่ศาลฎีการับวินิจฉัยฎีกาของจำเลย).
คำพิพากษาศาลอุทธรณ์ในคดีล้มละลายวินิจฉัยว่า ตามเอกสารที่โจทก์อ้างฟ้อง จำเลยได้ยืมเงินไปจากโจทก์. แต่การยืมตามเอกสารบางฉบับ เป็นเวลากว่า 10 ปีแล้ว. จำเลยไม่ได้รับสภาพหนี้.จึงขาดอายุความ. ส่วนหนี้ที่ยังไม่ขาดอายุความนั้นไม่จำเป็นต้องชี้ขาดว่าจำเลยเป็นหนี้โจทก์อยู่เท่าใดแน่นอน. เพราะจำเลยนำสืบได้ว่าจำเลยมีทรัพย์สินอาจชำระหนี้โจทก์ได้ทั้งหมด. ไม่มีเหตุอันควรให้จำเลยล้มละลาย. แม้ศาลอุทธรณ์จะพิพากษายกฟ้องโจทก์ แต่คำวินิจฉัยที่ว่า จำเลยยืมเงินไปจากโจทก์และหนี้ตามเอกสารบางฉบับยังไม่ขาดอายุความ. อาจมีผลผูกพันจำเลยให้ต้องรับผิดในทางแพ่ง จำเลยจึงมีสิทธิฎีกาคัดค้านได้. (ข้อกฎหมายวรรคท้ายนี้ สรุปจากผลที่ศาลฎีการับวินิจฉัยฎีกาของจำเลย).
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 1485/2512 เวอร์ชัน 2 คำพิพากษาฎีกานี้ มีเนื้อหาจากเว็บทางการหลายรูปแบบ
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
คดีล้มละลาย: การพิสูจน์ฐานะลูกหนี้และการมีทรัพย์สินพอชำระหนี้เป็นปัจจัยสำคัญ
ประเด็นสำคัญในคดีล้มละลายมีอยู่ว่า จำเลยซึ่งถูกฟ้องขอให้ล้มละลายเป็นผู้มีหนี้สินล้นพ้นตัวซึ่งมีกำหนดจำนวนหนี้สินแน่นอนเกินกว่าพันบาทหรือไม่ (หลังจากใช้พระราชบัญญัติล้มละลาย(ฉบับที่ 2) พ.ศ.2511 แล้ว จำนวนหนี้สินต้องไม่น้อยกว่าสามหมื่นบาท)เมื่อข้อเท็จจริงฟังได้ว่าจำเลยยังไม่มีหนี้สินล้นพ้นตัว การที่จำเลยจะเป็นหนี้โจทก์จริงหรือไม่ จึงไม่ใช่ประเด็นที่จะต้องชี้ขาดในชั้นนี้ เพราะไม่ทำให้ผลแห่งคำพิพากษาที่ยกฟ้องเปลี่ยนแปลงไป
คำพิพากษาศาลอุทธรณ์ในคดีล้มละลายวินิจฉัยว่า ตามเอกสารที่โจทก์อ้างฟ้อง จำเลยได้ยืมเงินไปจากโจทก์ แต่การยืมตามเอกสารบางฉบับ เป็นเวลากว่า 10 ปีแล้ว จำเลยไม่ได้รับสภาพหนี้ จึงขาดอายุความ ส่วนหนี้ที่ยังไม่ขาดอายุความนั้นไม่จำเป็นต้องชี้ขาดว่าจำเลยเป็นหนี้โจทก์อยู่เท่าใดแน่นอน เพราะจำเลยนำสืบได้ว่าจำเลยมีทรัพย์สินอาจชำระหนี้โจทก์ได้ทั้งหมด ไม่มีเหตุอันควรให้จำเลยล้มละลาย แม้ศาลอุทธรณ์จะพิพากษายกฟ้องโจทก์ แต่คำวินิจฉัยที่ว่า จำเลยยืมเงินไปจากโจทก์และหนี้ตามเอกสารบางฉบับยังไม่ขาดอายุความ อาจมีผลผูกพันจำเลยให้ต้องรับผิดในทางแพ่ง จำเลยจึงมีสิทธิฎีกาคัดค้านได้ (ข้อกฎหมายวรรคท้ายนี้ สรุปจากผลที่ศาลฎีการับวินิจฉัยฎีกาของจำเลย)
