พบผลลัพธ์ทั้งหมด 6 รายการ
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 2122/2540
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
สัญญาซ่อมรถ: ผู้ว่าจ้างจริงคือโจทก์ จำเลยตกลงรับภาระแทนโจทก์จากผู้ผิดนัด โจทก์ไม่ต้องชำระค่าซ่อม
ม.ขับรถยนต์โดยประมาทชนรถยนต์ของโจทก์ได้รับความเสียหายโดยม. ยอมรับผิดต่อโจทก์ต่อมาโจทก์และม.มาพบจำเลยที่อู่ของจำเลยเพื่อให้จำเลยประเมินค่าซ่อมรถยนต์ของโจทก์จำเลยประเมินราคาค่าซ่อมและค่าอะไหล่รวม100,000บาทโจทก์และม.ตกลงค่าซ่อมและค่าอะไหล่70,000บาทจำเลยตกลงรับจ้างซ่อมให้ข้อตกลงระหว่างโจทก์และม.มีเงื่อนไขตามที่ระบุไว้ในสัญญาว่าม.ชำระค่าซ่อมในวันทำสัญญา30,000บาทส่วนที่เหลือ40,000บาทจะนำมาชำระที่อู่ของจำเลยภายในวันที่30มีนาคม2536หากผิดนัดยอมชำระค่าซ่อมและค่าอะไหล่100,000บาทพร้อมดอกเบี้ยนับแต่วันผิดนัดโดยมีโจทก์และม. ลงชื่อเป็นคู่สัญญาจำเลยกับพ.ภริยาจำเลยลงชื่อเป็นพยานในวันเดียวกันนั้นโจทก์และจำเลยทำสัญญาว่าอู่ของจำเลยจะซ่อมรถยนต์ของโจทก์ให้เสร็จประมาณวันที่5มีนาคม2536ได้รับชำระหนี้ล่วงหน้าแล้ว30,000บาทส่วนที่เหลือ40,000บาทผู้ซ่อมจะเรียกเก็บจากม. โดยค่าซ่อมส่วนนี้โจทก์ไม่มีส่วนเกี่ยวข้องด้วยโจทก์ลงชื่อในฐานะผู้ให้ซ่อมจำเลยลงชื่อในฐานะผู้ซ่อมแม้ตามสัญญาจะมิได้ระบุชัดว่าโจทก์หรือม.เป็นผู้ว่าจ้างจำเลยคงมีเงื่อนไขในข้อตกลงของโจทก์และม.ว่าม. จะนำค่าซ่อมส่วนที่เหลือดังกล่าวแก่จำเลยเนื่องจากจำเลยเป็นเจ้าของอู่และยังเป็นเจ้าหนี้ในค่าซ่อมส่วนที่เหลือดังกล่าวด้วยแต่เงื่อนไขดังกล่าวยังไม่พอฟังว่าม.ว่าจ้างจำเลยซ่อมเพราะตามสัญญาดังกล่าวยังมิได้กำหนดเวลาซ่อมเสร็จอันเป็นข้อสาระสำคัญของสัญญาว่าจ้างซ่อมทั้งเป็นเรื่องระหว่างโจทก์และม.ซึ่งเป็นคู่สัญญาจำเลยมิได้เป็นคู่สัญญาด้วยแต่กำหนดเวลาซ่อมแล้วเสร็จมาระบุในสัญญาเอกสารหมายจ.5โดยมีโจทก์และจำเลยเป็นคู่สัญญาทั้งการลงชื่อในสัญญาก็ได้ระบุว่าโจทก์ในฐานะผู้ให้ซ่อมจำเลยในฐานะผู้ซ่อมโจทก์จึงเป็นผู้ว่าจ้างจำเลยซ่อมรถยนต์ของโจทก์หาใช่ม. ไม่ เมื่อจำเลยซ่อมรถยนต์ของโจทก์เสร็จและม. ผิดนัดไม่นำเงินค่าซ่อมส่วนที่เหลือมาชำระแก่จำเลยตามที่ตกลงกับโจทก์ในโจทก์ก็ต้องเป็นผู้ชำระค่าซ่อมดังกล่าวแก่จำเลยแต่เมื่อจำเลยตกลงกับโจทก์ว่าจำเลยจะเป็นผู้เรียกเก็บค่าซ่อมส่วนที่เหลือ40,000บาทจากม. เองโดยโจทก์ไม่มีส่วนเกี่ยวข้องกับค่าซ่อมดังกล่าวแสดงว่าจำเลยซึ่งเป็นเจ้าหนี้ในค่าซ่อมดังกล่าวตกลงรับภาระแทนโจทก์โดยจะเรียกเก็บค่าซ่อมส่วนที่เหลือจากม. ตามที่ม.