พบผลลัพธ์ทั้งหมด 317 รายการ
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 1283/2526
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
การเก็บรักษาบัญชีและเอกสารที่สถานการค้า การประเมินภาษีเมื่อบัญชีถูกทำลาย และความรับผิดจากความผิดตามกฎหมายภาษีอากร
มาตรา 77 แห่งประมวลรัษฎากรบัญญัติว่า สถานการค้าหมายความว่าสถานที่ซึ่งผู้ประกอบการค้าใช้ประกอบการค้าเป็นประจำ และให้หมายความรวมถึงสถานที่ซึ่งใช้เป็นที่ทำการผลิตหรือเก็บสินค้าเป็นประจำด้วย โจทก์ประกอบการค้าและเก็บสินค้าไว้ที่สำนักงานห้างโจทก์ เพียงแต่เก็บบัญชีและเอกสารประกอบการลงบัญชีไว้ที่บ้านเลขที่ 137 เท่านั้น จึงถือไม่ได้ว่าบ้านเลขที่ 137 เป็นสถานการค้าหรือส่วนหนึ่งของสถานการค้าของโจทก์ โจทก์มีหน้าที่ตามกฎหมายต้องเก็บรักษาบัญชีและเอกสารประกอบการลงบัญชีไว้ณสถานการค้าของตน แต่กลับกระทำการฝ่าฝืนกฎหมายโดยนำสมุดบัญชีและเอกสารประกอบการลงบัญชีไปเก็บไว้ที่อื่นอันมิใช่สถานการค้าของโจทก์ ต่อมาเกิดเพลิงไหม้สมุดบัญชีและเอกสารประกอบการลงบัญชี แม้โจทก์มิได้เป็นผู้กระทำก็ตาม โจทก์ย่อมอ้างเอาเหตุที่บัญชีและเอกสารประกอบการลงบัญชีของโจทก์ถูกเพลิงไหม้อันสืบเนื่องมาจากที่โจทก์กระทำการฝ่าฝืนกฎหมายมาเป็นเหตุสุดวิสัยที่ไม่อาจส่งบัญชีและเอกสารให้เจ้าพนักงานประเมินตรวจสอบตามหมายเรียกหาได้ไม่ (วรรคนี้วินิจฉัยโดยมติที่ประชุมใหญ่ครั้งที่2/2526)
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 1283/2526 เวอร์ชัน 2 คำพิพากษาฎีกานี้ มีเนื้อหาจากเว็บทางการหลายรูปแบบ
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
การเก็บรักษาบัญชีและเอกสารประกอบการลงบัญชีต้องกระทำ ณ สถานการค้า การฝ่าฝืนถือเป็นเหตุไม่อาจอ้างเหตุสุดวิสัยได้
มาตรา 77 แห่งประมวลรัษฎากรบัญญัติว่า สถานการค้าหมายความว่าสถานที่ซึ่งผู้ประกอบการค้าใช้ประกอบการค้าเป็นประจำ และให้หมายความรวมถึงสถานที่ซึ่งใช้เป็นที่ทำการผลิตหรือเก็บสินค้าเป็นประจำด้วย โจทก์ประกอบการค้าและเก็บสินค้าไว้ที่สำนักงานห้างโจทก์ เพียงแต่เก็บบัญชีและเอกสารประกอบการลงบัญชีไว้ที่บ้านเลขที่ 137 เท่านั้น จึงถือไม่ได้ว่าบ้านเลขที่ 137 เป็นสถานการค้าหรือส่วนหนึ่งของสถานการค้าของโจทก์
โจทก์มีหน้าที่ตามกฎหมายต้องเก็บรักษาบัญชีและเอกสารประกอบการลงบัญชีไว้ ณ สถานการค้าของตน แต่กลับกระทำการฝ่าฝืนกฎหมายโดยนำสมุดบัญชีและเอกสารประกอบการลงบัญชีไปเก็บไว้ที่อื่นอันมิใช่สถานการค้าของโจทก์ ต่อมาเกิดเพลิงไหม้สมุดบัญชีและเอกสารประกอบการลงบัญชี แม้โจทก์มิได้เป็นผู้กระทำก็ตาม โจทก์ย่อมอ้างเอาเหตุที่บัญชีและเอกสารประกอบการลงบัญชีของโจทก์ถูกเพลิงไหม้อันสืบเนื่องมาจากที่โจทก์กระทำการฝ่าฝืนกฎหมายมาเป็นเหตุสุดวิสัยที่ไม่อาจส่งบัญชีและเอกสารให้เจ้าพนักงานประเมินตรวจสอบตามหมายเรียกหาได้ไม่ (วรรคนี้วินิจฉัยโดยมติที่ประชุมใหญ่ครั้งที่ 2/2526)
