พบผลลัพธ์ทั้งหมด 474 รายการ
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 1569/2517
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
ความผิดฐานปลอมและใช้เอกสารปลอม รวมถึงความผิดต่อเจ้าหน้าที่ การพิจารณาความผิดต้องดูที่ผู้เสียหายและข้อเท็จจริง
การกระทำของจำเลยตามที่โจทก์บรรยายมาในฟ้องเป็นความผิดอาญาอันจะลงโทษจำเลยตามบทกฎหมายที่โจทก์อ้างมาท้ายคำฟ้องได้หรือไม่ เป็นข้อกฎหมายที่เกี่ยวกับความสงบเรียบร้อยแม้คู่ความจะมิได้ยกขึ้นว่ากล่าวมาในศาลชั้นต้น ศาลฎีกาก็ยกขึ้นวินิจฉัยเองได้
เมื่อการกระทำของจำเลยตามที่โจทก์บรรยายมาในฟ้อง ไม่เป็นความผิดทางอาญา ศาลก็หาจำต้องไต่สวนมูลฟ้องเพื่อฟังข้อเท็จจริงต่อไปอีกไม่
จำเลยเป็นผู้ทำและลงลายมือชื่อของตนเองลงในหนังสือมอบอำนาจให้ ว. ไวยาวัจกรดำเนินคดีฟ้องแทนวัด ป. ซึ่งจำเลยเป็นเจ้าอาวาสอยู่ ซึ่งการทำเอกสารอยู่ในอำนาจหน้าที่ของจำเลยที่จะทำได้ในฐานเป็นเจ้าอาวาส แม้วัด ป.จะมีฐานะเป็น นิติบุคคลหรือไม่ก็ตาม เอกสารดังกล่าวก็เป็นของจำเลยเองมิได้ปลอมหนังสือมอบอำนาจของผู้หนึ่งผู้ใด การกระทำของจำเลยจึงไม่มีมูลความผิดฐานปลอมเอกสาร และเมื่อนำไปใช้ ย่อมไม่มีมูลความผิดฐานใช้เอกสารปลอม
โจทก์บรรยายฟ้องว่า จำเลยที่ 1 เป็นเจ้าพนักงาน ได้ละเว้นการปฏิบัติหน้าที่โดยมิชอบ และโดยทุจริต กล่าวคือทราบแล้วว่าวัด ป.ไม่ได้รับอนุมัติให้จัดตั้งเป็นวัดโดยชอบด้วยกฎหมายได้ร่วมกับจำเลยที่ 2 ที่ 3 ทำหนังสือถึงนายอำเภอเพื่อขอพระราชทานวิสุงคามสีมาให้แก่วัด ป. โดยจำเลยที่ 2 และที่ 3 ในฐานะผู้กรอกข้อความ เจตนาไม่กรอกข้อความในช่องข้อหนึ่งในแบบรายงานที่ว่า เป็นวัดที่ได้รับอนุมัติให้ตั้งจากกระทรวงศึกษาธิการและกรรมการมหาเถรสมาคมแล้ว อันเป็นสารสำคัญในการขอพระราชทานวิสุงคามสีมา แล้วจำเลยที่ 1 ในฐานผู้มีหน้าที่ตรวจข้อความ ไม่ตรวจข้อความดังกล่าว เป็นเหตุให้วัด ป.ได้รับพระราชทานวิสุงคามสีมา และเป็นส่วนหนึ่งที่ศาลอุทธรณ์เชื่อว่าวัด ป. เป็นนิติบุคคล ทั้งนี้ จำเลยทั้งสามมีเจตนาทุจริตเพื่อให้วัด ป. ได้ที่ดินของวัดโจทก์การกระทำของจำเลย ทำให้วัดโจทก์เสียหาย ขอให้ลงโทษตามประมวลกฎหมายอาญา มาตรา 157 นั้น หากจะถือว่าเป็นความผิด ผู้ได้รับความเสียหายก็คือเจ้าหน้าที่ผู้มีอำนาจในการพิจารณาเรื่องราวที่ยื่นนั้น หาใช่โจทก์ไม่โจทก์ไม่ใช่ผู้เสียหายที่จะมีอำนาจฟ้อง
เมื่อการกระทำของจำเลยตามที่โจทก์บรรยายมาในฟ้อง ไม่เป็นความผิดทางอาญา ศาลก็หาจำต้องไต่สวนมูลฟ้องเพื่อฟังข้อเท็จจริงต่อไปอีกไม่
