พบผลลัพธ์ทั้งหมด 421 รายการ
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 895/2518 เวอร์ชัน 2 คำพิพากษาฎีกานี้ มีเนื้อหาจากเว็บทางการหลายรูปแบบ
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
การเสียสัญชาติไทยจากใบสำคัญคนต่างด้าว แม้ไม่ได้สมัครใจแต่ยังคงถือครองและใช้สิทธิประโยชน์
โจทก์ได้สัญชาติไทยโดยการเกิดในราชอาณาจักร มีบิดาเป็นคนต่างด้าวและได้รับใบสำคัญประจำตัวคนต่างด้าวมาแต่ พ.ศ.2491 แล้ว ขณะฟ้องก็ยังถือใบสำคัญดังกล่าวอยู่ จึงต้องอยู่ภายใต้บังคับของมาตรา 21 แห่งพระราชบัญญัติสัญชาติ พ.ศ.2508 โจทก์จึงเสียสัญชาติไทยไปโดยผลแห่งกฎหมาย
แม้บิดาโจทก์เป็นผู้จัดการขอใบสำคัญประจำตัวคนต่างด้าวมาให้โจทก์เพื่อไปศึกษายังต่างประเทศ แต่โจทก์ก็ไม่ได้ไปยังคงถือใบสำคัญต่อมา โจทก์ได้ไปขอเปลี่ยนสมุดใบสำคัญใหม่ใน พ.ศ.2498 ขอต่ออายุใบสำคัญมาจนถึง พงศ.2508 อันเป็นเวลาภายหลังจากโจทก์ขอกลับคืนสัญชาติไทยไม่ได้ผลแล้ว จึงไม่ขอต่ออายุใบสำคัญอีก การได้ใบสำคัญทำให้โจทก์ไม่ต้องเข้าตรวจคัดเลือกเพื่อเป็นทหาร ได้ขอยกเว้นค่าธรรมเนียมการต่ออายุใบสำคัญเมื่อเข้าทำงานเป็นลูกจ้างสถานทูต แจ้งต่อมหาวิทยาลัยตอนเข้าศึกษาว่าเป็นคนสัญชาติอังกฤษ พฤติการณ์ดังกล่าวแสดงว่าโจทก์สมัครใจขอรับใบสำคัญประจำตัวคนต่างด้าวเป็นคนสัญชาติอังกฤษ
แม้บิดาโจทก์เป็นผู้จัดการขอใบสำคัญประจำตัวคนต่างด้าวมาให้โจทก์เพื่อไปศึกษายังต่างประเทศ แต่โจทก์ก็ไม่ได้ไปยังคงถือใบสำคัญต่อมา โจทก์ได้ไปขอเปลี่ยนสมุดใบสำคัญใหม่ใน พ.ศ.2498 ขอต่ออายุใบสำคัญมาจนถึง พงศ.2508 อันเป็นเวลาภายหลังจากโจทก์ขอกลับคืนสัญชาติไทยไม่ได้ผลแล้ว จึงไม่ขอต่ออายุใบสำคัญอีก การได้ใบสำคัญทำให้โจทก์ไม่ต้องเข้าตรวจคัดเลือกเพื่อเป็นทหาร ได้ขอยกเว้นค่าธรรมเนียมการต่ออายุใบสำคัญเมื่อเข้าทำงานเป็นลูกจ้างสถานทูต แจ้งต่อมหาวิทยาลัยตอนเข้าศึกษาว่าเป็นคนสัญชาติอังกฤษ พฤติการณ์ดังกล่าวแสดงว่าโจทก์สมัครใจขอรับใบสำคัญประจำตัวคนต่างด้าวเป็นคนสัญชาติอังกฤษ
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 875/2518
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
อำนาจการยื่นคำร้องขอตั้งผู้ปกครองและการรับบุตรบุญธรรมที่ต้องได้รับความยินยอมจากมารดา
ผู้รับบุตรบุญธรรมยื่นคำร้องขอให้ศาลตั้ง บ. บุตรเขยเป็นผู้ปกครองบุตรบุญธรรมซึ่งเป็นผู้เยาว์ เมื่อผู้ร้องไม่ใช่ญาติหรือเป็นพนักงานอัยการ จึงไม่มีอำนาจยื่นคำร้องตามประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ มาตรา 1556