โจทก์มีหน้าที่ตามกฎหมายต้องเก็บรักษาบัญชีและเอกสารประกอบการลงบัญชีไว้ ณ สถานการค้าของตน แต่กลับกระทำการฝ่าฝืนกฎหมายโดยนำสมุดบัญชีและเอกสารประกอบการลงบัญชีไปเก็บไว้ที่อื่นอันมิใช่สถานการค้าของโจทก์ ต่อมาเกิดเพลิงไหม้สมุดบัญชีและเอกสารประกอบการลงบัญชี แม้โจทก์มิได้เป็นผู้กระทำก็ตาม โจทก์ย่อมอ้างเอาเหตุที่บัญชีและเอกสารประกอบการลงบัญชีของโจทก์ถูกเพลิงไหม้อันสืบเนื่องมาจากที่โจทก์กระทำการฝ่าฝืนกฎหมายมาเป็นเหตุสุดวิสัยที่ไม่อาจส่งบัญชีและเอกสารให้เจ้าพนักงานประเมินตรวจสอบตามหมายเรียกหาได้ไม่ (วรรคนี้วินิจฉัยโดยมติที่ประชุมใหญ่ครั้งที่ 2/2526)
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 1266/2526
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
ผิดสัญญาซื้อขายที่ดินจากผู้ซื้อ ศาลไม่รับฟังการปฏิบัติตามสัญญาภายหลังผิดสัญญา และไม่อ้างเหตุอื่นนอกฟ้อง
โจทก์ไม่นำเงินค่าที่ดินไปสำนักงานที่ดินเพื่อชำระให้จำเลย ทั้งๆ ที่จำเลยพร้อมที่จะโอนที่ดินให้โจทก์โจทก์จึงเป็นผู้ผิดสัญญาจะซื้อจะขาย แม้ต่อมาโจทก์จะนัดให้จำเลยไปรับเงินและโอนที่ดินใหม่ ก็เป็นกรณีโจทก์ขอปฏิบัติตามสัญญาภายหลังโจทก์ผิดสัญญาแล้ว จำเลยย่อมมีสิทธิที่จะปฏิเสธไม่ไปรับเงินและโอนที่ดินให้โจทก์ได้
ฎีกาในปัญหาที่มิได้ยกขึ้นว่ากล่าวกันมาในชั้นอุทธรณ์ ศาลฎีกาไม่รับวินิจฉัยให้
โจทก์ฎีกาว่าจำเลยผิดสัญญาโดยอ้างเหตุนอกเหนือจากที่ปรากฏในคำฟ้องจึงเป็นฎีกาที่นอกฟ้องนอกประเด็น ศาลฎีกาไม่รับวินิจฉัย
เมื่อโจทก์เป็นผู้ผิดสัญญาจะซื้อจะขายแต่เพียงฝ่ายเดียวโจทก์ย่อมไม่มีสิทธิบังคับให้จำเลยปฏิบัติตามสัญญาและไม่มีสิทธิเรียกค่าเสียหาย
ฎีกาในปัญหาที่มิได้ยกขึ้นว่ากล่าวกันมาในชั้นอุทธรณ์ ศาลฎีกาไม่รับวินิจฉัยให้
โจทก์ฎีกาว่าจำเลยผิดสัญญาโดยอ้างเหตุนอกเหนือจากที่ปรากฏในคำฟ้องจึงเป็นฎีกาที่นอกฟ้องนอกประเด็น ศาลฎีกาไม่รับวินิจฉัย
เมื่อโจทก์เป็นผู้ผิดสัญญาจะซื้อจะขายแต่เพียงฝ่ายเดียวโจทก์ย่อมไม่มีสิทธิบังคับให้จำเลยปฏิบัติตามสัญญาและไม่มีสิทธิเรียกค่าเสียหาย
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 1266/2526 เวอร์ชัน 2 คำพิพากษาฎีกานี้ มีเนื้อหาจากเว็บทางการหลายรูปแบบ
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
ผู้ซื้อผิดสัญญาซื้อขายที่ดิน จำเลยมีสิทธิปฏิเสธการโอนและไม่ต้องรับผิด