จำเลยเป็นผู้ทำและลงลายมือชื่อของตนเองลงในหนังสือมอบอำนาจให้ ว. ไวยาวัจกรดำเนินคดีฟ้องแทนวัด ป. ซึ่งจำเลยเป็นเจ้าอาวาสอยู่ ซึ่งการทำเอกสารอยู่ในอำนาจหน้าที่ของจำเลยที่จะทำได้ในฐานเป็นเจ้าอาวาส แม้วัด ป.จะมีฐานะเป็น นิติบุคคลหรือไม่ก็ตาม เอกสารดังกล่าวก็เป็นของจำเลยเองมิได้ปลอมหนังสือมอบอำนาจของผู้หนึ่งผู้ใด การกระทำของจำเลยจึงไม่มีมูลความผิดฐานปลอมเอกสาร และเมื่อนำไปใช้ ย่อมไม่มีมูลความผิดฐานใช้เอกสารปลอม
โจทก์บรรยายฟ้องว่า จำเลยที่ 1 เป็นเจ้าพนักงาน ได้ละเว้นการปฏิบัติหน้าที่โดยมิชอบ และโดยทุจริต กล่าวคือทราบแล้วว่าวัด ป.ไม่ได้รับอนุมัติให้จัดตั้งเป็นวัดโดยชอบด้วยกฎหมายได้ร่วมกับจำเลยที่ 2 ที่ 3 ทำหนังสือถึงนายอำเภอเพื่อขอพระราชทานวิสุงคามสีมาให้แก่วัด ป. โดยจำเลยที่ 2 และที่ 3 ในฐานะผู้กรอกข้อความ เจตนาไม่กรอกข้อความในช่องข้อหนึ่งในแบบรายงานที่ว่า เป็นวัดที่ได้รับอนุมัติให้ตั้งจากกระทรวงศึกษาธิการและกรรมการมหาเถรสมาคมแล้ว อันเป็นสารสำคัญในการขอพระราชทานวิสุงคามสีมา แล้วจำเลยที่ 1 ในฐานผู้มีหน้าที่ตรวจข้อความ ไม่ตรวจข้อความดังกล่าว เป็นเหตุให้วัด ป.ได้รับพระราชทานวิสุงคามสีมา และเป็นส่วนหนึ่งที่ศาลอุทธรณ์เชื่อว่าวัด ป. เป็นนิติบุคคล ทั้งนี้ จำเลยทั้งสามมีเจตนาทุจริตเพื่อให้วัด ป. ได้ที่ดินของวัดโจทก์การกระทำของจำเลย ทำให้วัดโจทก์เสียหาย ขอให้ลงโทษตามประมวลกฎหมายอาญา มาตรา 157 นั้น หากจะถือว่าเป็นความผิด ผู้ได้รับความเสียหายก็คือเจ้าหน้าที่ผู้มีอำนาจในการพิจารณาเรื่องราวที่ยื่นนั้น หาใช่โจทก์ไม่โจทก์ไม่ใช่ผู้เสียหายที่จะมีอำนาจฟ้อง
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 1569/2517 เวอร์ชัน 2 คำพิพากษาฎีกานี้ มีเนื้อหาจากเว็บทางการหลายรูปแบบ
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
การกระทำไม่เป็นความผิดอาญา แม้มีข้อพิรุธในเอกสารและละเว้นการปฏิบัติหน้าที่ ศาลฎีกายืนยกฟ้อง
การกระทำของจำเลยตามที่โจทก์บรรยายมาในฟ้องเป็นความผิดอาญาอันจะลงโทษจำเลยตามบทกฎหมายที่โจทก์อ้างมาท้ายคำฟ้องได้หรือไม่ เป็นข้อกฎหมายที่เกี่ยวกับความสงบเรียบร้อยแม้คู่ความจะมิได้ยกขึ้นว่ากล่าวมาในศาลชั้นต้น ศาลฎีกาก็ยกขึ้นวินิจฉัยเองได้
เมื่อการกระทำของจำเลยตามที่โจทก์บรรยายมาในฟ้องไม่เป็นความผิดทางอาญา ศาลก็หาจำต้องไต่สวนมูลฟ้องเพื่อฟังข้อเท็จจริงต่อไปอีกไม่