เมื่อผู้รับบุตรบุญธรรมยังไม่ได้จดทะเบียนเลิกการรับบุตรบุญธรรมหรือถูกถอนอำนาจปกครอง ทั้งมารดาผู้เยาว์ยังมีชีวิตอยู่แม้ไม่ทราบที่อยู่ไม่อาจติดต่อได้ ก็ไม่ใช่กรณีที่จะจัดให้มีผู้ปกครองผู้เยาว์ได้ตามประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ มาตรา 1555 เมื่อไม่อาจตั้งผู้ปกครองได้การตั้งผู้ปกครองหลายคนตามประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ มาตรา 1559 จึงไม่อาจทำได้
บ. ยังไม่ได้รับความยินยอมจากมารดาผู้เยาว์ ย่อมรับผู้เยาว์เป็นบุตรบุญธรรมไม่ได้
เมื่อผู้รับบุตรบุญธรรมยังไม่ได้จดทะเบียนเลิกการรับบุตรบุญธรรมหรือถูกถอนอำนาจปกครอง ทั้งมารดาผู้เยาว์ยังมีชีวิตอยู่แม้ไม่ทราบที่อยู่ไม่อาจติดต่อได้ ก็ไม่ใช่กรณีที่จะจัดให้มีผู้ปกครองผู้เยาว์ได้ตามประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ มาตรา 1555 เมื่อไม่อาจตั้งผู้ปกครองได้การตั้งผู้ปกครองหลายคนตามประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ มาตรา 1559 จึงไม่อาจทำได้
บ. ยังไม่ได้รับความยินยอมจากมารดาผู้เยาว์ ย่อมรับผู้เยาว์เป็นบุตรบุญธรรมไม่ได้
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 875/2518 เวอร์ชัน 2 คำพิพากษาฎีกานี้ มีเนื้อหาจากเว็บทางการหลายรูปแบบ
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
อำนาจยื่นคำร้องขอตั้งผู้ปกครองและการรับบุตรบุญธรรม ต้องเป็นไปตามเงื่อนไขกฎหมายแพ่งและพาณิชย์
ผู้รับบุตรบุญธรรมยื่นคำร้องขอให้ศาลตั้ง บ.บุตรเขยเป็นผู้ปกครองบุตรบุญธรรมซึ่งเป็นผู้เยาว์ เมื่อผู้ร้องไม่ใช่ญาติหรือเป็นพนักงานอัยการ จึงไม่มีอำนาจยื่นคำร้องตามประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ มาตรา 1556
เมื่อผู้รับบุตรบุญธรรมยังไม่ได้จดทะเบียนเลิกการรับบุตรบุญธรรมหรือถูกถอนอำนาจปกครอง ทั้งมารดาผู้เยาว์ยังมีชีวิตอยู่แม้ไม่ทราบที่อยู่ไม่อาจติดต่อได้ ก็ไม่ใช่กรณีที่จะจัดให้มีผู้ปกครองผู้เยาว์ได้ตาม ประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ มาตรา 1555 เมื่อไม่อาจตั้งผู้ปกครองได้การตั้งผู้ปกครองหลายคนตามประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ มาตรา 1559 จึงไม่อาจทำได้ บ. ยังไม่ได้รับความยินยอมจากมารดาผู้เยาว์ ย่อมรับผู้เยาว์เป็นบุตรบุญธรรมไม่ได้
