พบผลลัพธ์ทั้งหมด 474 รายการ
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 544/2516
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
การขุดดินใกล้แนวเขตที่ดินต้องเว้นระยะตามกฎหมาย เพื่อป้องกันที่ดินพังทลาย รักษาแนวเขตที่ดินให้มั่นคง
กฎหมายมีเจตนารมณ์ที่จะป้องกันมิให้ที่ดินซึ่งอยู่ชิดแนวเขตที่ดินนั้นพังลงตามธรรมชาติ เนื่องจากมีการขุดดินใกล้แนวเขตที่ดินจนเกินไป จึงได้วางเกณฑ์กำหนดไว้ว่าการขุดคูหรือร่องน้ำจะทำใกล้แนวเขตที่ดินกว่าครึ่งหนึ่งแห่งส่วนลึกของคูหรือร่องนั้นไม่ได้ ในการวัดระยะซึ่งกฎหมายกำหนดไว้เพื่อป้องกันที่ดินพังทลาย จึงต้องวัดจากริมคันนาร่วมออกไปถึงแนวลำรางที่จำเลยขุด การที่จำเลยขุดลำรางชิดกับคันนาร่วม ย่อมเป็นการละเมิดสิทธิของโจทก์ที่มีอยู่ในคันนาร่วม ในฐานะที่คันนาร่วมเป็นแนวเขตที่ดินตามประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ มาตรา 1342 แล้ว
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 357/2516
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
การรับมรดกความแทนคู่ความที่มรณะหลังศาลอุทธรณ์พิพากษา และอำนาจศาลชั้นต้นในการวินิจฉัยสั่ง
การร้องขอเข้าเป็นคู่ความแทนที่ผู้มรณะหลังจากศาลอุทธรณ์พิพากษาคดีแล้วนั้น เมื่อศาลชั้นต้นยังไม่สั่งรับฎีกาของคู่ความฝ่ายที่มรณะ คดีย่อมยังอยู่ในอำนาจของศาลชั้นต้นที่จะวินิจฉัยสั่งได้
การที่ศาลจะมีคำสั่งจำหน่ายคดีจากสารบบความตามมาตรา 42แห่งประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความแพ่งนั้น จะต้องเป็นกรณีที่คู่ความฝ่ายใดฝ่ายหนึ่งมรณะในระหว่างที่คดีค้างพิจารณาอยู่ในศาลนั้นเอง เมื่อคู่ความมรณะระหว่างที่คดีค้างพิจารณาอยู่ในศาลอุทธรณ์ เป็นเวลาเกินกว่าหนึ่งปีแล้ว แต่ศาลอุทธรณ์มิได้สั่งจำหน่ายคดี จนกระบวนพิจารณาได้ผ่านจากชั้นศาลอุทธรณ์มาเป็นกระบวนพิจารณาชั้นศาลฎีกา โดยศาลชั้นต้นได้สั่งให้ทายาทของผู้มรณะเข้ามาเป็นคู่ความแทนที่ และได้สั่งรับฎีกาแล้ว ย่อมมิใช่เป็นกรณีที่คู่ความฝ่ายใดฝ่ายหนึ่งมรณะในระหว่างที่คดีค้างพิจารณาอยู่ในศาลฎีกา ศาลฎีกาจะสั่งจำหน่ายคดีมิได้
(วรรคท้าย วินิจฉัยโดยที่ประชุมใหญ่ ครั้งที่ 40/2515)