จำเลยเป็นผู้ทำและลงลายมือชื่อของตนเองลงในหนังสือมอบอำนาจให้ ว. ไวยาวัจกรดำเนินคดีฟ้องแทนวัด ป. ซึ่งจำเลยเป็นเจ้าอาวาสอยู่ซึ่งการทำเอกสารอยู่ในอำนาจหน้าที่ของจำเลยที่จะทำได้ในฐานเป็นเจ้าอาวาส แม้วัด ป. จะมีฐานะเป็น นิติบุคคลหรือไม่ก็ตาม เอกสารดังกล่าวก็เป็นของจำเลยเองมิได้ปลอมหนังสือมอบอำนาจของผู้หนึ่งผู้ใด การกระทำของจำเลยจึงไม่มีมูลความผิดฐานปลอมเอกสาร และเมื่อนำไปใช้ ย่อมไม่มีมูลความผิดฐานใช้เอกสารปลอม
โจทก์บรรยายฟ้องว่า จำเลยที่ 1 เป็นเจ้าพนักงาน ได้ละเว้นการปฏิบัติหน้าที่โดยมิชอบ และโดยทุจริต กล่าวคือ ทราบแล้วว่าวัดป.ไม่ได้รับอนุมัติให้จัดตั้งเป็นวัดโดยชอบด้วยกฎหมายได้ร่วมกับจำเลยที่ 2 ที่ 3 ทำหนังสือถึงนายอำเภอเพื่อขอพระราชทานวิสุงคามสีมาให้แก่วัด ป. โดยจำเลยที่ 2 และที่ 3 ในฐานะผู้กรอกข้อความ เจตนาไม่กรอกข้อความในช่องข้อหนึ่งในแบบรายงานที่ว่า เป็นวัดที่ได้รับอนุมัติให้ตั้งจากกระทรวงศึกษาธิการและกรรมการมหาเถรสมาคมแล้ว อันเป็นสารสำคัญในการขอพระราชทานวิสุงคามสีมา แล้วจำเลยที่ 1 ในฐานผู้มีหน้าที่ตรวจข้อความ ไม่ตรวจข้อความดังกล่าวเป็นเหตุให้วัด ป.ได้รับพระราชทานวิสุงคามสีมา และเป็นส่วนหนึ่งที่ศาลอุทธรณ์เชื่อว่าวัด ป. เป็นนิติบุคคล ทั้งนี้ จำเลยทั้งสามมีเจตนาทุจริตเพื่อให้วัด ป. ได้ที่ดินของวัดโจทก์การกระทำของจำเลยทำให้วัดโจทก์เสียหาย ขอให้ลงโทษตามประมวลกฎหมายอาญา มาตรา 157 นั้น หากจะถือว่าเป็นความผิด ผู้ได้รับความเสียหายก็คือเจ้าหน้าที่ผู้มีอำนาจในการพิจารณาเรื่องราวที่ยื่นนั้น หาใช่โจทก์ไม่โจทก์ไม่ใช่ผู้เสียหายที่จะมีอำนาจฟ้อง
เมื่อการกระทำของจำเลยตามที่โจทก์บรรยายมาในฟ้องไม่เป็นความผิดทางอาญา ศาลก็หาจำต้องไต่สวนมูลฟ้องเพื่อฟังข้อเท็จจริงต่อไปอีกไม่
จำเลยเป็นผู้ทำและลงลายมือชื่อของตนเองลงในหนังสือมอบอำนาจให้ ว. ไวยาวัจกรดำเนินคดีฟ้องแทนวัด ป. ซึ่งจำเลยเป็นเจ้าอาวาสอยู่ซึ่งการทำเอกสารอยู่ในอำนาจหน้าที่ของจำเลยที่จะทำได้ในฐานเป็นเจ้าอาวาส แม้วัด ป. จะมีฐานะเป็น นิติบุคคลหรือไม่ก็ตาม เอกสารดังกล่าวก็เป็นของจำเลยเองมิได้ปลอมหนังสือมอบอำนาจของผู้หนึ่งผู้ใด การกระทำของจำเลยจึงไม่มีมูลความผิดฐานปลอมเอกสาร และเมื่อนำไปใช้ ย่อมไม่มีมูลความผิดฐานใช้เอกสารปลอม
