พบผลลัพธ์ทั้งหมด 342 รายการ
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 865/2518
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
การกู้ยืมเงินเกิน 50 บาท ต้องมีหลักฐานเป็นหนังสือลงลายมือชื่อจึงฟ้องร้องได้ เช็คและหนังสือมอบอำนาจไม่ถือเป็นหลักฐานการกู้ยืม
ประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ มาตรา 653 ที่ว่าการกู้เงินเกินกว่า 50 บาท ถ้าไม่มีหลักฐานการกู้ยืมเป็นหนังสือลงลายมือชื่อผู้ยืมฟ้องร้องบังคับคดีไม่ได้นั้น หมายความรวมถึงยกขึ้นต่อสู้คดีด้วย จำเลยที่ 2 มีเช็คซึ่งจำเลยที่ 1 ลงลายมือชื่อสั่งจ่ายแก่ผู้ถือ หนังสือมอบอำนาจซึ่งโจทก์มอบให้จำเลยที่ 2 ทำการขายฝากที่ดิน กับโฉนดที่ดินของโจทก์ไม่เป็นหลักฐานที่แสดงว่าจำเลยที่ 1 และบิดาโจทก์เป็นผู้กู้เงินจำเลยที่ 2 จำเลยที่ 2 จึงอ้างว่ามีการกู้เงินไม่ได้ จึงฟังไม่ได้ว่าจำเลยที่ 1 กับบิดาโจทก์ตกลงกับจำเลยที่ 2 ว่าถ้าไม่ชำระเงินกู้ให้จำเลยที่ 2 นำโฉนดของโจทก์ไปจดทะเบียนขายฝากได้ โจทก์เรียกโฉนดคืนจากจำเลยที่ 2 ได้
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 41/2518
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
อำนาจฟ้องคดีภาษี: การประเมินภาษีถูกต้องและโจทก์ไม่เคยอุทธรณ์ ทำให้ไม่มีอำนาจฟ้อง
จำเลยเรียกเก็บภาษีการค้าตามประมวลรัษฎากรซึ่งจำเลยมีสิทธิประเมินได้ มิใช่ไม่มีมูลจะอ้างได้ตามกฎหมายโจทก์อ้างว่าจำต้องเสียเงินเพราะจำเลยไม่ยอมปล่อยของจากศุลกากรไม่ได้ โจทก์ไม่อุทธรณ์การประเมินก่อนตามประมวลรัษฎากร มาตรา 30 โจทก์ไม่มีอำนาจฟ้อง แม้จะไม่ยกขึ้นต่อสู้ ศาลก็ยกขึ้นวินิจฉัยเองได้
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 2620/2517 เวอร์ชัน 2 คำพิพากษาฎีกานี้ มีเนื้อหาจากเว็บทางการหลายรูปแบบ
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
การกู้ยืมเงิน, สัญญาไม่สมบูรณ์, การฟ้องบังคับสิทธิหลังลูกหนี้เสียชีวิต, การทวงถามหนี้
โจทก์ฟ้องว่า จ. สามีจำเลยทั้งสองยืมเงินโจทก์ไป 2 ครั้งครั้งแรก 110,000 บาท ครั้งที่สอง 90,000 บาท ศาลชั้นต้นวินิจฉัยว่าจ. ทำหนังสือสัญญากู้ 2 ราย และรับเงินกู้ไป 200,000 บาทจำเลยที่ 2 อุทธรณ์ว่า จ. ไม่ได้รับเงินกู้รายแรก แต่ไม่ได้อุทธรณ์ว่าจ. ไม่ได้ทำสัญญากู้รายแรก ดังนี้ ประเด็นว่า จ. ได้ทำสัญญากู้รายแรกหรือไม่ จึงยุติเพียงศาลชั้นต้นว่า จ.ได้ทำสัญญากู้รายแรกจริงจำเลยที่ 2 จึงฎีกาในปัญหาข้อนี้ไม่ได้ แม้ศาลอุทธรณ์วินิจฉัยปัญหานี้ให้ ก็เป็นการที่ไม่ได้ยกขึ้นว่ากล่าวโดยชอบ ศาลฎีกาไม่วินิจฉัยให้
