พบผลลัพธ์ทั้งหมด 253 รายการ
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 928/2517 เวอร์ชัน 2 คำพิพากษาฎีกานี้ มีเนื้อหาจากเว็บทางการหลายรูปแบบ
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
การเพิ่มโทษผู้กระทำผิดซ้ำตามพ.ร.บ.ฝิ่น: ศาลชอบวางโทษทั้งจำและปรับตามเจตนารมณ์ของกฎหมาย แม้กฎหมายไม่ได้กำหนดชัดเจน
มาตรา 68 พระราชบัญญัติฝิ่น พ.ศ. 2472 เป็นบทเพิ่มโทษซึ่งกฎหมายได้บัญญัติไว้โดยเฉพาะสำหรับผู้กระทำผิดพระราชบัญญัติฝิ่นซ้ำอีก หลังจากพ้นโทษในการกระทำผิดครั้งแรกไปยังไม่ครบสามปีแสดงว่าไม่เข็ดหลาบ จึงต้องเพิ่มโทษให้หนักกว่าโทษที่ลงในการกระทำความผิดครั้งแรก และเมื่อศาลได้เพิ่มโทษตามพระราชบัญญัติฝิ่นแล้ว จะเพิ่มโทษตามประมวลกฎหมายอาญาด้วยอันเป็นการเพิ่มโทษจำเลยถึงสองทางหาได้ไม่
การเพิ่มโทษตามมาตรา 68 พระราชบัญญัติฝิ่น พ.ศ. 2472 แม้จะมิได้บัญญัติให้วางโทษสำหรับการกระทำผิดครั้งหลังที่มีโทษจำคุกและปรับไว้ ศาลก็ชอบที่จะวางโทษทั้งจำทั้งปรับ จึงจะต้องด้วยเจตนารมณ์ของกฎหมาย
การเพิ่มโทษตามมาตรา 68 พระราชบัญญัติฝิ่น พ.ศ. 2472 แม้จะมิได้บัญญัติให้วางโทษสำหรับการกระทำผิดครั้งหลังที่มีโทษจำคุกและปรับไว้ ศาลก็ชอบที่จะวางโทษทั้งจำทั้งปรับ จึงจะต้องด้วยเจตนารมณ์ของกฎหมาย
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 921/2517 เวอร์ชัน 2 คำพิพากษาฎีกานี้ มีเนื้อหาจากเว็บทางการหลายรูปแบบ
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
อำนาจศาลและการอุทธรณ์คำสั่งระหว่างพิจารณา กรณีคดีอาญาอยู่ในอำนาจศาลทหารหรือไม่
โจทก์ฟ้องจำเลยต่อศาลอาญาขอให้ลงโทษตามประมวลกฎหมายอาญา มาตรา 309 และ 337 ศาลอาญาสั่งประทับฟ้องโจทก์ จำเลยยื่นคำให้การตัดฟ้องว่าโจทก์ไม่มีอำนาจฟ้อง เพราะคดีอยู่ในอำนาจศาลทหารตามประกาศของคณะปฏิวัติ ศาลอาญาสั่งว่า กรณีไม่ต้องด้วยประกาศของคณะปฏิวัติ คำสั่งเช่นนี้ไม่ใช่คำสั่งในประเด็นสำคัญแห่งคดีที่ว่าจำเลยได้กระทำความผิดตามฟ้องหรือไม่ เพียงแต่ให้นัดสืบพยานโจทก์เพื่อเริ่มการพิจารณาเท่านั้น จึงต้องห้ามมิให้อุทธรณ์ตามประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความอาญา มาตรา 196
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 921/2517
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
อำนาจศาล: คำสั่งศาลชั้นต้นเรื่องอำนาจฟ้องไม่ใช่คำสั่งระหว่างพิจารณาที่อุทธรณ์ไม่ได้