เมื่อผู้รับบุตรบุญธรรมยังไม่ได้จดทะเบียนเลิกการรับบุตรบุญธรรมหรือถูกถอนอำนาจปกครอง ทั้งมารดาผู้เยาว์ยังมีชีวิตอยู่แม้ไม่ทราบที่อยู่ไม่อาจติดต่อได้ ก็ไม่ใช่กรณีที่จะจัดให้มีผู้ปกครองผู้เยาว์ได้ตาม ประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ มาตรา 1555 เมื่อไม่อาจตั้งผู้ปกครองได้การตั้งผู้ปกครองหลายคนตามประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ มาตรา 1559 จึงไม่อาจทำได้ บ. ยังไม่ได้รับความยินยอมจากมารดาผู้เยาว์ ย่อมรับผู้เยาว์เป็นบุตรบุญธรรมไม่ได้
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 765/2518 เวอร์ชัน 2 คำพิพากษาฎีกานี้ มีเนื้อหาจากเว็บทางการหลายรูปแบบ
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
อำนาจศาลวินิจฉัยสถานะทรัพย์สินฝ่ายพระมหากษัตริย์ และการเปลี่ยนชื่อผู้ถือกรรมสิทธิ์ในตราจอง
พระราชบัญญัติจัดระเบียบทรัพย์สินฝ่ายพระมหากษัตริย์ พ.ศ.2479 มาตรา 4 ได้แบ่งทรัพย์สินฝ่ายพระมหากษัตริย์เป็น 3 ประเภท คือทรัพย์สินส่วนพระองค์ ทรัพย์สินส่วนสาธารณสมบัติของแผ่นดิน และทรัพย์สินส่วนพระมหากษัตริย์มาตรา 5 บัญญัติว่า ทรัพย์สินส่วนพระมหากษัตริย์ (เว้นเครื่องอุปโภคบริโภค) ให้อยู่ในความดูแลรักษาและจัดหาประโยชน์ของสำนักงานทรัพย์สินส่วนพระมหากษัตริย์ เมื่อที่ดินมีตราจองในคดีนี้ยังอยู่ในพระปรมาภิไธยของพระบาทสมเด็จพระปกเกล้าเจ้าอยู่หัว แต่สำนักงานทรัพย์สินสวนพระมหากษัตริย์ผู้ร้องอ้างว่าเป็นทรัพย์สินส่วนพระมหากษัตริย์ อยู่ในความดูแลของผู้ร้องแล้วจึงมีปัญหาว่าที่ดินตามตราจองนี้เป็นทรัพย์สินส่วนพระมหากษัตริย์หรือไม่ การวินิจฉัยปัญหานี้เป็นอำนาจของศาลที่จะวินิจฉัยเจ้าพนักงานที่ดินไม่มีอำนาจเปลี่ยนนามผู้ถือกรรมสิทธิ์ในตรา จองมาเป็นนามผู้ร้องได้ ผู้ร้องจึงมีสิทธิยื่นคำร้องขอให้ศาลไต่สวนและมีคำสั่งเปลี่ยนนามผู้ถือกรรมสิทธิ์ที่ดินตราจองจากพระปรมาภิไธย พระบาทสมเด็จพระปกเกล้าฯ มาเป็นนามของผู้ร้องถือกรรมสิทธิ์ เพื่อผู้ร้องจะได้ดำเนินการขอเปลี่ยนจากตราจองเป็นโฉนดต่อไปได้
ทรัพย์สินฝ่ายพระมหากษัตริย์ไม่ใช่ทรัพย์สินของสำนักงานทรัพย์สินส่วนพระมหากษัตริย์ผู้ร้อง การที่ผู้ร้องขอให้ลงชื่อผู้ร้องถือกรรมสิทธิ์นั้นเป็นการขอถือกรรมสิทธิ์แทนพระมหากษัตริย์เพื่อประโยชน์ในการจัด การทรัพย์สิน จึงไม่ใช่การจดทะเบียนสิทธิการได้มาซึ่งที่ดินตามประมวลกฎหมายที่ดิน มาตรา 78 เจ้าพนักงานที่ดินจะอาศัยบทกฎหมายดังกล่าวจดทะเบียนลงชื่อผู้ร้องหาได้ไม่