การที่ศาลจะมีคำสั่งจำหน่ายคดีจากสารบบความตามมาตรา 42แห่งประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความแพ่งนั้น จะต้องเป็นกรณีที่คู่ความฝ่ายใดฝ่ายหนึ่งมรณะในระหว่างที่คดีค้างพิจารณาอยู่ในศาลนั้นเอง เมื่อคู่ความมรณะระหว่างที่คดีค้างพิจารณาอยู่ในศาลอุทธรณ์ เป็นเวลาเกินกว่าหนึ่งปีแล้ว แต่ศาลอุทธรณ์มิได้สั่งจำหน่ายคดี จนกระบวนพิจารณาได้ผ่านจากชั้นศาลอุทธรณ์มาเป็นกระบวนพิจารณาชั้นศาลฎีกา โดยศาลชั้นต้นได้สั่งให้ทายาทของผู้มรณะเข้ามาเป็นคู่ความแทนที่ และได้สั่งรับฎีกาแล้ว ย่อมมิใช่เป็นกรณีที่คู่ความฝ่ายใดฝ่ายหนึ่งมรณะในระหว่างที่คดีค้างพิจารณาอยู่ในศาลฎีกา ศาลฎีกาจะสั่งจำหน่ายคดีมิได้
(วรรคท้าย วินิจฉัยโดยที่ประชุมใหญ่ ครั้งที่ 40/2515)
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 357/2516 เวอร์ชัน 2 คำพิพากษาฎีกานี้ มีเนื้อหาจากเว็บทางการหลายรูปแบบ
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
การรับมรดกและการจำหน่ายคดีหลังคู่ความมรณะ: อำนาจศาลและเงื่อนไขการจำหน่ายคดีตามมาตรา 42
การร้องขอเข้าเป็นคู่ความแทนที่ผู้มรณะหลังจากศาลอุทธรณ์พิพากษาคดีแล้วนั้น เมื่อศาลชั้นต้นยังไม่สั่งรับฎีกาของคู่ความฝ่ายที่มรณะ คดีย่อมยังอยู่ในอำนาจของศาลชั้นต้นที่จะวินิจฉัยสั่งได้
การที่ศาลจะมีคำสั่งจำหน่ายคดีจากสารบบความตามมาตรา 42แห่งประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความแพ่งนั้น จะต้องเป็นกรณีที่คู่ความฝ่ายใดฝ่ายหนึ่งมรณะในระหว่างที่คดีค้างพิจารณาอยู่ในศาลนั้นเองเมื่อคู่ความมรณะระหว่างที่คดีค้างพิจารณาอยู่ในศาลอุทธรณ์ เป็นเวลาเกินกว่าหนึ่งปีแล้ว แต่ศาลอุทธรณ์มิได้สั่งจำหน่ายคดี จนกระบวนพิจารณาได้ผ่านจากชั้นศาลอุทธรณ์มาเป็นกระบวนพิจารณาชั้นศาลฎีกาโดยศาลชั้นต้นได้สั่งให้ทายาทของผู้มรณะเข้ามาเป็นคู่ความแทนที่และได้สั่งรับฎีกาแล้ว ย่อมมิใช่เป็นกรณีที่คู่ความฝ่ายใดฝ่ายหนึ่งมรณะในระหว่างที่คดีค้างพิจารณาอยู่ในศาลฎีกา ศาลฎีกาจะสั่งจำหน่ายคดีมิได้
(วรรคท้าย วินิจฉัยโดยที่ประชุมใหญ่ ครั้งที่ 40/2515)