คำพิพากษาศาลอุทธรณ์ในคดีล้มละลายวินิจฉัยว่า ตามเอกสารที่โจทก์อ้างฟ้อง จำเลยได้ยืมเงินไปจากโจทก์ แต่การยืมตามเอกสารบางฉบับ เป็นเวลากว่า 10 ปีแล้ว จำเลยไม่ได้รับสภาพหนี้ จึงขาดอายุความ ส่วนหนี้ที่ยังไม่ขาดอายุความนั้นไม่จำเป็นต้องชี้ขาดว่าจำเลยเป็นหนี้โจทก์อยู่เท่าใดแน่นอน เพราะจำเลยนำสืบได้ว่าจำเลยมีทรัพย์สินอาจชำระหนี้โจทก์ได้ทั้งหมด ไม่มีเหตุอันควรให้จำเลยล้มละลาย แม้ศาลอุทธรณ์จะพิพากษายกฟ้องโจทก์ แต่คำวินิจฉัยที่ว่า จำเลยยืมเงินไปจากโจทก์และหนี้ตามเอกสารบางฉบับยังไม่ขาดอายุความ อาจมีผลผูกพันจำเลยให้ต้องรับผิดในทางแพ่ง จำเลยจึงมีสิทธิฎีกาคัดค้านได้ (ข้อกฎหมายวรรคท้ายนี้ สรุปจากผลที่ศาลฎีการับวินิจฉัยฎีกาของจำเลย)
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 1485/2512 เวอร์ชัน 3 คำพิพากษาฎีกานี้ มีเนื้อหาจากเว็บทางการหลายรูปแบบ
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
การล้มละลาย: การพิสูจน์ว่าลูกหนี้มีทรัพย์สินเพียงพอชำระหนี้ได้ ทำให้ไม่ต้องพิจารณาหนี้สิน
ประเด็นสำคัญในคดีล้มละลายมีอยู่ว่า จำเลยซึ่งถูกฟ้องขอให้ล้มละลายเป็นผู้มีหนี้สินล้นพ้นตัวซึ่งมีกำหนดจำนวนหนี้สินแน่นอนเกินกว่าพันบาทหรือไม่ (หลังจากใช้พระราชบัญญัติล้มละลาย (ฉบับที่ 2) พ.ศ. 2501 แล้ว จำนวนหนี้สินต้องไม่น้อยกว่าสามหมื่นบาท) เมื่อข้อเท็จจริงฟังได้ว่าจำเลยยังไม่มีหนี้สินล้นพ้นตัว การที่จำเลยจะเป็นหนี้โจทก์จริงหรือไม่ จึงไม่ใช่ประเด็นที่จะต้องชี้ขาดในชั้นนี้ เพราะไม่ทำให้ผลแห่งคำพิพากษาที่ยกฟ้องเปลี่ยนแปลงไป
คำพิพากษาศาลอุทธรณ์ในคดีล้มละลายวินิจฉัยว่า ตามเอกสารที่โจทก์อ้างฟ้อง จำเลยได้ยืมเงินไปจากโจทก์ แต่การยืมตามเอกสารบางฉบับ เป็นเวลากว่า 10 ปีแล้ว จำเลยไม่ได้รับสภาพหนี้จึงขาดอายุความ ส่วนหนี้ที่ไม่ขาดอายุความนั้น ไม่จำเป็นต้องชี้ขาดว่าจำเลยเป็นหนี้โจทก์อยู่เท่าใดแน่นอน เพราะจำเลยนำสืบได้ว่าจำเลยมีทรัพย์สินอาจชำระหนี้โจทก์ได้ทั้งหมด ไม่มีเหตุอันควรให้จำเลยล้มละลาย แม้ศาลอุทธรณ์จะพิพากษายกฟ้องโจทก์ แต่คำวินิจฉัยที่ว่า จำเลยยืมเงินไปจากโจทก์และหนี้ตามเอกสารบางฉบับยังไม่ขาดอายุความ อาจมีผลผูกพันจำเลยให้ต้องรับผิดในทางแพ่ง จำเลยจึงมีสิทธิฎีกาคัดค้านได้
(ข้อกฎหมายวรรคท้ายนี้ สรุปจำนวนผลที่ศาลฎีการับวินิจฉัยฎีกาของจำเลย)
คำพิพากษาศาลอุทธรณ์ในคดีล้มละลายวินิจฉัยว่า ตามเอกสารที่โจทก์อ้างฟ้อง จำเลยได้ยืมเงินไปจากโจทก์ แต่การยืมตามเอกสารบางฉบับ เป็นเวลากว่า 10 ปีแล้ว จำเลยไม่ได้รับสภาพหนี้จึงขาดอายุความ ส่วนหนี้ที่ไม่ขาดอายุความนั้น ไม่จำเป็นต้องชี้ขาดว่าจำเลยเป็นหนี้โจทก์อยู่เท่าใดแน่นอน เพราะจำเลยนำสืบได้ว่าจำเลยมีทรัพย์สินอาจชำระหนี้โจทก์ได้ทั้งหมด ไม่มีเหตุอันควรให้จำเลยล้มละลาย แม้ศาลอุทธรณ์จะพิพากษายกฟ้องโจทก์ แต่คำวินิจฉัยที่ว่า จำเลยยืมเงินไปจากโจทก์และหนี้ตามเอกสารบางฉบับยังไม่ขาดอายุความ อาจมีผลผูกพันจำเลยให้ต้องรับผิดในทางแพ่ง จำเลยจึงมีสิทธิฎีกาคัดค้านได้