จำเลยที่ 2 ให้การว่า จ. จะได้ยืมเงินจากโจทก์ หรือไม่จำเลยที่ 2 ไม่ทราบไม่รับรอง ลายมือชื่อในสัญญากู้ไม่ใช่ของ จ.จ. ไม่ได้รับเงินไปตามสัญญากู้ สัญญากู้จึงไม่สมบูรณ์ ดังนี้ที่จำเลยที่ 2 ให้การต่อสู้ว่า จ. ไม่ได้รับเงินไปตามสัญญากู้นั้นเป็นการประกอบคำให้การที่ว่าลายมือชื่อในสัญญากู้ไม่ใช่ของ จ.คำให้การดังกล่าวจึงมีความหมายว่าเนื่องด้วยสัญญากู้ปลอมจ. จึงไม่ได้รับเงินที่ระบุไว้ในสัญญากู้ ดังนั้นเมื่อฟังว่า จ.ทำสัญญากู้ให้โจทก์ไว้จริง ไม่ใช่สัญญากู้ปลอมแล้ว ข้อต่อสู้ว่าจ. ไม่ได้รับเงินไปตามสัญญากู้เป็นอันตกไป ต้องฟังว่า จ.ได้รับเงินตามสัญญากู้
ประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ มาตรา 1754 วรรค 3 บัญญัติให้เจ้าหนี้ต้องฟ้องบังคับสิทธิเรียกร้องเสียภายในกำหนด 1 ปี ย่อมเป็นการให้สิทธิเจ้าหนี้ฟ้องคดีให้ชำระหนี้ได้ตั้งแต่วันที่ลูกหนี้ถึงแก่กรรมโดยเจ้าหนี้ไม่จำเป็นต้องทวงถามให้ชำระหนี้ก่อน ฉะนั้น แม้สัญญากู้ซึ่ง จ. กู้เงินโจทก์ไปจะมีข้อความว่าหากโจทก์ต้องการเงินคืนเมื่อใดจ. จะคืนให้ทันที แต่ต้องบอกล่วงหน้าไม่น้อยกว่า 1 เดือนก็ตามเมื่อ จ. ถึงแก่กรรม โจทก์ย่อมฟ้องคดีได้ทันทีโดยไม่จำต้องทวงถามก่อน
จำเลยที่ 2 ให้การว่า จ. จะได้ยืมเงินจากโจทก์ หรือไม่จำเลยที่ 2 ไม่ทราบไม่รับรอง ลายมือชื่อในสัญญากู้ไม่ใช่ของ จ.จ. ไม่ได้รับเงินไปตามสัญญากู้ สัญญากู้จึงไม่สมบูรณ์ ดังนี้ที่จำเลยที่ 2 ให้การต่อสู้ว่า จ. ไม่ได้รับเงินไปตามสัญญากู้นั้นเป็นการประกอบคำให้การที่ว่าลายมือชื่อในสัญญากู้ไม่ใช่ของ จ.คำให้การดังกล่าวจึงมีความหมายว่าเนื่องด้วยสัญญากู้ปลอมจ. จึงไม่ได้รับเงินที่ระบุไว้ในสัญญากู้ ดังนั้นเมื่อฟังว่า จ.ทำสัญญากู้ให้โจทก์ไว้จริง ไม่ใช่สัญญากู้ปลอมแล้ว ข้อต่อสู้ว่าจ. ไม่ได้รับเงินไปตามสัญญากู้เป็นอันตกไป ต้องฟังว่า จ.ได้รับเงินตามสัญญากู้
ประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ มาตรา 1754 วรรค 3 บัญญัติให้เจ้าหนี้ต้องฟ้องบังคับสิทธิเรียกร้องเสียภายในกำหนด 1 ปี ย่อมเป็นการให้สิทธิเจ้าหนี้ฟ้องคดีให้ชำระหนี้ได้ตั้งแต่วันที่ลูกหนี้ถึงแก่กรรมโดยเจ้าหนี้ไม่จำเป็นต้องทวงถามให้ชำระหนี้ก่อน ฉะนั้น แม้สัญญากู้ซึ่ง จ. กู้เงินโจทก์ไปจะมีข้อความว่าหากโจทก์ต้องการเงินคืนเมื่อใดจ. จะคืนให้ทันที แต่ต้องบอกล่วงหน้าไม่น้อยกว่า 1 เดือนก็ตามเมื่อ จ. ถึงแก่กรรม โจทก์ย่อมฟ้องคดีได้ทันทีโดยไม่จำต้องทวงถามก่อน
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 2620/2517
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
การรับชำระหนี้และการฟ้องบังคับสิทธิหลังลูกหนี้ถึงแก่กรรม โดยไม่ต้องทวงถามก่อน
โจทก์ฟ้องว่า จ. สามีจำเลยทั้งสองยืมเงินโจทก์ไป 2 ครั้ง ครั้งแรก 110,000 บาท ครั้งที่สอง 90,000 บาท ศาลชั้นต้นวินิจฉัยว่า จ. ทำหนังสือสัญญากู้ 2 ราย และรับเงินกู้ไป 200,000 บาทจำเลยที่ 2 อุทธรณ์ว่า จ. ไม่ได้รับเงินกู้รายแรก แต่ไม่ได้อุทธรณ์ว่าจ. ไม่ได้ทำสัญญากู้รายแรก ดังนี้ ประเด็นว่า จ. ได้ทำสัญญากู้รายแรกหรือไม่ จึงยุติเพียงศาลชั้นต้นว่า จ.ได้ทำสัญญากู้รายแรกจริงจำเลยที่ 2 จึงฎีกาในปัญหาข้อนี้ไม่ได้ แม้ศาลอุทธรณ์วินิจฉัยปัญหานี้ให้ ก็เป็นการที่ไม่ได้ยกขึ้นว่ากล่าวโดยชอบ ศาลฎีกาไม่วินิจฉัยให้
จำเลยที่ 2 ให้การว่า จ. จะได้ยืมเงินจากโจทก์ หรือไม่ จำเลยที่ 2 ไม่ทราบไม่รับรอง ลายมือชื่อในสัญญากู้ไม่ใช่ของ จ. จ. ไม่ได้รับเงินไปตามสัญญากู้ สัญญากู้จึงไม่สมบูรณ์ ดังนี้ ที่จำเลยที่ 2 ให้การต่อสู้ว่า จ. ไม่ได้รับเงินไปตามสัญญากู้นั้นเป็นการประกอบคำให้การที่ว่าลายมือชื่อในสัญญากู้ไม่ใช่ของ จ.คำให้การดังกล่าวจึงมีความหมายว่าเนื่องด้วยสัญญากู้ปลอมจ. จึงไม่ได้รับเงินที่ระบุไว้ในสัญญากู้ ดังนั้นเมื่อฟังว่า จ.ทำสัญญากู้ให้โจทก์ไว้จริง ไม่ใช่สัญญากู้ปลอมแล้ว ข้อต่อสู้ว่า จ. ไม่ได้รับเงินไปตามสัญญากู้เป็นอันตกไปต้องฟังว่า จ.ได้รับเงินตามสัญญากู้
ประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ มาตรา 1754 วรรคสามบัญญัติให้เจ้าหนี้ต้องฟ้องบังคับสิทธิเรียกร้องเสียภายในกำหนด 1 ปี ย่อมเป็นการให้สิทธิเจ้าหนี้ฟ้องคดีให้ชำระหนี้ได้ตั้งแต่วันที่ลูกหนี้ถึงแก่กรรมโดยเจ้าหนี้ไม่จำเป็นต้องทวงถามให้ชำระหนี้ก่อน ฉะนั้น แม้สัญญากู้ซึ่ง จ. กู้เงินโจทก์ไปจะมีข้อความว่าหากโจทก์ต้องการเงินคืนเมื่อใดจ. จะคืนให้ทันที แต่ต้องบอกล่วงหน้าไม่น้อยกว่า 1 เดือนก็ตามเมื่อ จ. ถึงแก่กรรม โจทก์ย่อมฟ้องคดีได้ทันทีโดยไม่จำต้องทวงถามก่อน