ทรัพย์สินฝ่ายพระมหากษัตริย์ไม่ใช่ทรัพย์สินของสำนักงานทรัพย์สินส่วนพระมหากษัตริย์ผู้ร้อง การที่ผู้ร้องขอให้ลงชื่อผู้ร้องถือกรรมสิทธิ์นั้นเป็นการขอถือกรรมสิทธิ์แทนพระมหากษัตริย์เพื่อประโยชน์ในการจัด การทรัพย์สิน จึงไม่ใช่การจดทะเบียนสิทธิการได้มาซึ่งที่ดินตามประมวลกฎหมายที่ดิน มาตรา 78 เจ้าพนักงานที่ดินจะอาศัยบทกฎหมายดังกล่าวจดทะเบียนลงชื่อผู้ร้องหาได้ไม่
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 765/2518
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
อำนาจการจัดการทรัพย์สินพระมหากษัตริย์: การเปลี่ยนชื่อผู้ถือกรรมสิทธิ์จากพระปรมาภิไธยเป็นสำนักงานทรัพย์สินฯ
พระราชบัญญัติจัดระเบียบทรัพย์สินฝ่ายพระมหากษัตริย์ พ.ศ.2479มาตรา 4 ได้แบ่งทรัพย์สินฝ่ายพระมหากษัตริย์เป็น 3 ประเภทคือทรัพย์สินส่วนพระองค์ทรัพย์สินส่วนสาธารณสมบัติของแผ่นดินและทรัพย์สินส่วนพระมหากษัตริย์ มาตรา 5 บัญญัติว่าทรัพย์สินส่วนพระมหากษัตริย์ (เว้นเครื่องอุปโภคบริโภค) ให้อยู่ในความดูแลรักษาและจัดหาประโยชน์ของสำนักงานทรัพย์สินส่วนพระมหากษัตริย์ เมื่อที่ดินมีตราจองในคดีนี้ยังอยู่ในพระปรมาภิไธยของพระบาทสมเด็จพระปกเกล้าเจ้าอยู่หัวแต่สำนักงานทรัพย์สินส่วนพระมหากษัตริย์ผู้ร้องอ้างว่าเป็นทรัพย์สินส่วนพระมหากษัตริย์ อยู่ในความดูแลของผู้ร้องแล้วจึงมีปัญหาว่าที่ดินตามตราจองนี้เป็นทรัพย์สินส่วนพระมหากษัตริย์หรือไม่ การวินิจฉัยปัญหานี้เป็นอำนาจของศาลที่จะวินิจฉัย เจ้าพนักงานที่ดินไม่มีอำนาจเปลี่ยนนามผู้ถือกรรมสิทธิ์ในตราจองมาเป็นนามผู้ร้องได้ผู้ร้องจึงมีสิทธิยื่นคำร้องขอให้ศาลไต่สวนและมีคำสั่งเปลี่ยนนามผู้ถือกรรมสิทธิ์ที่ดินตราจองจากพระปรมาภิไธยพระบาทสมเด็จพระปกเกล้าฯ มาเป็นนามของผู้ร้องถือกรรมสิทธิ์ เพื่อผู้ร้องจะได้ดำเนินการขอเปลี่ยนจากตราจองเป็นโฉนดต่อไปได้
ทรัพย์สินฝ่ายพระมหากษัตริย์ไม่ใช่ทรัพย์สินของสำนักงานทรัพย์สินส่วนพระมหากษัตริย์ผู้ร้องการที่ผู้ร้องขอให้ลงชื่อผู้ร้องถือกรรมสิทธิ์นั้น เป็นการขอถือกรรมสิทธิ์แทนพระมหากษัตริย์เพื่อประโยชน์ในการจัดการทรัพย์สิน จึงไม่ใช่การจดทะเบียนสิทธิการได้มาซึ่งที่ดินตามประมวลกฎหมายที่ดิน มาตรา 78 เจ้าพนักงานที่ดินจะอาศัยบทกฎหมายดังกล่าวจดทะเบียนลงชื่อผู้ร้องหาได้ไม่