การที่ศาลจะมีคำสั่งจำหน่ายคดีจากสารบบความตามมาตรา 42แห่งประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความแพ่งนั้น จะต้องเป็นกรณีที่คู่ความฝ่ายใดฝ่ายหนึ่งมรณะในระหว่างที่คดีค้างพิจารณาอยู่ในศาลนั้นเองเมื่อคู่ความมรณะระหว่างที่คดีค้างพิจารณาอยู่ในศาลอุทธรณ์ เป็นเวลาเกินกว่าหนึ่งปีแล้ว แต่ศาลอุทธรณ์มิได้สั่งจำหน่ายคดี จนกระบวนพิจารณาได้ผ่านจากชั้นศาลอุทธรณ์มาเป็นกระบวนพิจารณาชั้นศาลฎีกาโดยศาลชั้นต้นได้สั่งให้ทายาทของผู้มรณะเข้ามาเป็นคู่ความแทนที่และได้สั่งรับฎีกาแล้ว ย่อมมิใช่เป็นกรณีที่คู่ความฝ่ายใดฝ่ายหนึ่งมรณะในระหว่างที่คดีค้างพิจารณาอยู่ในศาลฎีกา ศาลฎีกาจะสั่งจำหน่ายคดีมิได้
(วรรคท้าย วินิจฉัยโดยที่ประชุมใหญ่ ครั้งที่ 40/2515)
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 282/2516
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
การจดทะเบียนเครื่องหมายการค้าที่คล้ายคลึงกันจนทำให้เกิดความสับสนแก่ผู้บริโภค ถือเป็นการละเมิดสิทธิและลวงสาธารณชน
เครื่องหมายการค้าคำว่า 'COLGATE''GARDOL' และ'GARDENT'ของโจทก์ กับเครื่องหมายการค้าคำว่า 'COLDENT' ของจำเลยต่างขอจดทะเบียนในประเภทเครื่องหมายคำ โดยใช้ตัวอักษรโรมันธรรมดา การใช้อักษรตลอดจนการออกสำเนียงในการอ่านคล้ายคลึงกัน คำในพยางค์หน้าของเครื่องหมายการค้าของจำเลยมีคำว่า'COL' เช่นเดียวกับเครื่องหมายการค้าคำว่า 'COLGATE' ของโจทก์ และคำในพยางค์ท้ายมีคำว่า 'DENT' เช่นเดียวกับคำในพยางค์ท้ายของเครื่องหมายการค้าคำว่า 'GARDENT' ของโจทก์ เครื่องหมายการค้าของจำเลยส่อให้เห็นถึงการจงใจเลียนแบบเครื่องหมายการค้าของโจทก์ แม้จะเป็นการจดทะเบียนในประเภทเครื่องหมายคำสำหรับสินค้าจำพวก 48 ทั้งจำพวก ก็อาจทำให้ผู้ซื้อสินค้าเกิดความสับสนหรือหลงผิดว่าเครื่องหมายการค้าของจำเลยคือเครื่องหมายการค้าของโจทก์ โดยเฉพาะอย่างยิ่งในหมู่ผู้ซื้อที่ไม่ทันสังเกต หรือเป็นผู้ที่ไม่รู้ภาษาอังกฤษหรือรู้เพียงเล็กน้อย จึงนับได้ว่าเป็นการลวงสาธารณชนตามนัยแห่งมาตรา 16พระราชบัญญัติเครื่องหมายการค้า พ.ศ.2474 แก้ไขเพิ่มเติม (ฉบับที่ 3) พ.ศ.2504 มาตรา 4
จำเลยผลิตและจำหน่ายยาสีฟันซึ่งบรรจุอยู่ในกล่องสลากพื้นสีแดง ประกอบอักษรโรมันขนาดใหญ่สีขาวคำว่า 'COLDENT'และอักษรโรมันขนาดย่อมคำว่า 'ANTI-ENZYMETOOTHPASTEซึ่งมีรูปลักษณะของกล่อง การวางตัวอักษร ลักษณะของตัวอักษร สีของกล่อง และสีตัวอักษร คล้ายกับสลากกล่องเครื่องหมายการค้าของโจทก์ ตามหนังสือคู่มือรับจดทะเบียน การกระทำของจำเลยดังกล่าวเป็นการใช้สิทธิซึ่งมีแต่จะเกิดความเสียหายแก่โจทก์ตามประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ มาตรา 420 และ 421