โจทก์บรรยายฟ้องว่า จำเลยที่ 1 เป็นเจ้าพนักงาน ได้ละเว้นการปฏิบัติหน้าที่โดยมิชอบ และโดยทุจริต กล่าวคือ ทราบแล้วว่าวัดป.ไม่ได้รับอนุมัติให้จัดตั้งเป็นวัดโดยชอบด้วยกฎหมายได้ร่วมกับจำเลยที่ 2 ที่ 3 ทำหนังสือถึงนายอำเภอเพื่อขอพระราชทานวิสุงคามสีมาให้แก่วัด ป. โดยจำเลยที่ 2 และที่ 3 ในฐานะผู้กรอกข้อความ เจตนาไม่กรอกข้อความในช่องข้อหนึ่งในแบบรายงานที่ว่า เป็นวัดที่ได้รับอนุมัติให้ตั้งจากกระทรวงศึกษาธิการและกรรมการมหาเถรสมาคมแล้ว อันเป็นสารสำคัญในการขอพระราชทานวิสุงคามสีมา แล้วจำเลยที่ 1 ในฐานผู้มีหน้าที่ตรวจข้อความ ไม่ตรวจข้อความดังกล่าวเป็นเหตุให้วัด ป.ได้รับพระราชทานวิสุงคามสีมา และเป็นส่วนหนึ่งที่ศาลอุทธรณ์เชื่อว่าวัด ป. เป็นนิติบุคคล ทั้งนี้ จำเลยทั้งสามมีเจตนาทุจริตเพื่อให้วัด ป. ได้ที่ดินของวัดโจทก์การกระทำของจำเลยทำให้วัดโจทก์เสียหาย ขอให้ลงโทษตามประมวลกฎหมายอาญา มาตรา 157 นั้น หากจะถือว่าเป็นความผิด ผู้ได้รับความเสียหายก็คือเจ้าหน้าที่ผู้มีอำนาจในการพิจารณาเรื่องราวที่ยื่นนั้น หาใช่โจทก์ไม่โจทก์ไม่ใช่ผู้เสียหายที่จะมีอำนาจฟ้อง
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 1485/2517
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
การขัดทรัพย์และการฎีกาในปัญหาข้อเท็จจริงที่ศาลอุทธรณ์ยืนตามศาลชั้นต้น
คดีชั้นร้องขัดทรัพย์ ปรากฏว่าเรือนพิพาทซึ่งผู้ร้องได้ร้องขัดทรัพย์เข้ามาราคา 3,000 บาท เมื่อศาลอุทธรณ์พิพากษายืนตามศาลชั้นต้น โดยฟังว่าเรือนพิพาทเป็นของจำเลย คู่ความจะฎีกาในปัญหาข้อเท็จจริงไม่ได้ ต้องห้ามตามประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความแพ่ง มาตรา 248
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 1485/2517 เวอร์ชัน 2 คำพิพากษาฎีกานี้ มีเนื้อหาจากเว็บทางการหลายรูปแบบ
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
การขัดทรัพย์และการฎีกาในปัญหาข้อเท็จจริงที่ต้องห้ามตามกฎหมาย
คดีชั้นร้องขัดทรัพย์ ปรากฏว่าเรือนพิพาทซึ่งผู้ร้องได้ร้องขัดทรัพย์เข้ามาราคา 3,000 บาท เมื่อศาลอุทธรณ์พิพากษายืนตามศาลชั้นต้นโดยฟังว่าเรือนพิพาทเป็นของจำเลย คู่ความจะฎีกาในปัญหาข้อเท็จจริงไม่ได้ ต้องห้ามตามประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความแพ่ง มาตรา 248
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 1413/2517 เวอร์ชัน 2 คำพิพากษาฎีกานี้ มีเนื้อหาจากเว็บทางการหลายรูปแบบ
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