โจทก์ไม่นำเงินค่าที่ดินไปสำนักงานที่ดินเพื่อชำระให้จำเลย ทั้ง ๆ ที่จำเลยพร้อมที่จะโอนที่ดินให้โจทก์ โจทก์จึงเป็นผู้ผิดสัญญาจะซื้อจะขาย แม้ต่อมาโจทก์จะนัดให้จำเลยไปรับเงินและโอนที่ดินใหม่ ก็เป็นกรณีโจทก์ขอปฏิบัติตามสัญญาภายหลังโจทก์ผิดสัญญาแล้ว จำเลยย่อมมีสิทธิที่จะปฏิเสธไม่ไปรับเงินและโอนที่ดินให้โจทก์ได้
ฎีกาในปัญหาที่มิได้ยกขึ้นว่ากล่าวกันมาในชั้นอุทธรณ์ ศาลฎีกาไม่รับวินิจฉัยให้
โจทก์ฎีกาว่าจำเลยผิดสัญญาโดยอ้างเหตุนอกเหนือจากที่ปรากฏในคำฟ้องจึงเป็นฎีกาที่นอกฟ้องนอกประเด็น ศาลฎีกาไม่รับวินิจฉัย
เมื่อโจทก์เป็นผู้ผิดสัญญาจะซื้อจะขายแต่เพียงฝ่ายเดียว โจทก์ย่อมไม่มีสิทธิบังคับให้จำเลยปฏิบัติตามสัญญาและไม่มีสิทธิเรียกค่าเสียหาย
ฎีกาในปัญหาที่มิได้ยกขึ้นว่ากล่าวกันมาในชั้นอุทธรณ์ ศาลฎีกาไม่รับวินิจฉัยให้
โจทก์ฎีกาว่าจำเลยผิดสัญญาโดยอ้างเหตุนอกเหนือจากที่ปรากฏในคำฟ้องจึงเป็นฎีกาที่นอกฟ้องนอกประเด็น ศาลฎีกาไม่รับวินิจฉัย
เมื่อโจทก์เป็นผู้ผิดสัญญาจะซื้อจะขายแต่เพียงฝ่ายเดียว โจทก์ย่อมไม่มีสิทธิบังคับให้จำเลยปฏิบัติตามสัญญาและไม่มีสิทธิเรียกค่าเสียหาย
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 1264/2526
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
นิติกรรมอำพราง ตัวแทน และความรับผิดชอบในสัญญา การกระทำของตัวแทนผูกพันหลักทรัพย์
ห้างจำเลยที่ 1 โดยจำเลยที่ 2 หุ้นส่วนผู้จัดการได้ทำหนังสือมอบอำนาจให้จำเลยที่ 3 เป็นตัวแทนไปประมูลและทำการก่อสร้างอาคาร เมื่อจำเลยที่ 3 ว่าจ้างโจทก์ติดตั้งกระจกและบานประตูจนโจทก์ทำให้เสร็จเรียบร้อยแล้ว ห้างจำเลยที่ 1 จึงต้องรับผิดชำระค่าจ้างให้แก่โจทก์ตามประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ มาตรา 820 และจำเลยที่ 2ต้องรับผิดร่วมด้วยตามมาตรา 1077(2) ประกอบด้วยมาตรา1087
ที่จำเลยที่ 1 ที่ 2 ฎีกาว่า หนังสือมอบอำนาจหมายจ.3 เป็นเรื่องที่ห้างจำเลยที่ 1 ให้จำเลยที่ 3ยืมชื่อไปใช้ประมูลและทำการก่อสร้างอาคารโดยจำเลยที่ 3เข้าทำการก่อสร้างเอง จึงเป็นนิติกรรมอำพรางนั้น จำเลยที่ 1 ที่ 2 มิได้ให้การต่อสู้ว่าโจทก์ได้ล่วงรู้ถึงข้อเท็จจริงดังกล่าวอันเป็นการไม่สุจริต แต่อย่างใด ข้ออ้างของจำเลยที่ 1 ที่ 2 ดังกล่าวจึงยกขึ้นเป็นข้อต่อสู้โจทก์ซึ่งเป็นบุคคลภายนอกผู้ทำการโดยสุจริตและต้องได้รับความเสียหายไม่ได้ ตามประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ มาตรา118 วรรคแรก
ปรากฏตามคำฟ้องและทางพิจารณาว่า จำเลยที่ 3 เป็นตัวแทน ของจำเลยที่ 1 และได้กระทำแทนจำเลยที่ 1 ภายในขอบอำนาจแห่งฐานเป็นตัวแทน โจทก์จึงไม่มีอำนาจฟ้องขอให้ศาลบังคับจำเลยที่ 3 ให้ชำระหนี้ตามฟ้องได้ แต่ศาลชั้นต้น และศาลอุทธรณ์ยังคงพิพากษาให้จำเลยที่ 3 ร่วมรับผิดโดยกำหนดจำนวนหนี้แตกต่างกัน จึงเป็นปัญหาข้อกฎหมายอันเกี่ยวด้วยความสงบเรียบร้อยของประชาชน แม้จำเลยที่ 3 จะขาดนัดยื่นคำให้การและขาดนัดพิจารณาทั้งไม่ได้อุทธรณ์ฎีกาขึ้นมา แต่ศาลฎีกาเห็นสมควรพิพากษาคดีให้จำเลยที่ 3 ไม่ต้องรับผิดโดยอาศัยประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความแพ่ง มาตรา142(5)