จำเลยที่ 2 ให้การว่า จ. จะได้ยืมเงินจากโจทก์ หรือไม่ จำเลยที่ 2 ไม่ทราบไม่รับรอง ลายมือชื่อในสัญญากู้ไม่ใช่ของ จ. จ. ไม่ได้รับเงินไปตามสัญญากู้ สัญญากู้จึงไม่สมบูรณ์ ดังนี้ ที่จำเลยที่ 2 ให้การต่อสู้ว่า จ. ไม่ได้รับเงินไปตามสัญญากู้นั้นเป็นการประกอบคำให้การที่ว่าลายมือชื่อในสัญญากู้ไม่ใช่ของ จ.คำให้การดังกล่าวจึงมีความหมายว่าเนื่องด้วยสัญญากู้ปลอมจ. จึงไม่ได้รับเงินที่ระบุไว้ในสัญญากู้ ดังนั้นเมื่อฟังว่า จ.ทำสัญญากู้ให้โจทก์ไว้จริง ไม่ใช่สัญญากู้ปลอมแล้ว ข้อต่อสู้ว่า จ. ไม่ได้รับเงินไปตามสัญญากู้เป็นอันตกไปต้องฟังว่า จ.ได้รับเงินตามสัญญากู้
ประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ มาตรา 1754 วรรคสามบัญญัติให้เจ้าหนี้ต้องฟ้องบังคับสิทธิเรียกร้องเสียภายในกำหนด 1 ปี ย่อมเป็นการให้สิทธิเจ้าหนี้ฟ้องคดีให้ชำระหนี้ได้ตั้งแต่วันที่ลูกหนี้ถึงแก่กรรมโดยเจ้าหนี้ไม่จำเป็นต้องทวงถามให้ชำระหนี้ก่อน ฉะนั้น แม้สัญญากู้ซึ่ง จ. กู้เงินโจทก์ไปจะมีข้อความว่าหากโจทก์ต้องการเงินคืนเมื่อใดจ. จะคืนให้ทันที แต่ต้องบอกล่วงหน้าไม่น้อยกว่า 1 เดือนก็ตามเมื่อ จ. ถึงแก่กรรม โจทก์ย่อมฟ้องคดีได้ทันทีโดยไม่จำต้องทวงถามก่อน
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 2480/2517
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
อายุความหนี้ค่าข้าวโพด, การหักกลบลบหนี้, และดอกเบี้ยผิดนัดชำระ
หนี้ที่โจทก์ฟ้องเกิดจากการที่จำเลยซื้อข้าวโพดและโจทก์ได้มอบข้าวโพดให้จำเลยไปแล้ว กรณีเช่นนี้ไม่มีกฎหมายบังคับว่าต้องมีหนังสือมาแสดง โจทก์จึงนำพยานบุคคลมาสืบเพิ่มเติมได้ไม่ต้องห้ามตามประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความแพ่ง มาตรา 94
โจทก์เป็นผู้ประกอบกสิกรรมเรียกร้องเอาค่าข้าวโพดอันเป็น ผลิตผลแห่งกสิกรรมจึงมีอายุความ 5 ปีตามประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ มาตรา 165 วรรคท้าย (อ้างคำพิพากษาฎีกาที่ 807-808/2510)
จำเลยชำระค่าเช่าซื้องวดรถแทรกเตอร์แทนโจทก์โดยในขณะนั้นหนี้ค่าข้าวโพดของโจทก์ที่มีต่อจำเลยยังไม่ขาดอายุความ ถ้าโจทก์จะนำหนี้ค่าข้าวโพดมาหักกลบลบกับหนี้ค่าเช่าซื้องวดรถแทรกเตอร์ซึ่งจำเลยมีต่อโจทก์ย่อมทำได้ตามประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์มาตรา 344 และเมื่อโจทก์ขอหักกลบลบหนี้ ก็ต้องหักกลบลบหนี้กับหนี้ค่าข้าวโพดที่เก่าที่สุด ตามประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ มาตรา 348