โจทก์บรรยายฟ้องเกี่ยวกับค่าเสียหายไว้ว่า โจทก์ได้รับความเสียหายคือทำให้ชื่อเสียงเกียรติคุณของโจทก์เสื่อมความนิยม โจทก์ต้องขาดประโยชน์จากการจำหน่ายสินค้าลงไปบ้างเป็นเงิน 20,000 บาท เป็นฟ้องที่แสดงโดยแจ้งชัดซึ่งสภาพแห่งข้อหาของโจทก์และคำขอบังคับ ทั้งข้ออ้างที่อาศัยเป็นหลักแห่งข้อหาเช่นว่านั้นแล้ว หาเคลือบคลุมไม่
จำเลยผลิตยาสีฟัน 'COLDENT' ออกจำหน่ายตลอดมาจนปัจจุบันแม้จำเลยจะเริ่มผลิตมาตั้ง 10 ปีแล้ว การละเมิดสิทธิของโจทก์ที่จำเลยกระทำก็คงมีอยู่ตลอดเรื่อยไปทั้งโจทก์ยังได้นำคดีมาฟ้องจำเลยภายใน 90 วัน นับแต่วันได้รับทราบคำวินิจฉัยของนายทะเบียนเครื่องหมายการค้า คดีของโจทก์จึงหาขาดอายุความไม่
จำเลยผลิตและจำหน่ายยาสีฟันซึ่งบรรจุอยู่ในกล่องสลากพื้นสีแดง ประกอบอักษรโรมันขนาดใหญ่สีขาวคำว่า 'COLDENT'และอักษรโรมันขนาดย่อมคำว่า 'ANTI-ENZYMETOOTHPASTEซึ่งมีรูปลักษณะของกล่อง การวางตัวอักษร ลักษณะของตัวอักษร สีของกล่อง และสีตัวอักษร คล้ายกับสลากกล่องเครื่องหมายการค้าของโจทก์ ตามหนังสือคู่มือรับจดทะเบียน การกระทำของจำเลยดังกล่าวเป็นการใช้สิทธิซึ่งมีแต่จะเกิดความเสียหายแก่โจทก์ตามประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ มาตรา 420 และ 421
โจทก์บรรยายฟ้องเกี่ยวกับค่าเสียหายไว้ว่า โจทก์ได้รับความเสียหายคือทำให้ชื่อเสียงเกียรติคุณของโจทก์เสื่อมความนิยม โจทก์ต้องขาดประโยชน์จากการจำหน่ายสินค้าลงไปบ้างเป็นเงิน 20,000 บาท เป็นฟ้องที่แสดงโดยแจ้งชัดซึ่งสภาพแห่งข้อหาของโจทก์และคำขอบังคับ ทั้งข้ออ้างที่อาศัยเป็นหลักแห่งข้อหาเช่นว่านั้นแล้ว หาเคลือบคลุมไม่
จำเลยผลิตยาสีฟัน 'COLDENT' ออกจำหน่ายตลอดมาจนปัจจุบันแม้จำเลยจะเริ่มผลิตมาตั้ง 10 ปีแล้ว การละเมิดสิทธิของโจทก์ที่จำเลยกระทำก็คงมีอยู่ตลอดเรื่อยไปทั้งโจทก์ยังได้นำคดีมาฟ้องจำเลยภายใน 90 วัน นับแต่วันได้รับทราบคำวินิจฉัยของนายทะเบียนเครื่องหมายการค้า คดีของโจทก์จึงหาขาดอายุความไม่
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 282/2516 เวอร์ชัน 2 คำพิพากษาฎีกานี้ มีเนื้อหาจากเว็บทางการหลายรูปแบบ
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
การจดทะเบียนเครื่องหมายการค้าที่คล้ายคลึงกันจนก่อให้เกิดความสับสนและความเสียหายต่อเจ้าของเครื่องหมายการค้าเดิม