ที่จำเลยที่ 1 ที่ 2 ฎีกาว่า หนังสือมอบอำนาจหมายจ.3 เป็นเรื่องที่ห้างจำเลยที่ 1 ให้จำเลยที่ 3ยืมชื่อไปใช้ประมูลและทำการก่อสร้างอาคารโดยจำเลยที่ 3เข้าทำการก่อสร้างเอง จึงเป็นนิติกรรมอำพรางนั้น จำเลยที่ 1 ที่ 2 มิได้ให้การต่อสู้ว่าโจทก์ได้ล่วงรู้ถึงข้อเท็จจริงดังกล่าวอันเป็นการไม่สุจริต แต่อย่างใด ข้ออ้างของจำเลยที่ 1 ที่ 2 ดังกล่าวจึงยกขึ้นเป็นข้อต่อสู้โจทก์ซึ่งเป็นบุคคลภายนอกผู้ทำการโดยสุจริตและต้องได้รับความเสียหายไม่ได้ ตามประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ มาตรา118 วรรคแรก
ปรากฏตามคำฟ้องและทางพิจารณาว่า จำเลยที่ 3 เป็นตัวแทน ของจำเลยที่ 1 และได้กระทำแทนจำเลยที่ 1 ภายในขอบอำนาจแห่งฐานเป็นตัวแทน โจทก์จึงไม่มีอำนาจฟ้องขอให้ศาลบังคับจำเลยที่ 3 ให้ชำระหนี้ตามฟ้องได้ แต่ศาลชั้นต้น และศาลอุทธรณ์ยังคงพิพากษาให้จำเลยที่ 3 ร่วมรับผิดโดยกำหนดจำนวนหนี้แตกต่างกัน จึงเป็นปัญหาข้อกฎหมายอันเกี่ยวด้วยความสงบเรียบร้อยของประชาชน แม้จำเลยที่ 3 จะขาดนัดยื่นคำให้การและขาดนัดพิจารณาทั้งไม่ได้อุทธรณ์ฎีกาขึ้นมา แต่ศาลฎีกาเห็นสมควรพิพากษาคดีให้จำเลยที่ 3 ไม่ต้องรับผิดโดยอาศัยประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความแพ่ง มาตรา142(5)
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 1264/2526 เวอร์ชัน 2 คำพิพากษาฎีกานี้ มีเนื้อหาจากเว็บทางการหลายรูปแบบ
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
นิติกรรมอำพราง ตัวแทน และความรับผิดในสัญญา การที่ตัวแทนทำสัญญาในนามหลัก ย่อมทำให้หลักมีหน้าที่ผูกพัน
ห้างจำเลยที่ 1 โดยจำเลยที่ 2 หุ้นส่วนผู้จัดการได้ทำหนังสือมอบอำนาจให้จำเลยที่ 3 เป็นตัวแทนไปประมูลและทำการก่อสร้างอาคาร เมื่อจำเลยที่ 3 ว่าจ้างโจทก์ติดตั้งกระจกและบานประตูจนโจทก์ทำให้เสร็จเรียบร้อยแล้ว ห้างจำเลยที่ 1 จึงต้องรับผิดชำระค่าจ้างให้แก่โจทก์ตามประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ มาตรา 820 และจำเลยที่ 2 ต้องรับผิดร่วมด้วยตามมาตรา 1077(2) ประกอบด้วยมาตรา1087
ที่จำเลยที่ 1 ที่ 2 ฎีกาว่า หนังสือมอบอำนาจหมาย จ.3 เป็นเรื่องที่ห้างจำเลยที่ 1 ให้จำเลยที่ 3 ยืมชื่อไปใช้ประมูลและทำการก่อสร้างอาคารโดยจำเลยที่ 3 เข้าทำการก่อสร้างเอง จึงเป็นนิติกรรมอำพรางนั้น จำเลยที่ 1 ที่ 2 มิได้ให้การต่อสู้ว่าโจทก์ได้ล่วงรู้ถึงข้อเท็จจริงดังกล่าวอันเป็นการไม่สุจริตแต่อย่างใด ข้ออ้างของจำเลยที่ 1 ที่ 2 ดังกล่าวจึงยกขึ้นเป็นข้อต่อสู้โจทก์ซึ่งเป็นบุคคลภายนอกผู้ทำการโดยสุจริตและต้องได้รับความเสียหายไม่ได้ ตามประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ มาตรา 118 วรรคแรก