โจทก์เป็นผู้ประกอบกสิกรรมเรียกร้องเอาค่าข้าวโพดอันเป็น ผลิตผลแห่งกสิกรรมจึงมีอายุความ 5 ปีตามประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ มาตรา 165 วรรคท้าย (อ้างคำพิพากษาฎีกาที่ 807-808/2510)
จำเลยชำระค่าเช่าซื้องวดรถแทรกเตอร์แทนโจทก์โดยในขณะนั้นหนี้ค่าข้าวโพดของโจทก์ที่มีต่อจำเลยยังไม่ขาดอายุความ ถ้าโจทก์จะนำหนี้ค่าข้าวโพดมาหักกลบลบกับหนี้ค่าเช่าซื้องวดรถแทรกเตอร์ซึ่งจำเลยมีต่อโจทก์ย่อมทำได้ตามประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์มาตรา 344 และเมื่อโจทก์ขอหักกลบลบหนี้ ก็ต้องหักกลบลบหนี้กับหนี้ค่าข้าวโพดที่เก่าที่สุด ตามประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ มาตรา 348
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 2345/2517 เวอร์ชัน 2 คำพิพากษาฎีกานี้ มีเนื้อหาจากเว็บทางการหลายรูปแบบ
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
สัญญาต่างตอบแทน, การยกทรัพย์สิน, เหตุหย่าจากการทำร้ายร่างกายและหมิ่นประมาท, กรรมสิทธิ์ในเรือน
จำเลยที่ 1 กับที่ 2 เป็นบิดามารดาของจำเลยที่ 3 ได้สู่ขอโจทก์ให้เป็นภรรยาจำเลยที่ 3 ในการสู่ขอนั้นจำเลยที่ 1 กับที่ 2 ได้ตกลงจะยกที่นา 10 ไร่ให้โจทก์ เป็นการตอบแทนการที่โจทก์ยอมสมรสกับจำเลยที่ 3 จึงเป็นสัญญาต่างตอบแทนซึ่งใช้บังคับกันได้(อ้างคำพิพากษาฎีกาที่ 295/2491)
หลังจากโจทก์กับจำเลยที่ 3 สมรสกันแล้ว จำเลยที่1 กับที่ 2 ได้ปลูกเรือนพิพาทโดยเจตนาจะยกให้โจทก์กับจำเลยที่ 3 แต่มิได้จดทะเบียนโอนกรรมสิทธิ์ยกให้ตามประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ มาตรา 525 เรือนพิพาทจึงยังเป็นกรรมสิทธิ์ของจำเลยที่ 1 กับที่ 2 อยู่
จำเลยที่ 3 ด่าโจทก์และมารดาโจทก์ด้วยถ้อยคำหยาบคายเตะและตบทำร้ายร่างกายโจทก์ หมิ่นประมาทโจทก์ว่ามีชู้บุตรที่เกิดก็ว่าเกิดกับชู้ หมิ่นประมาทมารดาโจทก์ว่าเป็นหญิงสำส่อนให้ชาวบ้านร่วมประเวณี อันเป็นการหมิ่นประมาทอย่างร้ายแรงเป็นเหตุให้โจทก์ฟ้องหย่าได้