เครื่องหมายการค้าคำว่า 'COLGATE' 'GARDOL' และ'GARDENT'ของโจทก์ กับเครื่องหมายการค้าคำว่า 'COLDENT' ของจำเลยต่างขอจดทะเบียนในประเภทเครื่องหมายคำ โดยใช้ตัวอักษรโรมันธรรมดาการใช้อักษรตลอดจนการออกสำเนียงในการอ่านคล้ายคลึงกันคำในพยางค์หน้าของเครื่องหมายการค้าของจำเลยมีคำว่า'COL'เช่นเดียวกับเครื่องหมายการค้าคำว่า 'COLGATE' ของโจทก์และคำในพยางค์ท้ายมีคำว่า 'DENT' เช่นเดียวกับคำในพยางค์ท้ายของเครื่องหมายการค้าคำว่า 'GARDENT' ของโจทก์ เครื่องหมายการค้าของจำเลยส่อให้เห็นถึงการจงใจเลียนแบบเครื่องหมายการค้าของโจทก์แม้จะเป็นการจดทะเบียนในประเภทเครื่องหมายคำสำหรับสินค้าจำพวก 48ทั้งจำพวก ก็อาจทำให้ผู้ซื้อสินค้าเกิดความสับสนหรือหลงผิดว่าเครื่องหมายการค้าของจำเลยคือเครื่องหมายการค้าของโจทก์โดยเฉพาะอย่างยิ่งในหมู่ผู้ซื้อที่ไม่ทันสังเกต หรือเป็นผู้ที่ไม่รู้ภาษาอังกฤษหรือรู้เพียงเล็กน้อย จึงนับได้ว่าเป็นการลวงสาธารณชนตามนัยแห่งมาตรา 16พระราชบัญญัติเครื่องหมายการค้า พ.ศ.2474 แก้ไขเพิ่มเติม (ฉบับที่ 3)พ.ศ.2504 มาตรา 4
จำเลยผลิตและจำหน่ายยาสีฟันซึ่งบรรจุอยู่ในกล่องสลากพื้นสีแดง ประกอบอักษรโรมันขนาดใหญ่สีขาวคำว่า 'COLDENT'และอักษรโรมันขนาดย่อมคำว่า 'ANTI-ENZYME TOOTH PASTEซึ่งมีรูปลักษณะของกล่อง การวางตัวอักษร ลักษณะของตัวอักษรสีของกล่อง และสีตัวอักษร คล้ายกับสลากกล่องเครื่องหมายการค้าของโจทก์ ตามหนังสือคู่มือรับจดทะเบียน การกระทำของจำเลยดังกล่าวเป็นการใช้สิทธิซึ่งมีแต่จะเกิดความเสียหายแก่โจทก์ตามประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ มาตรา 420 และ 421
โจทก์บรรยายฟ้องเกี่ยวกับค่าเสียหายไว้ว่า โจทก์ได้รับความเสียหายคือทำให้ชื่อเสียงเกียรติคุณของโจทก์เสื่อมความนิยม โจทก์ต้องขาดประโยชน์จากการจำหน่ายสินค้าลงไปบ้างเป็นเงิน 20,000 บาท เป็นฟ้องที่แสดงโดยแจ้งชัดซึ่งสภาพแห่งข้อหาของโจทก์และคำขอบังคับ ทั้งข้ออ้างที่อาศัยเป็นหลักแห่งข้อหาเช่นว่านั้นแล้ว หาเคลือบคลุมไม่
จำเลยผลิตยาสีฟัน 'COLDENT' ออกจำหน่ายตลอดมาจนปัจจุบันแม้จำเลยจะเริ่มผลิตมาตั้ง 10 ปีแล้ว การละเมิดสิทธิของโจทก์ที่จำเลยกระทำก็คงมีอยู่ตลอดเรื่อยไปทั้งโจทก์ยังได้นำคดีมาฟ้องจำเลยภายใน 90 วัน นับแต่วันได้รับทราบคำวินิจฉัยของนายทะเบียนเครื่องหมายการค้า คดีของโจทก์จึงหาขาดอายุความไม่