โจทก์ฟ้องจำเลยต่อศาลอาญาขอให้ลงโทษตามประมวลกฎหมายอาญามาตรา 309 และ 337 ศาลอาญาสั่งประทับฟ้องโจทก์ จำเลยยื่นคำให้การตัดฟ้องว่าโจทก์ไม่มีอำนาจฟ้อง เพราะคดีอยู่ในอำนาจศาลทหารตามประกาศของคณะปฏิวัติ ศาลอาญาสั่งว่า กรณีไม่ต้องด้วยประกาศของคณะปฏิวัติ คำสั่งเช่นนี้ไม่ใช่คำสั่งในประเด็นสำคัญแห่งคดีที่ว่าจำเลยได้กระทำความผิดตามฟ้องหรือไม่ เพียงแต่ให้นัดสืบพยานโจทก์เพื่อเริ่มการพิจารณาเท่านั้น จึงต้องห้ามมิให้อุทธรณ์ตามประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความอาญา มาตรา 196
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 880/2517
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
ฟ้องไม่สมบูรณ์ขาดการอ้างบทลงโทษฐานเสพยาเสพติด ศาลไม่สามารถลงโทษได้
ฟ้องหาว่าจำเลยกระทำผิด 2 ฐาน คือฐานมีเฮโรอีนผิดกฎหมาย กับฐานเสพเฮโรอีน แต่คำขอท้ายฟ้องโจทก์อ้างบทมาตราที่ขอให้ลงโทษฐานมีเฮโรอีนผิดกฎหมาย มิได้อ้างมาตรา 8 แห่งพระราชบัญญัติยาเสพติดให้โทษ (ฉบับที่ 4) พ.ศ. 2504 ซึ่งเป็นบทลงโทษฐานเสพเฮโรอีนด้วย ฟ้องของโจทก์ฐานเสพเฮโรอีนจึงขาดการอ้างมาตราในกฎหมายซึ่งบัญญัติว่าการกระทำเช่นนั้นเป็นความผิด ตามที่บัญญัติไว้ในประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความอาญา มาตรา 158(6)จึงเป็นฟ้องที่ไม่สมบูรณ์สำหรับการกระทำความผิดฐานนี้ ลงโทษจำเลยฐานเสพเฮโรอีนด้วยไม่ได้
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 880/2517 เวอร์ชัน 2 คำพิพากษาฎีกานี้ มีเนื้อหาจากเว็บทางการหลายรูปแบบ
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
ฟ้องอาญาไม่สมบูรณ์เมื่อไม่ระบุบทลงโทษฐานเสพยาเสพติด แม้มีหลักฐานแสดงเจตนา
ฟ้องหาว่าจำเลยกระทำผิด 2 ฐาน คือฐานมีเฮโรอีนผิดกฎหมายกับฐานเสพเฮโรอีน แต่คำขอท้ายฟ้องโจทก์อ้างบทมาตราที่ขอให้ลงโทษฐานมีเฮโรอีนผิดกฎหมายมิได้อ้างมาตรา 8 แห่งพระราชบัญญัติยาเสพติดให้โทษ (ฉบับที่ 4) พ.ศ. 2504 ซึ่งเป็นบทลงโทษฐานเสพเฮโรอีนด้วย ฟ้องของโจทก์ฐานเสพเฮโรอีนจึงขาดการอ้างมาตราในกฎหมายซึ่งบัญญัติว่าการกระทำเช่นนั้นเป็นความผิด ตามที่บัญญัติไว้ในประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความอาญา มาตรา 158(6) จึงเป็นฟ้องที่ไม่สมบูรณ์สำหรับการกระทำความผิดฐานนี้ ลงโทษจำเลยฐานเสพเฮโรอีนด้วยไม่ได้
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 879/2517 เวอร์ชัน 2 คำพิพากษาฎีกานี้ มีเนื้อหาจากเว็บทางการหลายรูปแบบ
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
สิทธิในเหมืองฝายส่วนบุคคล: การถมเหมืองโดยไม่เปลี่ยนประเภทการชลประทานเป็นละเมิด
พระราชบัญญัติการชลประทานราษฎร์ พ.ศ. 2482 มาตรา 11 ให้อำนาจผู้ว่าราชการจังหวัดประกาศกำหนดเขตการชลประทานส่วนราษฎรได้ แต่อำนาจสั่งเปลี่ยนประเภทการชลประทานส่วนบุคคลเป็นการชลประทานส่วนราษฎรจะต้องปฏิบัติตามมาตรา 9 วรรคสอง