หลังจากโจทก์กับจำเลยที่ 3 สมรสกันแล้ว จำเลยที่1 กับที่ 2 ได้ปลูกเรือนพิพาทโดยเจตนาจะยกให้โจทก์กับจำเลยที่ 3 แต่มิได้จดทะเบียนโอนกรรมสิทธิ์ยกให้ตามประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ มาตรา 525 เรือนพิพาทจึงยังเป็นกรรมสิทธิ์ของจำเลยที่ 1 กับที่ 2 อยู่
จำเลยที่ 3 ด่าโจทก์และมารดาโจทก์ด้วยถ้อยคำหยาบคายเตะและตบทำร้ายร่างกายโจทก์ หมิ่นประมาทโจทก์ว่ามีชู้บุตรที่เกิดก็ว่าเกิดกับชู้ หมิ่นประมาทมารดาโจทก์ว่าเป็นหญิงสำส่อนให้ชาวบ้านร่วมประเวณี อันเป็นการหมิ่นประมาทอย่างร้ายแรงเป็นเหตุให้โจทก์ฟ้องหย่าได้
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 2345/2517
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
สัญญาต่างตอบแทนในการสู่ขอ, การโอนกรรมสิทธิ์เรือน, เหตุหย่าจากการหมิ่นประมาทและการทำร้ายร่างกาย
จำเลยที่ 1 กับที่ 2 เป็นบิดามารดาของจำเลยที่ 3 ได้สู่ขอโจทก์ให้เป็นภรรยาจำเลยที่ 3 ในการสู่ขอนั้นจำเลยที่ 1 กับที่ 2 ได้ตกลงจะยกที่นา 10 ไร่ให้โจทก์ เป็นการตอบแทนการที่โจทก์ยอมสมรสกับจำเลยที่ 3 จึงเป็นสัญญาต่างตอบแทนซึ่งใช้บังคับกันได้ (อ้างคำพิพากษาฎีกาที่ 295/2491)
หลังจากโจทก์กับจำเลยที่ 3 สมรสกันแล้ว จำเลยที่1 กับที่ 2 ได้ปลูกเรือนพิพาทโดยเจตนาจะยกให้โจทก์กับจำเลยที่ 3 แต่มิได้จดทะเบียนโอนกรรมสิทธิ์ยกให้ตามประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ มาตรา 525 เรือนพิพาทจึงยังเป็นกรรมสิทธิ์ของจำเลยที่ 1 กับที่ 2 อยู่
จำเลยที่ 3 ด่าโจทก์และมารดาโจทก์ด้วยถ้อยคำหยาบคายเตะและตบทำร้ายร่างกายโจทก์ หมิ่นประมาทโจทก์ว่ามีชู้บุตรที่เกิดก็ว่าเกิดกับชู้ หมิ่นประมาทมารดาโจทก์ว่าเป็นหญิงสำส่อนให้ชาวบ้านร่วมประเวณี อันเป็นการหมิ่นประมาทอย่างร้ายแรงเป็นเหตุให้โจทก์ฟ้องหย่าได้
หลังจากโจทก์กับจำเลยที่ 3 สมรสกันแล้ว จำเลยที่1 กับที่ 2 ได้ปลูกเรือนพิพาทโดยเจตนาจะยกให้โจทก์กับจำเลยที่ 3 แต่มิได้จดทะเบียนโอนกรรมสิทธิ์ยกให้ตามประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ มาตรา 525 เรือนพิพาทจึงยังเป็นกรรมสิทธิ์ของจำเลยที่ 1 กับที่ 2 อยู่
จำเลยที่ 3 ด่าโจทก์และมารดาโจทก์ด้วยถ้อยคำหยาบคายเตะและตบทำร้ายร่างกายโจทก์ หมิ่นประมาทโจทก์ว่ามีชู้บุตรที่เกิดก็ว่าเกิดกับชู้ หมิ่นประมาทมารดาโจทก์ว่าเป็นหญิงสำส่อนให้ชาวบ้านร่วมประเวณี อันเป็นการหมิ่นประมาทอย่างร้ายแรงเป็นเหตุให้โจทก์ฟ้องหย่าได้