จำเลยผลิตและจำหน่ายยาสีฟันซึ่งบรรจุอยู่ในกล่องสลากพื้นสีแดง ประกอบอักษรโรมันขนาดใหญ่สีขาวคำว่า 'COLDENT'และอักษรโรมันขนาดย่อมคำว่า 'ANTI-ENZYME TOOTH PASTEซึ่งมีรูปลักษณะของกล่อง การวางตัวอักษร ลักษณะของตัวอักษรสีของกล่อง และสีตัวอักษร คล้ายกับสลากกล่องเครื่องหมายการค้าของโจทก์ ตามหนังสือคู่มือรับจดทะเบียน การกระทำของจำเลยดังกล่าวเป็นการใช้สิทธิซึ่งมีแต่จะเกิดความเสียหายแก่โจทก์ตามประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ มาตรา 420 และ 421
โจทก์บรรยายฟ้องเกี่ยวกับค่าเสียหายไว้ว่า โจทก์ได้รับความเสียหายคือทำให้ชื่อเสียงเกียรติคุณของโจทก์เสื่อมความนิยม โจทก์ต้องขาดประโยชน์จากการจำหน่ายสินค้าลงไปบ้างเป็นเงิน 20,000 บาท เป็นฟ้องที่แสดงโดยแจ้งชัดซึ่งสภาพแห่งข้อหาของโจทก์และคำขอบังคับ ทั้งข้ออ้างที่อาศัยเป็นหลักแห่งข้อหาเช่นว่านั้นแล้ว หาเคลือบคลุมไม่
จำเลยผลิตยาสีฟัน 'COLDENT' ออกจำหน่ายตลอดมาจนปัจจุบันแม้จำเลยจะเริ่มผลิตมาตั้ง 10 ปีแล้ว การละเมิดสิทธิของโจทก์ที่จำเลยกระทำก็คงมีอยู่ตลอดเรื่อยไปทั้งโจทก์ยังได้นำคดีมาฟ้องจำเลยภายใน 90 วัน นับแต่วันได้รับทราบคำวินิจฉัยของนายทะเบียนเครื่องหมายการค้า คดีของโจทก์จึงหาขาดอายุความไม่
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 222/2516
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
สินบริคณห์และผลผูกพันสัญญาซื้อขาย: ภรรยาต้องรับผิดในสัญญาที่สามีทำแม้ไม่ได้ลงชื่อ หากร่วมกันค้าและยินยอม
สามีภรรยาได้ร่วมกันทำการค้าที่ดิน โดยซื้อที่ดินแปลงใหญ่มาจัดสรรแบ่งขายเป็นที่ดินแปลงเล็ก เมื่อแบ่งแล้วลงชื่อภรรยาเป็นผู้ถือกรรมสิทธิ์ ที่ดินทั้งหมดย่อมถือว่าเป็นสินบริคณห์ ดังนี้ เมื่อสามีทำสัญญาจะขายที่ดินที่จัดสรรดังกล่าวให้ผู้จะซื้อไป โดยภรรยาไม่ได้ลงชื่อในสัญญาจะซื้อขายด้วย ภรรยาก็ต้องถูกผูกพันตามสัญญาจะซื้อจะขายนั้น ตามประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ มาตรา1473 วรรคต้น ประกอบด้วยมาตรา 1468 ทั้งได้ความด้วยว่าภรรยาเคยยินยอมให้สามีขายที่ดินที่จัดสรรทำนองนี้มาแล้วด้วยภรรยาจึงปฏิเสธความรับผิดตามสัญญาจะซื้อจะขายดังกล่าวหาได้ไม่