โจทก์ได้รับโอนสิทธิในเหมืองฝาย ซึ่งเป็นการชลประทานส่วนบุคคลมาแล้วไม่น้อยกว่า 10 ปี จากมารดา แม้ต่อมาผู้ว่าราชการจังหวัดได้ออกประกาศโดยอาศัยอำนาจตามมาตรา 11 กำหนดเขตการชลประทานส่วนราษฎร มีตำบลของเหมืองฝายของโจทก์รวมอยู่ด้วย แต่ไม่ปรากฏว่าได้มีการสั่งเปลี่ยนแปลงประเภทการชลประทานส่วนบุคคลของโจทก์เป็นการชลประทานส่วนราษฎรเมื่อจำเลยถมเหมืองแล้วปลูกข้าวบนดินที่ถม โจทก์จึงเป็นผู้เสียหาย มีอำนาจฟ้องขอให้ลงโทษตามประมวลกฎหมายอาญา มาตรา 358 และ 362
โจทก์ได้รับโอนสิทธิในเหมืองฝาย ซึ่งเป็นการชลประทานส่วนบุคคลมาแล้วไม่น้อยกว่า 10 ปี จากมารดา แม้ต่อมาผู้ว่าราชการจังหวัดได้ออกประกาศโดยอาศัยอำนาจตามมาตรา 11 กำหนดเขตการชลประทานส่วนราษฎร มีตำบลของเหมืองฝายของโจทก์รวมอยู่ด้วย แต่ไม่ปรากฏว่าได้มีการสั่งเปลี่ยนแปลงประเภทการชลประทานส่วนบุคคลของโจทก์เป็นการชลประทานส่วนราษฎรเมื่อจำเลยถมเหมืองแล้วปลูกข้าวบนดินที่ถม โจทก์จึงเป็นผู้เสียหาย มีอำนาจฟ้องขอให้ลงโทษตามประมวลกฎหมายอาญา มาตรา 358 และ 362
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 879/2517
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
สิทธิในเหมืองฝายส่วนบุคคลและการชลประทานราษฎร ผู้ว่าฯ ไม่มีอำนาจเปลี่ยนประเภทโดยไม่สั่งการ
พระราชบัญญัติการชลประทานราษฎร์ พ.ศ. 2482 มาตรา 11ให้อำนาจผู้ว่าราชการจังหวัดประกาศกำหนดเขตการชลประทานส่วนราษฎรได้แต่อำนาจสั่งเปลี่ยนประเภทการชลประทานส่วนบุคคลเป็นการชลประทานส่วนราษฎรจะต้องปฏิบัติตามมาตรา 9 วรรคสอง
โจทก์ได้รับโอนสิทธิในเหมืองฝายซึ่งเป็นการชลประทานส่วนบุคคลมาแล้วไม่น้อยกว่า 10 ปี จากมารดา แม้ต่อมาผู้ว่าราชการจังหวัดได้ออกประกาศโดยอาศัยอำนาจตามมาตรา 11 กำหนดเขตการชลประทานส่วนราษฎร มีตำบลของเหมืองฝายของโจทก์รวมอยู่ด้วยแต่ไม่ปรากฏว่าได้มีการสั่งเปลี่ยนแปลงประเภทการชลประทานส่วนบุคคลของโจทก์เป็นการชลประทานส่วนราษฎรเมื่อจำเลยถมเหมืองแล้วปลูกข้าวบนดินที่ถม โจทก์จึงเป็นผู้เสียหาย มีอำนาจฟ้องขอให้ลงโทษตามประมวลกฎหมายอาญา มาตรา 358 และ 362
โจทก์ได้รับโอนสิทธิในเหมืองฝายซึ่งเป็นการชลประทานส่วนบุคคลมาแล้วไม่น้อยกว่า 10 ปี จากมารดา แม้ต่อมาผู้ว่าราชการจังหวัดได้ออกประกาศโดยอาศัยอำนาจตามมาตรา 11 กำหนดเขตการชลประทานส่วนราษฎร มีตำบลของเหมืองฝายของโจทก์รวมอยู่ด้วยแต่ไม่ปรากฏว่าได้มีการสั่งเปลี่ยนแปลงประเภทการชลประทานส่วนบุคคลของโจทก์เป็นการชลประทานส่วนราษฎรเมื่อจำเลยถมเหมืองแล้วปลูกข้าวบนดินที่ถม โจทก์จึงเป็นผู้เสียหาย มีอำนาจฟ้องขอให้ลงโทษตามประมวลกฎหมายอาญา มาตรา 358 และ 362