ฎีกาต้องห้ามเรื่องรอการลงโทษ: การอุทธรณ์แก้โทษจำคุกโดยไม่รอการลงโทษ ทำให้ฎีกาขอรอการลงโทษเป็นฎีกาข้อเท็จจริงต้องห้าม
ศาลชั้นต้นพิพากษาให้ลงโทษจำคุกจำเลยแต่ละกระทงความผิดจำคุกไม่เกิน 1 ปี และปรับไม่เกิน 1,000 บาท โดยให้รอการลงโทษจำคุกไว้ เมื่อศาลอุทธรณ์พิพากษาแก้เป็นว่าไม่รอการลงโทษจำคุกให้แม้จะเป็นการแก้ไขมาก จำเลยก็จะฎีกาขอให้รอการลงโทษจำคุกซึ่งเป็นฎีกาในปัญหาข้อเท็จจริงไม่ได้ ต้องห้ามตามประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความอาญา มาตรา 220
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 1413/2517
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
ฎีกาแก้คำพิพากษาศาลอุทธรณ์เรื่องการรอการลงโทษ จำเลยฎีกาไม่ได้ตามประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความอาญา มาตรา 220
ศาลชั้นต้นพิพากษาให้ลงโทษจำคุกจำเลยแต่ละกระทงความผิดจำคุกไม่เกิน 1 ปี และปรับไม่เกิน 1,000 บาท โดยให้รอการลงโทษจำคุกไว้ เมื่อศาลอุทธรณ์พิพากษาแก้เป็นว่าไม่รอการลงโทษจำคุกให้แม้จะเป็นการแก้ไขมาก จำเลยก็จะฎีกาขอให้รอการลงโทษจำคุกซึ่งเป็นฎีกาในปัญหาข้อเท็จจริงไม่ได้ ต้องห้ามตามประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความอาญา มาตรา 220
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 1357/2517
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
อำนาจฟ้องคดีอาญาโรงเรียนราษฎร์: ต้องรอคำสั่งถึงที่สุดหลังอุทธรณ์
แม้ผู้ว่าราชการจังหวัดโดยอนุมัติจากรัฐมนตรีว่าการกระทรวงศึกษาธิการได้มีคำสั่งตามพระราชบัญญัติโรงเรียนราษฎร์ พ.ศ. 2497 มาตรา 45ให้ถอนใบอนุญาตของจำเลยในฐานะเป็นเจ้าของโรงเรียนราษฎร์เพราะกระทำผิดต่อพระราชบัญญัตินั้นหลายประการ แต่จำเลยก็ได้อุทธรณ์คำสั่งนั้นต่อรัฐมนตรีว่าการกระทรวงศึกษาธิการภายในกำหนดหนึ่งเดือนนับแต่ได้รับแจ้งคำสั่งนั้นตามมาตรา 59 แล้ว ในขณะที่ยังไม่มีคำสั่งที่ถึงที่สุดของรัฐมนตรีว่าการกระทรวงศึกษาธิการนั้น โจทก์จึงยังไม่มีอำนาจฟ้องจำเลยว่ากระทำความผิดฐานฝ่าฝืนดำรงกิจการดำเนินการเปิดสอนและไม่ปฏิบัติหน้าที่รวบรวมหลักฐานส่งต่อผู้ว่าราชการจังหวัดตามพระราชบัญญัติโรงเรียนราษฎร์ พ.ศ. 2497 มาตรา 43, 48, 52
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 1357/2517 เวอร์ชัน 2 คำพิพากษาฎีกานี้ มีเนื้อหาจากเว็บทางการหลายรูปแบบ
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