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 222/2516 เวอร์ชัน 2 คำพิพากษาฎีกานี้ มีเนื้อหาจากเว็บทางการหลายรูปแบบ
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
สินบริคณห์และการผูกพันตามสัญญาซื้อขายที่ดิน แม้ภรรยาไม่ได้ลงชื่อ
สามีภรรยาได้ร่วมกันทำการค้าที่ดิน โดยซื้อที่ดินแปลงใหญ่มาจัดสรรแบ่งขายเป็นที่ดินแปลงเล็ก เมื่อแบ่งแล้วลงชื่อภรรยาเป็นผู้ถือกรรมสิทธิ์ ที่ดินทั้งหมดย่อมถือว่าเป็นสินบริคณห์ ดังนี้เมื่อสามีทำสัญญาจะขายที่ดินที่จัดสรรดังกล่าวให้ผู้จะซื้อไปโดยภรรยาไม่ได้ลงชื่อในสัญญาจะซื้อขายด้วย ภรรยาก็ต้องถูกผูกพันตามสัญญาจะซื้อจะขายนั้น ตามประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์มาตรา1473 วรรคต้น ประกอบด้วยมาตรา 1468 ทั้งได้ความด้วยว่าภรรยาเคยยินยอมให้สามีขายที่ดินที่จัดสรรทำนองนี้มาแล้วด้วยภรรยาจึงปฏิเสธความรับผิดตามสัญญาจะซื้อจะขายดังกล่าวหาได้ไม่
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 221/2516
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
สิทธิการเช่าเป็นสิทธิเฉพาะตัว ห้ามโอนสิทธิแก่บุคคลอื่น แม้เป็นบุตรเขยหรือทายาท เว้นแต่ได้รับความยินยอมจากผู้ให้เช่า
สิทธิการเช่าเป็นสิทธิเฉพาะตัวของผู้เช่าเท่านั้น จะโอนจะแบ่งตามกฎหมายครอบครัวหรือมรดกหรือตามนิติกรรมก็ดี ถ้าไม่มีข้อตกลงกันไว้ในสัญญาเช่า หรือมิได้รับความยินยอมจากผู้ให้เช่าแล้ว จะโอนจะแบ่งไปยังบุคคลภายนอกแม้จะเป็นสามีภริยาหรือแม้แต่ทายาทของผู้เช่าหาได้ไม่หรือนัยหนึ่งสิทธิการเช่าเป็นสิทธิตามสัญญาซึ่งคนอื่นนอกจากคู่สัญญาเช่าจะเข้าไปมีสิทธิตามสัญญาด้วยไม่ได้ เมื่อโจทก์เป็นผู้เช่าตึกพิพาทตามสัญญาเช่าแต่ผู้เดียวจำเลยไม่ใช่คู่สัญญาด้วย. ย่อมไม่อาจอ้างได้ว่าจำเลยมีสิทธิตามสัญญาที่จะได้รับชำระหนี้ คือการเข้าอยู่ในตึกเช่ารายพิพาทได้ (อ้างคำพิพากษาฎีกาที่ 888/2511)
ข้อที่จำเลยอ้างว่าโจทก์สัญญาจะโอนสิทธิการเช่าให้จำเลยด้วยวาจานั้น ไม่มีผลในกฎหมายที่จะผูกพันบังคับกันได้
โจทก์ฎีกาเกี่ยวกับค่าเสียหายมาด้วย แต่ไม่มีคำขอให้ใช้ค่าเสียหาย ศาลฎีกาย่อมไม่พิพากษาให้จำเลยใช้ค่าเสียหายแก่โจทก์
ข้อที่จำเลยอ้างว่าโจทก์สัญญาจะโอนสิทธิการเช่าให้จำเลยด้วยวาจานั้น ไม่มีผลในกฎหมายที่จะผูกพันบังคับกันได้
โจทก์ฎีกาเกี่ยวกับค่าเสียหายมาด้วย แต่ไม่มีคำขอให้ใช้ค่าเสียหาย ศาลฎีกาย่อมไม่พิพากษาให้จำเลยใช้ค่าเสียหายแก่โจทก์