ตกลงกับโจทก์ไว้โดยโจทก์ไม่ต้องชำระค่าซ่อมแก่จำเลยข้อตกลงดังกล่าวเป็นสัญญาอย่างหนึ่งผูกพันจำเลยต้องปฏิบัติตามเมื่อจำเลยไม่อาจเรียกค่าซ่อมจากม. ได้เนื่องจากม.ไม่ยอมชำระจำเลยย่อมไม่มีสิทธิย้อนกลับมาฟ้องเรียกค่าซ่อมส่วนที่เหลือดังกล่าวจากโจทก์อีกเพราะขัดต่อสัญญาที่จำเลยตกลงทำกับโจทก์ไว้โดยจำเลยรู้อยู่ก่อนแล้วว่าม. ต้องชำระค่าซ่อมแทนโจทก์โจทก์จึงไม่ต้องชำระค่าซ่อมดังกล่าวแก่จำเลย
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 2122/2540 เวอร์ชัน 2 คำพิพากษาฎีกานี้ มีเนื้อหาจากเว็บทางการหลายรูปแบบ
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
สัญญาว่าจ้างซ่อมรถยนต์: สิทธิหน้าที่คู่สัญญา, การรับภาระแทนกัน, และผลของการผิดสัญญา
ม.ขับรถยนต์โดยประมาทชนรถยนต์ของโจทก์ได้รับความเสียหายโดย ม. ยอมรับผิดต่อโจทก์ ต่อมาโจทก์และม.มาพบจำเลยที่อู่ของจำเลย เพื่อให้จำเลยประเมินค่าซ่อมรถยนต์ของโจทก์ จำเลยประเมินราคาค่าซ่อมและค่าอะไหล่รวม 100,000 บาท โจทก์และม.ตกลงค่าซ่อมและค่าอะไหล่ 70,000 บาทจำเลยตกลงรับจ้างซ่อมให้ข้อตกลงระหว่างโจทก์และม.มีเงื่อนไขตามที่ระบุไว้ในสัญญาว่า ม.ชำระค่าซ่อมในวันทำสัญญา 30,000 บาท ส่วนที่เหลือ 40,000 บาทจะนำมาชำระที่อู่ของจำเลยภายในวันที่ 30 มีนาคม 2536 หากผิดนัดยอมชำระค่าซ่อมและค่าอะไหล่ 100,000 บาท พร้อมดอกเบี้ยนับแต่วันผิดนัด โดยมีโจทก์และ ม. ลงชื่อเป็นคู่สัญญา จำเลยกับพ.ภริยาจำเลยลงชื่อเป็นพยาน ในวันเดียวกันนั้นโจทก์และจำเลยทำสัญญาว่าอู่ของจำเลยจะซ่อมรถยนต์ของโจทก์ให้เสร็จประมาณวันที่5 มีนาคม 2536 ได้รับชำระหนี้ล่วงหน้าแล้ว 30,000 บาทส่วนที่เหลือ 40,000 บาทผู้ซ่อมจะเรียกเก็บจาก ม. โดยค่าซ่อมส่วนนี้โจทก์ไม่มีส่วนเกี่ยวข้องด้วย โจทก์ลงชื่อในฐานะผู้ให้ซ่อมจำเลยลงชื่อในฐานะผู้ซ่อม แม้ตามสัญญาจะมิได้ระบุชัดว่าโจทก์หรือม.เป็นผู้ว่าจ้างจำเลย คงมีเงื่อนไขในข้อตกลงของโจทก์และม.ว่า ม. จะนำค่าซ่อมส่วนที่เหลือดังกล่าวแก่จำเลย เนื่องจากจำเลยเป็นเจ้าของอู่และยังเป็นเจ้าหนี้ในค่าซ่อมส่วนที่เหลือดังกล่าวด้วยแต่เงื่อนไขดังกล่าวยังไม่พอฟังว่าม.ว่าจ้างจำเลยซ่อมเพราะตามสัญญาดังกล่าวยังมิได้กำหนดเวลาซ่อมเสร็จอันเป็นข้อสาระสำคัญของสัญญาว่าจ้างซ่อม ทั้งเป็นเรื่องระหว่างโจทก์และ ม.