อำนาจฟ้องคดีอาญาโรงเรียนราษฎร์: ต้องรอคำสั่งรัฐมนตรีถึงที่สุดหลังอุทธรณ์
แม้ผู้ว่าราชการจังหวัดโดยอนุมัติจากรัฐมนตรีว่าการกระทรวงศึกษาธิการได้มีคำสั่งตามพระราชบัญญัติโรงเรียนราษฎร์ พ.ศ. 2497 มาตรา 45ให้ถอนใบอนุญาตของจำเลยในฐานะเป็นเจ้าของโรงเรียนราษฎร์ เพราะกระทำผิดต่อพระราชบัญญัตินั้นหลายประการ แต่จำเลยก็ได้อุทธรณ์คำสั่งนั้นต่อรัฐมนตรีว่าการกระทรวงศึกษาธิการภายในกำหนดหนึ่งเดือนนับแต่ได้รับแจ้งคำสั่งนั้นตามมาตรา 59 แล้ว ในขณะที่ยังไม่มีคำสั่งที่ถึงที่สุดของรัฐมนตรีว่าการกระทรวงศึกษาธิการนั้น โจทก์จึงยังไม่มีอำนาจฟ้องจำเลยว่ากระทำความผิดฐานฝ่าฝืนดำรงกิจการดำเนินการเปิดสอนและไม่ปฏิบัติหน้าที่รวบรวมหลักฐานส่งต่อผู้ว่าราชการจังหวัดตามพระราชบัญญัติโรงเรียนราษฎร์ พ.ศ. 2497 มาตรา 43, 48, 52
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 1277/2517 เวอร์ชัน 2 คำพิพากษาฎีกานี้ มีเนื้อหาจากเว็บทางการหลายรูปแบบ
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
สิทธิร้องสอดของบุคคลภายนอกเมื่อสิทธิถูกโต้แย้งจากการโอนสิทธิการเช่า
ตามประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความแพ่ง มาตรา 57 (1)บุคคลภายนอกซึ่งมิใช่คู่ความเดิม เพียงแต่สิทธิถูกโต้แย้งก็มีสิทธิร้องสอดเข้ามาเป็นคู่ความฝ่ายที่สามได้
ผู้ร้องร้องเข้ามามีใจความสำคัญว่า โจทก์ไม่มีสิทธิที่จะรับโอนสิทธิการเช่าจากจำเลยได้ เพราะจำเลยได้ทำนิติกรรมโอนขายให้แก่ผู้ร้อง ผู้ร้องได้รับโอนพร้อมทั้งชำระเงินให้แก่จำเลยเรียบร้อยแล้ว การฟ้องคดีของโจทก์เป็นการโต้แย้งคัดค้านข้อกล่าวหาของผู้ร้องเกี่ยวกับการรับโอนสิทธิการเช่าตึกรายเดียวกันว่า เมื่อจำเลยได้ตกลงยอมโอนสิทธิการเช่าตึกพิพาทให้แก่ผู้ร้องไปแล้วนั้นโจทก์ยังจะคงมีสิทธิฟ้องบังคับให้จำเลยโอนสิทธิการเช่าให้โจทก์ได้หรือไม่ ดังนี้ ผู้ร้องย่อมมีสิทธิยื่นคำร้องต่อศาลขอเข้ามาเป็นคู่ความได้ด้วยการร้องสอดเพื่อยังให้ได้รับความรับรองคุ้มครองหรือบังคับตามสิทธิของตนที่มีอยู่ตามประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความแพ่ง มาตรา 57 (1)