ปรากฏตามคำฟ้องและทางพิจารณาว่า จำเลยที่ 3 เป็นตัวแทนของจำเลยที่ 1 และได้กระทำแทนจำเลยที่ 1 ภายในขอบอำนาจแห่งฐานเป็นตัวแทน โจทก์จึงไม่มีอำนาจฟ้องขอให้ศาลบังคับจำเลยที่ 3 ให้ชำระหนี้ตามฟ้องได้ แต่ศาลชั้นต้น และศาลอุทธรณ์ยังคงพิพากษาให้จำเลยที่ 3 ร่วมรับผิดโดยกำหนดจำนวนหนี้แตกต่างกัน จึงเป็นปัญหาข้อกฎหมายอันเกี่ยวด้วยความสงบเรียบร้อยของประชาชน แม้จำเลยที่ 3 จะขาดนัดยื่นคำให้การและขาดนัดพิจารณา ทั้งไม่ได้อุทธรณ์ฎีกาขึ้นมา แต่ศาลฎีกาเห็นสมควรพิพากษาคดีให้จำเลยที่ 3 ไม่ต้องรับผิดโดยอาศัยประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความแพ่ง มาตรา142(5)
ที่จำเลยที่ 1 ที่ 2 ฎีกาว่า หนังสือมอบอำนาจหมาย จ.3 เป็นเรื่องที่ห้างจำเลยที่ 1 ให้จำเลยที่ 3 ยืมชื่อไปใช้ประมูลและทำการก่อสร้างอาคารโดยจำเลยที่ 3 เข้าทำการก่อสร้างเอง จึงเป็นนิติกรรมอำพรางนั้น จำเลยที่ 1 ที่ 2 มิได้ให้การต่อสู้ว่าโจทก์ได้ล่วงรู้ถึงข้อเท็จจริงดังกล่าวอันเป็นการไม่สุจริตแต่อย่างใด ข้ออ้างของจำเลยที่ 1 ที่ 2 ดังกล่าวจึงยกขึ้นเป็นข้อต่อสู้โจทก์ซึ่งเป็นบุคคลภายนอกผู้ทำการโดยสุจริตและต้องได้รับความเสียหายไม่ได้ ตามประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ มาตรา 118 วรรคแรก
ปรากฏตามคำฟ้องและทางพิจารณาว่า จำเลยที่ 3 เป็นตัวแทนของจำเลยที่ 1 และได้กระทำแทนจำเลยที่ 1 ภายในขอบอำนาจแห่งฐานเป็นตัวแทน โจทก์จึงไม่มีอำนาจฟ้องขอให้ศาลบังคับจำเลยที่ 3 ให้ชำระหนี้ตามฟ้องได้ แต่ศาลชั้นต้น และศาลอุทธรณ์ยังคงพิพากษาให้จำเลยที่ 3 ร่วมรับผิดโดยกำหนดจำนวนหนี้แตกต่างกัน จึงเป็นปัญหาข้อกฎหมายอันเกี่ยวด้วยความสงบเรียบร้อยของประชาชน แม้จำเลยที่ 3 จะขาดนัดยื่นคำให้การและขาดนัดพิจารณา ทั้งไม่ได้อุทธรณ์ฎีกาขึ้นมา แต่ศาลฎีกาเห็นสมควรพิพากษาคดีให้จำเลยที่ 3 ไม่ต้องรับผิดโดยอาศัยประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความแพ่ง มาตรา142(5)
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 1048/2526
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
การเช่านาและผลผูกพันต่อผู้เยาว์: ข้อยกเว้นประมวลกฎหมายแพ่งฯ จาก พ.ร.บ.ควบคุมการเช่านา