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 2243/2517 เวอร์ชัน 2 คำพิพากษาฎีกานี้ มีเนื้อหาจากเว็บทางการหลายรูปแบบ
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
สำคัญผิดในสาระสำคัญของนิติกรรมซื้อขายที่ดิน: โมฆะเฉพาะส่วน, ส่วนที่สมบูรณ์แยกได้
โจทก์จำเลยเจตนาจะซื้อขายที่ดินเฉพาะส่วนจำนวนเนื้อที่ 35 เศษหนึ่งส่วนสามตารางวาต่อกัน แต่โจทก์ได้ทำนิติกรรมขายที่ดินให้จำเลยไป 88 เศษหนึ่งส่วนสามตารางวา โดยเชื่อว่าเจ้าพนักงานที่ดินได้ปฏิบัติไปถูกต้องแล้ว ถือว่าเป็นการสำคัญผิดในสิ่งซึ่งเป็นสารสำคัญแห่งนิติกรรมนิติกรรมจึงตกเป็นโมฆะ แต่เมื่อตามพฤติการณ์แห่งกรณีเห็นได้ชัดว่า โจทก์จำเลยมีเจตนาจะซื้อขายที่ดินจำนวนเนื้อที่ 35 เศษหนึ่งส่วนสามตารางวา การซื้อขายที่ดินในส่วนนี้จึงสมบูรณ์ แยกออกหากจากที่ดินจำนวนเนื้อที่ 53 ตารางวาของโจทก์ ซึ่งเป็นส่วนที่ไม่สมบูรณ์ได้
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 2243/2517
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
สำคัญผิดในสาระสำคัญแห่งนิติกรรมซื้อขายที่ดิน การซื้อขายเฉพาะส่วนสมบูรณ์ได้
โจทก์จำเลยเจตนาจะซื้อขายที่ดินเฉพาะส่วนจำนวนเนื้อที่35 ตารางวา ครึ่ง ต่อกัน แต่โจทก์ได้ทำนิติกรรมขายที่ดินให้จำเลยไป 88 ตารางวา ครึ่ง โดยเชื่อว่าเจ้าพนักงานที่ดินได้ปฏิบัติไปถูกต้องแล้ว ถือว่าเป็นการสำคัญผิดในสิ่งซึ่งเป็นสารสำคัญแห่งนิติกรรมนิติกรรมจึงตกเป็นโมฆะ แต่เมื่อตามพฤติการณ์แห่งกรณีเห็นได้ชัดว่า โจทก์จำเลยมีเจตนาจะซื้อขายที่ดินจำนวนเนื้อที่ 35 ตารางวา ครึ่ง การซื้อขายที่ดินในส่วนนี้จึงสมบูรณ์ แยกออกหากจากที่ดินจำนวนเนื้อที่ 53 ตารางวาของโจทก์ ซึ่งเป็นส่วนที่ไม่สมบูรณ์ได้
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 2186/2517
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
เจตนาแท้จริงของสัญญา, การแก้ไขแบบแปลน, สัญญาค้ำประกันที่ไม่ใช่เงินมัดจำ, และการโต้แย้งคำสั่งศาล
คำสั่งศาลชั้นต้นที่อนุญาตให้จำเลยระบุอ้างพยานบุคคลภายหลังเวลาที่โจทก์ซึ่งมีหน้าที่นำสืบก่อนได้สืบพยานเสร็จสิ้นไปแล้ว เป็นคำสั่งระหว่างพิจารณา เมื่อโจทก์มิได้โต้แย้งคัดค้านไว้จึงอุทธรณ์ฎีกาคำสั่งนี้ไม่ได้ต้องห้ามตามประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความแพ่ง มาตรา 226