ผู้ร้องร้องเข้ามามีใจความสำคัญว่า โจทก์ไม่มีสิทธิที่จะรับโอนสิทธิการเช่าจากจำเลยได้ เพราะจำเลยได้ทำนิติกรรมโอนขายให้แก่ผู้ร้อง ผู้ร้องได้รับโอนพร้อมทั้งชำระเงินให้แก่จำเลยเรียบร้อยแล้ว การฟ้องคดีของโจทก์เป็นการโต้แย้งคัดค้านข้อกล่าวหาของผู้ร้องเกี่ยวกับการรับโอนสิทธิการเช่าตึกรายเดียวกันว่า เมื่อจำเลยได้ตกลงยอมโอนสิทธิการเช่าตึกพิพาทให้แก่ผู้ร้องไปแล้วนั้นโจทก์ยังจะคงมีสิทธิฟ้องบังคับให้จำเลยโอนสิทธิการเช่าให้โจทก์ได้หรือไม่ ดังนี้ ผู้ร้องย่อมมีสิทธิยื่นคำร้องต่อศาลขอเข้ามาเป็นคู่ความได้ด้วยการร้องสอดเพื่อยังให้ได้รับความรับรองคุ้มครองหรือบังคับตามสิทธิของตนที่มีอยู่ตามประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความแพ่ง มาตรา 57 (1)
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 1277/2517
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
สิทธิร้องสอดของบุคคลภายนอกเมื่อสิทธิถูกโต้แย้งจากการโอนสิทธิเช่า
ตามประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความแพ่ง มาตรา 57(1)บุคคลภายนอกซึ่งมิใช่คู่ความเดิม เพียงแต่สิทธิถูกโต้แย้ง ก็มีสิทธิร้องสอดเข้ามาเป็นคู่ความฝ่ายที่สามได้
ผู้ร้องร้องเข้ามามีใจความสำคัญว่า โจทก์ไม่มีสิทธิที่จะรับโอนสิทธิการเช่าจากจำเลยได้ เพราะจำเลยได้ทำนิติกรรมโอนขายให้แก่ผู้ร้อง ผู้ร้องได้รับโอนพร้อมทั้งชำระเงินให้แก่จำเลยเรียบร้อยแล้ว การฟ้องคดีของโจทก์เป็นการโต้แย้งคัดค้านข้อกล่าวหาของผู้ร้องเกี่ยวกับการรับโอนสิทธิการเช่าตึกรายเดียวกันว่า เมื่อจำเลยได้ตกลงยอมโอนสิทธิการเช่าตึกพิพาทให้แก่ผู้ร้องไปแล้วนั้น โจทก์ยังจะคงมีสิทธิฟ้องบังคับให้จำเลยโอนสิทธิการเช่าให้โจทก์ได้หรือไม่ ดังนี้ ผู้ร้องย่อมมีสิทธิยื่นคำร้องต่อศาลขอเข้ามาเป็นคู่ความได้ด้วยการร้องสอดเพื่อยังให้ได้รับความรับรองคุ้มครองหรือบังคับตามสิทธิของตนที่มีอยู่ตามประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความแพ่ง มาตรา 57(1)
ผู้ร้องร้องเข้ามามีใจความสำคัญว่า โจทก์ไม่มีสิทธิที่จะรับโอนสิทธิการเช่าจากจำเลยได้ เพราะจำเลยได้ทำนิติกรรมโอนขายให้แก่ผู้ร้อง ผู้ร้องได้รับโอนพร้อมทั้งชำระเงินให้แก่จำเลยเรียบร้อยแล้ว การฟ้องคดีของโจทก์เป็นการโต้แย้งคัดค้านข้อกล่าวหาของผู้ร้องเกี่ยวกับการรับโอนสิทธิการเช่าตึกรายเดียวกันว่า เมื่อจำเลยได้ตกลงยอมโอนสิทธิการเช่าตึกพิพาทให้แก่ผู้ร้องไปแล้วนั้น โจทก์ยังจะคงมีสิทธิฟ้องบังคับให้จำเลยโอนสิทธิการเช่าให้โจทก์ได้หรือไม่ ดังนี้ ผู้ร้องย่อมมีสิทธิยื่นคำร้องต่อศาลขอเข้ามาเป็นคู่ความได้ด้วยการร้องสอดเพื่อยังให้ได้รับความรับรองคุ้มครองหรือบังคับตามสิทธิของตนที่มีอยู่ตามประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความแพ่ง มาตรา 57(1)