(ข้อกฎหมายวรรคท้ายนี้ สรุปจำนวนผลที่ศาลฎีการับวินิจฉัยฎีกาของจำเลย)
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 1049/2510
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
การบังคับสัญญาเช่าและผลของการครอบครองที่ดินเกิน 3 ปี
โจทก์ฎีกาว่า แม้จะบังคับให้จำเลยต่อสัญญาเช่าที่ดินให้โจทก์ 10 ปีไม่ได้ เพราะต้องห้ามตามประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ มาตรา 538 แต่ศาลน่าจะบังคับให้จำเลยต่อสัญญาเช่าให้โจทก์ 3 ปีได้ เมื่อข้อเท็จจริงในสำนวนปรากฏว่านับแต่สัญญาเช่าเดิมสิ้นอายุโจทก์ได้ครอบครองที่ดินที่เช่ามาจนถึงเวลานี้เกิน 3 ปี แล้วฎีกาของโจทก์จึงไม่มีความจำเป็นที่จะต้องวินิจฉัยต่อไป
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 1723/2506 เวอร์ชัน 2 คำพิพากษาฎีกานี้ มีเนื้อหาจากเว็บทางการหลายรูปแบบ
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
สิทธิการร้องขอให้งดการบังคับคดี: ผู้มีส่วนได้เสียต้องเป็นเจ้าหนี้ตามคำพิพากษา หรือผู้มีสิทธิเรียกร้องโดยตรง
โจทก์นำยึดที่ดินมีโฉนดของจำเลยเพื่อขายทอดตลาดเอาเงินชำระหนี้ตามคำพิพากษาผู้ร้องยื่นคำร้องว่าผู้ร้องได้ฟ้องจำเลยขอให้โอนขายกรรมสิทธิ์ที่ 2 แปลงนั้น ตามสัญญาซื้อขายและรับเงินค่าที่ดินยังเหลืออยู่ไป ขอให้สั่งงดการขายทอดตลาดไว้จนกว่าคดีที่ผู้ร้องได้ฟ้องนั้นจะถึงที่สุด ดังนี้ ผู้ร้องไม่มีสิทธิมาร้องขอเช่นนั้นได้ เพราะมิใช่เป็นผู้มีส่วนได้ส่วนเสียในคดีที่โจทก์นำยึดนี้ตามประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความแพ่ง มาตรา 280
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 594/2502
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
การสิ้นสุดสิทธิฟ้องเนื่องจากข้อเท็จจริงเบื้องต้นพิพากษาแล้ว สิทธิฟ้องเรื่องอำนาจฟ้องจึงไม่จำเป็นต้องวินิจฉัย
โจทก์ฟ้องขับไล่จำเลยโดยอ้างว่าจำเลยประพฤติผิดสัญญาเช่า
ศาลชั้นต้นพิจารณาและฟังข้อเท็จจริงเป็นยุติไปแล้วว่าจำเลยมิได้ประพฤติผิดสัญญาเช่าเพียงเท่านี้โจทก์ก็ต้องแพ้คดีเสียแล้วฎีกาของโจทก์เรื่องอำนาจฟ้องจึงไม่จำเป็นที่จะต้องวินิจฉัยเพราะไม่ทำให้ผลคดีเปลี่ยนแปลงไปได้
ศาลชั้นต้นพิจารณาและฟังข้อเท็จจริงเป็นยุติไปแล้วว่าจำเลยมิได้ประพฤติผิดสัญญาเช่าเพียงเท่านี้โจทก์ก็ต้องแพ้คดีเสียแล้วฎีกาของโจทก์เรื่องอำนาจฟ้องจึงไม่จำเป็นที่จะต้องวินิจฉัยเพราะไม่ทำให้ผลคดีเปลี่ยนแปลงไปได้