ซึ่งเป็นคู่สัญญา จำเลยมิได้เป็นคู่สัญญาด้วย แต่กำหนดเวลาซ่อมแล้วเสร็จมาระบุในสัญญาเอกสารหมาย จ.5 โดยมีโจทก์และจำเลยเป็นคู่สัญญาทั้งการลงชื่อในสัญญาก็ได้ระบุว่าโจทก์ในฐานะผู้ให้ซ่อมจำเลยในฐานะผู้ซ่อม โจทก์จึงเป็นผู้ว่าจ้างจำเลยซ่อมรถยนต์ของโจทก์หาใช่ ม. ไม่ เมื่อจำเลยซ่อมรถยนต์ของโจทก์เสร็จ และม. ผิดนัด ไม่นำเงินค่าซ่อมส่วนที่เหลือมาชำระแก่จำเลยตามที่ตกลงกับโจทก์ใน โจทก์ก็ต้องเป็นผู้ชำระค่าซ่อมดังกล่าวแก่จำเลย แต่เมื่อจำเลยตกลงกับโจทก์ว่าจำเลยจะเป็นผู้เรียกเก็บค่าซ่อมส่วนที่เหลือ 40,000 บาทจาก ม. เองโดยโจทก์ไม่มีส่วนเกี่ยวข้องกับค่าซ่อมดังกล่าวแสดงว่าจำเลยซึ่งเป็นเจ้าหนี้ในค่าซ่อมดังกล่าวตกลงรับภาระแทนโจทก์โดยจะเรียกเก็บค่าซ่อมส่วนที่เหลือจาก ม. ตามที่ม.ตกลงกับโจทก์ไว้โดยโจทก์ไม่ต้องชำระค่าซ่อมแก่จำเลย ข้อตกลงดังกล่าวเป็นสัญญาอย่างหนึ่งผูกพันจำเลยต้องปฏิบัติตาม เมื่อจำเลยไม่อาจเรียกค่าซ่อมจาก ม. ได้เนื่องจาก ม.ไม่ยอมชำระ จำเลยย่อมไม่มีสิทธิย้อนกลับมาฟ้องเรียกค่าซ่อมส่วนที่เหลือดังกล่าวจากโจทก์อีกเพราะขัดต่อสัญญาที่จำเลยตกลงทำกับโจทก์ไว้โดยจำเลยรู้อยู่ก่อนแล้วว่า ม. ต้องชำระค่าซ่อมแทนโจทก์ โจทก์จึงไม่ต้องชำระค่าซ่อมดังกล่าวแก่จำเลย
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 2122/2540 เวอร์ชัน 3 คำพิพากษาฎีกานี้ มีเนื้อหาจากเว็บทางการหลายรูปแบบ
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
สัญญาว่าจ้างซ่อมรถยนต์: ผู้ว่าจ้างคือโจทก์ จำเลยรับภาระแทนลูกหนี้ โจทก์ไม่ต้องชำระหนี้
ม.ขับรถยนต์โดยประมาทชนรถยนต์ของโจทก์ได้รับความเสียหายโดย ม.ยอมรับผิดต่อโจทก์ ต่อมาโจทก์และ ม.มาพบจำเลยที่อู่ของจำเลย เพื่อให้จำเลยประเมินค่าซ่อมรถยนต์ของโจทก์ จำเลยประเมินราคาค่าซ่อมและค่าอะไหล่รวม 100,000 บาท โจทก์และ ม.ตกลงค่าซ่อมและค่าอะไหล่ 70,000 บาทจำเลยตกลงรับจ้างซ่อมให้ ข้อตกลงระหว่างโจทก์และ ม.มีเงื่อนไขตามที่ระบุไว้ในสัญญาว่า ม.ชำระค่าซ่อมในวันทำสัญญา 30,000 บาท ส่วนที่เหลือ 40,000 บาทจะนำมาชำระที่อู่ของจำเลยภายในวันที่ 30 มีนาคม 2536 หากผิดนัดยอมชำระค่าซ่อมและค่าอะไหล่ 100,000 บาท พร้อมดอกเบี้ยนับแต่วันผิดนัด โดยมีโจทก์และ ม.ลงชื่อเป็นคู่สัญญา จำเลยกับ พ.ภริยาจำเลยลงชื่อเป็นพยาน ในวันเดียวกันนั้นโจทก์และจำเลยทำสัญญาว่า อู่ของจำเลยจะซ่อมรถยนต์ของโจทก์ให้เสร็จประมาณวันที่ 5มีนาคม 2536 ได้รับชำระหนี้ล่วงหน้าแล้ว 30,000 บาท ส่วนที่เหลือ 40,000 บาทผู้ซ่อมจะเรียกเก็บจาก ม.