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 221/2516 เวอร์ชัน 2 คำพิพากษาฎีกานี้ มีเนื้อหาจากเว็บทางการหลายรูปแบบ
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
สิทธิการเช่าเป็นสิทธิเฉพาะตัว โอนสิทธิการเช่าต้องมีข้อตกลง/ยินยอมจากผู้ให้เช่า บุคคลภายนอกแม้เป็นญาติก็ไม่มีสิทธิ
สิทธิการเช่าเป็นสิทธิเฉพาะตัวของผู้เช่าเท่านั้น จะโอนจะแบ่งตามกฎหมายครอบครัวหรือมรดกหรือตามนิติกรรมก็ดี ถ้าไม่มีข้อตกลงกันไว้ในสัญญาเช่า หรือมิได้รับความยินยอมจากผู้ให้เช่าแล้วจะโอนจะแบ่งไปยังบุคคลภายนอกแม้จะเป็นสามีภริยาหรือแม้แต่ทายาทของผู้เช่าหาได้ไม่หรือนัยหนึ่งสิทธิการเช่าเป็นสิทธิตามสัญญาซึ่งคนอื่นนอกจากคู่สัญญาเช่าจะเข้าไปมีสิทธิตามสัญญาด้วยไม่ได้ เมื่อโจทก์เป็นผู้เช่าตึกพิพาทตามสัญญาเช่าแต่ผู้เดียว จำเลยไม่ใช่คู่สัญญาด้วย. ย่อมไม่อาจอ้างได้ว่าจำเลยมีสิทธิตามสัญญาที่จะได้รับชำระหนี้ คือการเข้าอยู่ในตึกเช่ารายพิพาทได้ (อ้างคำพิพากษาฎีกาที่ 888/2511)
ข้อที่จำเลยอ้างว่าโจทก์สัญญาจะโอนสิทธิการเช่าให้จำเลยด้วยวาจานั้น ไม่มีผลในกฎหมายที่จะผูกพันบังคับกันได้
โจทก์ฎีกาเกี่ยวกับค่าเสียหายมาด้วย แต่ไม่มีคำขอให้ใช้ค่าเสียหายศาลฎีกาย่อมไม่พิพากษาให้จำเลยใช้ค่าเสียหายแก่โจทก์
ข้อที่จำเลยอ้างว่าโจทก์สัญญาจะโอนสิทธิการเช่าให้จำเลยด้วยวาจานั้น ไม่มีผลในกฎหมายที่จะผูกพันบังคับกันได้
โจทก์ฎีกาเกี่ยวกับค่าเสียหายมาด้วย แต่ไม่มีคำขอให้ใช้ค่าเสียหายศาลฎีกาย่อมไม่พิพากษาให้จำเลยใช้ค่าเสียหายแก่โจทก์
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 206/2516 เวอร์ชัน 2 คำพิพากษาฎีกานี้ มีเนื้อหาจากเว็บทางการหลายรูปแบบ
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
การจำแนกความผิดระหว่างลักทรัพย์กับยักยอกทรัพย์ กรณีเจ้าหน้าที่จ่ายน้ำมันเกินจำนวน
จำเลยเป็นลูกจ้างของบริษัทค้าน้ำมัน มีหน้าที่เพียงจ่ายหรือเติมน้ำมันให้แก่ผู้ที่นำใบสั่งจ่ายมายื่นเท่านั้น น้ำมันเก็บรักษาไว้ในคลังน้ำมันซึ่งมีผู้อื่นเป็นผู้จัดการ ดังนี้ ไม่ถือว่าจำเลยเป็นผู้ครอบครองน้ำมัน เมื่อจำเลยจ่ายน้ำมันเกินกว่าจำนวนตามใบสั่งแล้วเอาน้ำมันที่จ่ายเกินนั้นไปโดยทุจริต ย่อมมีความผิดฐานลักทรัพย์ไม่ใช่ยักยอก