บทบัญญัติมาตรา 5 ของพระราชบัญญัติควบคุมการเช่านาที่ว่า 'การเช่านาให้มีกำหนดคราวละไม่น้อยกว่าหกปี การเช่านารายใดที่ทำไว้โดยไม่มีกำหนดเวลาหรือมีแต่ต่ำกว่าหกปีให้ถือว่าการเช่านารายนั้นมีกำหนดเวลาหกปี' เป็นบทบัญญัติเป็นข้อยกเว้นของประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์บรรพ 5(เดิม) มาตรา 1546(2) แม้เจ้าของนาจะเป็นผู้เยาว์ ผู้ใช้อำนาจปกครองก็นำออกให้เช่าได้โดยไม่ต้องรับอนุญาตจากศาล และมีผลผูกพันผู้เยาว์ไม่ว่าผู้เยาว์จะรู้เห็นยินยอมในการให้เช่าหรือไม่ก็ตาม
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 1048/2526 เวอร์ชัน 2 คำพิพากษาฎีกานี้ มีเนื้อหาจากเว็บทางการหลายรูปแบบ
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
การเช่านาและการใช้อำนาจปกครองของผู้เยาว์ตาม พ.ร.บ.ควบคุมการเช่านา
บทบัญญัติมาตรา 5 ของพระราชบัญญัติควบคุมการเช่านาที่ว่า "การเช่านาให้มีกำหนดคราวละไม่น้อยกว่าหกปี การเช่านารายใดที่ทำไว้โดยไม่มีกำหนดเวลาหรือมีแต่ต่ำกว่าหกปี ให้ถือว่าการเช่านารายนั้นมีกำหนดเวลาหกปี" เป็นบทบัญญัติเป็นข้อยกเว้นของประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ บรรพ 5 (เดิม) มาตรา 1546 (2) แม้เจ้าของนาจะเป็นผู้เยาว์ ผู้ใช้อำนาจปกครองก็นำออกให้เช่าได้โดยไม่ต้องรับอนุญาตจากศาล และมีผลผูกพันผู้เยาว์ไม่ว่าผู้เยาว์จะรู้เห็นยินยอมในการให้เช่าหรือไม่ก็ตาม
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 779/2526
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
สิทธิของบุคคลภายนอกคดีในการพิสูจน์กรรมสิทธิ์ที่ดิน แม้ศาลเคยมีคำสั่งแล้ว
จำเลยยื่นคำร้องขอแสดงกรรมสิทธิ์ที่พิพาทซึ่งเป็นส่วนหนึ่งของที่ดินในโฉนดที่ ผ. ผู้ตายมีชื่อเป็นผู้ถือกรรมสิทธิ์ ศาลมีคำสั่งว่าที่พิพาทตกเป็นกรรมสิทธิ์ของจำเลย แต่เมื่อ ผ. มิได้เป็นคู่ความในคดีนั้น ผ. จึงเป็นบุคคลภายนอกคดีดังกล่าว มีอำนาจพิสูจน์ได้ว่า ตนมีสิทธิดีกว่าตามประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความแพ่ง มาตรา145(2) โจทก์ในฐานะผู้จัดการมรดกของ ผ. จึงมีอำนาจฟ้อง
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 779/2526 เวอร์ชัน 2 คำพิพากษาฎีกานี้ มีเนื้อหาจากเว็บทางการหลายรูปแบบ
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
สิทธิของบุคคลภายนอกคดีในการพิสูจน์กรรมสิทธิ์ที่ดิน แม้ศาลเคยมีคำสั่งให้กรรมสิทธิ์แก่ผู้อื่น
จำเลยยื่นคำร้องขอแสดงกรรมสิทธิ์ที่พิพาทซึ่งเป็นส่วนหนึ่งของที่ดินในโฉนดที่ ผ. ผู้ตายมีชื่อเป็นผู้ถือกรรมสิทธิ์ ศาลมีคำสั่งว่าที่พิพาทตกเป็นกรรมสิทธิ์ของจำเลย แต่เมื่อ ผ. มิได้เป็นคู่ความในคดีนั้น ผ. จึงเป็นบุคคลภายนอกคดีดังกล่าว มีอำนาจพิสูจน์ได้ว่า ตนมีสิทธิดีกว่าตามประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความแพ่งมาตรา145(2) โจทก์ในฐานะผู้จัดการมรดกของ ผ. จึงมีอำนาจฟ้อง