จำเลยทำสัญญาจ้างเหมาให้โจทก์ก่อสร้างโรงเรียนเป็นสัญญาจ้างทำของ แม้ตามแบบแปลนท้ายสัญญาจะแสดงว่าเป็นรูปอาคาร 4 ห้องเรียน จำเลยก็มีสิทธินำสืบพยานบุคคลเพื่อแก้ไขเปลี่ยนแปลงเอกสารแบบแปลนนั้นได้ว่า คู่สัญญามีเจตนาอันแท้จริงที่จะทำการจ้างเหมาก่อสร้างอาคารจำนวน 8 ห้องเรียน ไม่ต้องห้ามตามประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความแพ่งมาตรา 94
โจทก์ทำสัญญารับจ้างเหมาก่อสร้างโรงเรียนให้จำเลย โดยมีธนาคาร ก. ทำสัญญาค้ำประกันต่อจำเลยว่า เมื่อโจทก์ไม่ปฏิบัติตามสัญญา หรือปฏิบัติผิดสัญญาซึ่งจำเลยมีสิทธิเรียกค่าปรับหรือค่าเสียหายใดๆ จากโจทก์ได้แล้ว ธนาคาร ก.จะยอมชำระเงินแทนโจทก์ให้แก่จำเลยภายในวงเงินที่ค้ำประกันทันที โดยธนาคาร ก. มิได้วางเงินสดตามสัญญาค้ำประกันไว้ต่อจำเลย สัญญาค้ำประกันนี้จึงเป็นเรื่องที่ผู้ค้ำประกันยอมผูกพันตนเข้าชำระหนี้แทนโจทก์ต่อจำเลยเท่านั้น หาใช่เป็นมัดจำตามความหมายในประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ มาตรา 377 ไม่ จำเลยจึงไม่มีสิทธิริบเงินตามสัญญาค้ำประกัน เมื่อจำเลยบอกเลิกสัญญาโดยโจทก์ผิดสัญญา
จำเลยทำสัญญาจ้างเหมาให้โจทก์ก่อสร้างโรงเรียนเป็นสัญญาจ้างทำของ แม้ตามแบบแปลนท้ายสัญญาจะแสดงว่าเป็นรูปอาคาร 4 ห้องเรียน จำเลยก็มีสิทธินำสืบพยานบุคคลเพื่อแก้ไขเปลี่ยนแปลงเอกสารแบบแปลนนั้นได้ว่า คู่สัญญามีเจตนาอันแท้จริงที่จะทำการจ้างเหมาก่อสร้างอาคารจำนวน 8 ห้องเรียน ไม่ต้องห้ามตามประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความแพ่งมาตรา 94
โจทก์ทำสัญญารับจ้างเหมาก่อสร้างโรงเรียนให้จำเลย โดยมีธนาคาร ก. ทำสัญญาค้ำประกันต่อจำเลยว่า เมื่อโจทก์ไม่ปฏิบัติตามสัญญา หรือปฏิบัติผิดสัญญาซึ่งจำเลยมีสิทธิเรียกค่าปรับหรือค่าเสียหายใดๆ จากโจทก์ได้แล้ว ธนาคาร ก.จะยอมชำระเงินแทนโจทก์ให้แก่จำเลยภายในวงเงินที่ค้ำประกันทันที โดยธนาคาร ก. มิได้วางเงินสดตามสัญญาค้ำประกันไว้ต่อจำเลย สัญญาค้ำประกันนี้จึงเป็นเรื่องที่ผู้ค้ำประกันยอมผูกพันตนเข้าชำระหนี้แทนโจทก์ต่อจำเลยเท่านั้น หาใช่เป็นมัดจำตามความหมายในประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ มาตรา 377 ไม่ จำเลยจึงไม่มีสิทธิริบเงินตามสัญญาค้ำประกัน เมื่อจำเลยบอกเลิกสัญญาโดยโจทก์ผิดสัญญา