โดยค่าซ่อมส่วนนี้โจทก์ไม่มีส่วนเกี่ยวข้องด้วย โจทก์ลงชื่อในฐานะผู้ให้ซ่อม จำเลยลงชื่อในฐานะผู้ซ่อม แม้ตามสัญญาจะมิได้ระบุชัดว่าโจทก์หรือม.เป็นผู้ว่าจ้างจำเลย คงมีเงื่อนไขในข้อตกลงของโจทก์และ ม.ว่า ม.จะนำค่าซ่อมส่วนที่เหลือดังกล่าวแก่จำเลย เนื่องจากจำเลยเป็นเจ้าของอู่และยังเป็นเจ้าหนี้ในค่าซ่อมส่วนที่เหลือดังกล่าวด้วย แต่เงื่อนไขดังกล่าวยังไม่พอฟังว่า ม.ว่าจ้างจำเลยซ่อมเพราะตามสัญญาดังกล่าวยังมิได้กำหนดเวลาซ่อมเสร็จอันเป็นข้อสาระสำคัญของสัญญาว่าจ้างซ่อม ทั้งเป็นเรื่องระหว่างโจทก์และ ม.ซึ่งเป็นคู่สัญญา จำเลยมิได้เป็นคู่สัญญาด้วย แต่กำหนดเวลาซ่อมแล้วเสร็จมาระบุในสัญญาเอกสารหมาย จ.5 โดยมีโจทก์และจำเลยเป็นคู่สัญญา ทั้งการลงชื่อในสัญญาก็ได้ระบุว่าโจทก์ในฐานะผู้ให้ซ่อมจำเลยในฐานะผู้ซ่อม โจทก์จึงเป็นผู้ว่าจ้างจำเลยซ่อมรถยนต์ของโจทก์ หาใช่ ม.ไม่
เมื่อจำเลยซ่อมรถยนต์ของโจทก์เสร็จ และ ม.ผิดนัด ไม่นำเงินค่าซ่อมส่วนที่เหลือมาชำระแก่จำเลยตามที่ตกลงกับโจทก์ใน โจทก์ก็ต้องเป็นผู้ชำระค่าซ่อมดังกล่าวแก่จำเลย แต่เมื่อจำเลยตกลงกับโจทก์ว่าจำเลยจะเป็นผู้เรียกเก็บค่าซ่อมส่วนที่เหลือ 40,000 บาท จาก ม.เองโดยโจทก์ไม่มีส่วนเกี่ยวข้องกับค่าซ่อมดังกล่าว แสดงว่าจำเลยซึ่งเป็นเจ้าหนี้ในค่าซ่อมดังกล่าวตกลงรับภาระแทนโจทก์ โดยจะเรียกเก็บค่าซ่อมส่วนที่เหลือจาก ม.ตามที่ ม.ตกลงกับโจทก์ไว้โดยโจทก์ไม่ต้องชำระค่าซ่อมแก่จำเลย ข้อตกลงดังกล่าวเป็นสัญญาอย่างหนึ่งผูกพันจำเลยต้องปฏิบัติตาม เมื่อจำเลยไม่อาจเรียกค่าซ่อมจาก ม.ได้เนื่องจาก ม.ไม่ยอมชำระ จำเลยย่อมไม่มีสิทธิย้อนกลับมาฟ้องเรียกค่าซ่อมส่วนที่เหลือดังกล่าวจากโจทก์อีกเพราะขัดต่อสัญญาที่จำเลยตกลงทำกับโจทก์ไว้โดยจำเลยรู้อยู่ก่อนแล้วว่า ม.ต้องชำระค่าซ่อมแทนโจทก์ โจทก์จึงไม่ต้องชำระค่าซ่อมดังกล่าวแก่จำเลย
เมื่อจำเลยซ่อมรถยนต์ของโจทก์เสร็จ และ ม.ผิดนัด ไม่นำเงินค่าซ่อมส่วนที่เหลือมาชำระแก่จำเลยตามที่ตกลงกับโจทก์ใน โจทก์ก็ต้องเป็นผู้ชำระค่าซ่อมดังกล่าวแก่จำเลย แต่เมื่อจำเลยตกลงกับโจทก์ว่าจำเลยจะเป็นผู้เรียกเก็บค่าซ่อมส่วนที่เหลือ 40,000 บาท จาก ม.เองโดยโจทก์ไม่มีส่วนเกี่ยวข้องกับค่าซ่อมดังกล่าว แสดงว่าจำเลยซึ่งเป็นเจ้าหนี้ในค่าซ่อมดังกล่าวตกลงรับภาระแทนโจทก์ โดยจะเรียกเก็บค่าซ่อมส่วนที่เหลือจาก ม.ตามที่ ม.ตกลงกับโจทก์ไว้โดยโจทก์ไม่ต้องชำระค่าซ่อมแก่จำเลย ข้อตกลงดังกล่าวเป็นสัญญาอย่างหนึ่งผูกพันจำเลยต้องปฏิบัติตาม เมื่อจำเลยไม่อาจเรียกค่าซ่อมจาก ม.ได้เนื่องจาก ม.ไม่ยอมชำระ จำเลยย่อมไม่มีสิทธิย้อนกลับมาฟ้องเรียกค่าซ่อมส่วนที่เหลือดังกล่าวจากโจทก์อีกเพราะขัดต่อสัญญาที่จำเลยตกลงทำกับโจทก์ไว้โดยจำเลยรู้อยู่ก่อนแล้วว่า ม.ต้องชำระค่าซ่อมแทนโจทก์ โจทก์จึงไม่ต้องชำระค่าซ่อมดังกล่าวแก่จำเลย