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 766/2517 เวอร์ชัน 2 คำพิพากษาฎีกานี้ มีเนื้อหาจากเว็บทางการหลายรูปแบบ
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
จำหน่ายยาเสพติด การมีอำนาจศาล และการลงโทษตามกฎหมายยาเสพติด
จำเลยมีเฮโรอีนไฮโดรคลอไรด์และมอร์ฟีนไว้เพื่อจำหน่ายย่อมมีความผิดตามพระราชบัญญัติยาเสพติดให้โทษ พ.ศ. 2465มาตรา 20 ทวิ วรรค 2 และวรรค 3 พระราชบัญญัติยาเสพติดให้โทษ (ฉบับที่ 4) พ.ศ. 2504 มาตรา 6 ความผิดตามวรรค 3 เป็นกระทงหนักที่สุด
จำเลยกระทำความผิดต่อ พระราชบัญญัติยาเสพติดให้โทษเมื่อวันที่ 24 กันยายน 2514 ศาลจังหวัดเชียงใหม่มีอำนาจพิจารณาพิพากษา เพราะได้มีประกาศพระบรมราชโองการเลิกใช้กฎอัยการศึกในจังหวัดเชียงใหม่ตั้งแต่วันที่ 25 พฤษภาคม 2514 เวลา 6.00 นาฬิกาแล้ว
จำเลยกระทำความผิดต่อ พระราชบัญญัติยาเสพติดให้โทษเมื่อวันที่ 24 กันยายน 2514 ศาลจังหวัดเชียงใหม่มีอำนาจพิจารณาพิพากษา เพราะได้มีประกาศพระบรมราชโองการเลิกใช้กฎอัยการศึกในจังหวัดเชียงใหม่ตั้งแต่วันที่ 25 พฤษภาคม 2514 เวลา 6.00 นาฬิกาแล้ว
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 766/2517
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
จำหน่ายยาเสพติดเพื่อจำหน่าย ศาลพิพากษาลงโทษตาม พ.ร.บ.ยาเสพติด และวินิจฉัยอำนาจศาล
จำเลยมีเฮโรอีนไฮโดรคลอไรด์และมอร์ฟีนไว้เพื่อจำหน่าย ย่อมมีความผิดตามพระราชบัญญัติยาเสพติดให้โทษ พ.ศ. 2465 มาตรา 20ทวิ วรรคสอง และวรรคสาม พระราชบัญญัติยาเสพติดให้โทษ(ฉบับที่ 4) พ.ศ. 2504 มาตรา 6 ความผิดตามวรรคสามเป็นกระทงหนักที่สุด
จำเลยกระทำความผิดต่อ พระราชบัญญัติยาเสพติดให้โทษเมื่อวันที่24 กันยายน 2514 ศาลจังหวัดเชียงใหม่มีอำนาจพิจารณาพิพากษาเพราะได้มีประกาศพระบรมราชโองการเลิกใช้กฎอัยการศึกในจังหวัดเชียงใหม่ตั้งแต่วันที่ 25 พฤษภาคม 2514 เวลา 6.00 นาฬิกาแล้ว
จำเลยกระทำความผิดต่อ พระราชบัญญัติยาเสพติดให้โทษเมื่อวันที่24 กันยายน 2514 ศาลจังหวัดเชียงใหม่มีอำนาจพิจารณาพิพากษาเพราะได้มีประกาศพระบรมราชโองการเลิกใช้กฎอัยการศึกในจังหวัดเชียงใหม่ตั้งแต่วันที่ 25 พฤษภาคม 2514 เวลา 6.00 นาฬิกาแล้ว
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 713/2517
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
อำนาจฟ้องของผู้รับบุตรบุญธรรม: ผู้รับบุตรบุญธรรมมีอำนาจฟ้องแทนผู้เยาว์ที่ถูกละเมิด แม้ไม่ได้เรียกร้องมรดก
ขณะที่ผู้ตายถูกทำละเมิดถึงตาย ผู้ตายเป็นบุตรบุญธรรมของโจทก์ที่ 2 และผู้ตายยังเป็นผู้เยาว์อยู่ โจทก์ที่ 2 ผู้รับบุตรบุญธรรมเป็นผู้ใช้อำนาจปกครอง ย่อมมีอำนาจฟ้องผู้ทำละเมิดได้