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 2188/2531
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
สัญญาจ้างต่อเนื่อง/ขาดช่วง, การเลิกจ้าง, สิทธิค่าชดเชยและสินจ้างแทนการบอกกล่าวล่วงหน้า
เมื่อระยะเวลาตามสัญญาจ้างสิ้นสุดลงแต่จำเลยมิได้เลิกจ้างโจทก์คงจ้าง ต่อมาอีก กรณีต้องถือว่าจำเลยจ้างโจทก์ต่อไปใหม่ โดยความอย่างเดียวกันกับสัญญาเดิมคู่สัญญาฝ่ายใดฝ่ายหนึ่งอาจจะบอกเลิกสัญญาเสียได้ด้วยการบอกกล่าวตามประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ มาตรา 581 จำเลยเลิกจ้างโจทก์เพราะจำเลยมีปัญหาด้านการเงินดังนี้เป็นการเลิกจ้างโจทก์โดยไม่มีความผิด และไม่บอกกล่าวล่วงหน้า จำเลยจึงต้องจ่ายสินจ้างแทนการบอกกล่าวล่วงหน้าและค่าชดเชยแก่โจทก์ สัญญาจ้างที่มีระยะเวลาการจ้างขาดช่วงไม่ต่อเนื่องกันต้องถือว่าจำเลยจ้างโจทก์ตามกำหนดระยะเวลาการจ้างของสัญญาแต่ละฉบับ ปัญหาว่าสัญญาจ้างเป็นการจ้างที่มีกำหนดระยะเวลาการจ้างไว้แน่นอนหรือไม่เป็นปัญหาข้อกฎหมาย
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 1692/2503
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
บุริมสิทธิผู้ให้เช่า: สังหาริมทรัพย์เข้ามาด้วยความรู้เห็นของผู้เช่าเพียงพอ
บุริมสิทธิของผู้ให้เช่าเรือนโรงเหนือสังหาริมทรัพย์ตามประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ มาตรา 261 วรรคสองนั้นผู้เช่าไม่จำต้องเอาสังหาริมทรัพย์นั้นเข้ามาด้วยตนเองแต่หมายถึงสังหาริมทรัพย์นั้นได้เข้ามาอยู่ในเรือนโรงด้วยความรู้เห็นของผู้เช่า
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 1692/2503 เวอร์ชัน 2 คำพิพากษาฎีกานี้ มีเนื้อหาจากเว็บทางการหลายรูปแบบ
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
บุริมสิทธิผู้ให้เช่า: สังหาริมทรัพย์เข้ามาด้วยความรู้เห็นของผู้เช่าเพียงพอ
บุริมสิทธิของผู้ให้เช่า เรือนโรงเหนือสังหาริมทรัพย์ตามประมวลกฎหมายอาญา มาตรา 261 วรรค 2 นั้น ผู้เช่าไม่จำต้องเอาสังหาริมทรัพย์นั้นเข้ามาด้วยตนเอง แต่หมายถึงสังหาริมทรัพย์นั้นได้เข้ามาอยู่ในเรือนโรงด้วยความรู้เห็นของผู้เช่า