ทรัพย์สินฝ่ายพระมหากษัตริย์ไม่ใช่ทรัพย์สินของสำนักงานทรัพย์สินส่วนพระมหากษัตริย์ผู้ร้องการที่ผู้ร้องขอให้ลงชื่อผู้ร้องถือกรรมสิทธิ์นั้น เป็นการขอถือกรรมสิทธิ์แทนพระมหากษัตริย์เพื่อประโยชน์ในการจัดการทรัพย์สิน จึงไม่ใช่การจดทะเบียนสิทธิการได้มาซึ่งที่ดินตามประมวลกฎหมายที่ดิน มาตรา 78 เจ้าพนักงานที่ดินจะอาศัยบทกฎหมายดังกล่าวจดทะเบียนลงชื่อผู้ร้องหาได้ไม่
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 755/2518 เวอร์ชัน 2 คำพิพากษาฎีกานี้ มีเนื้อหาจากเว็บทางการหลายรูปแบบ
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
โกงเจ้าหนี้: 'หนี้' ไม่จำกัดเฉพาะเงิน, เจตนาไม่ชำระหนี้สำคัญ, ข้อพิพาทสัญญาไม่ใช่ความผิดอาญา
คำว่า "หนี้" ที่บัญญัติไว้ในตอนต้นของมาตรา 350 แห่งประมวลกฎหมายอาญา มิได้หมายถึงเฉพาะหนี้เงินเท่านั้น แต่ยังรวมถึงหนี้อื่น ๆ ด้วย
จำเลยที่ 1 ที่ 2 ทำสัญญาขายที่ดินมีโฉนดให้แก่โจทก์ โจทก์เข้าครอบครองที่ดินนั้นและชำระราคาครบถ้วนแล้ว เหลือแต่การโอนโฉนด โจทก์ย่อมได้ชื่อว่าอยู่ในฐานะอันจะจดทะเบียนสิทธิได้ก่อน โจทก์จึงเป็นเจ้าหนี้แน่นอนของจำเลยที่ 1 ที่ 2 ซึ่งจำเลยทั้งสองมีหนี้ที่จะต้องโอนที่ดินให้โจทก์จำเลยที่ 1 ที่ 2 กลับโอนขายที่ดินนั้นให้จำเลยที่ 3 ไปเสีย โดยจำเลยทั้งสามทราบอยู่แล้วว่าโจทก์กำลังจะฟ้องจำเลยที่ 1 ที่ 2 แต่ได้ความว่า จำเลยที่ 1 ที่ 2 เป็นผู้มีทรัพย์สินมากพอที่จะชำระหนี้ค่าเสียหายให้โจทก์ได้ แม้หนี้สินอื่นที่จำเลยที่ 1 ที่ 2 เป็นหนี้โจทก์อยู่เป็นจำนวนมาก จำเลยก็ชำระให้โดยไม่บิดพลิ้ว การที่จำเลยทั้งสองไม่ยอมโอนที่ดินดังกล่าวให้โจทก์นั้น เป็นเพราะโจทก์กับจำเลยแปลความในสัญญากันคนละทาง มิใช่เพราะมีเจตนาที่จะไม่ชำระหนี้ให้โจทก์ จึงเป็นเรื่องผิดสัญญาในทางแพ่ง ไม่เป็นความผิดทางอาญาฐานโกงเจ้าหนี้ และจำเลยที่ 3 ผู้รับซื้อที่ดินนั้นไว้ก็ย่อมไม่มีความผิดทางอาญาดุจกัน
(ประชุมใหญ่ครั้งที่ 13/2517 และครั้งที่ 2/2518)
จำเลยที่ 1 ที่ 2 ทำสัญญาขายที่ดินมีโฉนดให้แก่โจทก์ โจทก์เข้าครอบครองที่ดินนั้นและชำระราคาครบถ้วนแล้ว เหลือแต่การโอนโฉนด โจทก์ย่อมได้ชื่อว่าอยู่ในฐานะอันจะจดทะเบียนสิทธิได้ก่อน โจทก์จึงเป็นเจ้าหนี้แน่นอนของจำเลยที่ 1 ที่ 2 ซึ่งจำเลยทั้งสองมีหนี้ที่จะต้องโอนที่ดินให้โจทก์จำเลยที่ 1 ที่ 2 กลับโอนขายที่ดินนั้นให้จำเลยที่ 3 ไปเสีย โดยจำเลยทั้งสามทราบอยู่แล้วว่าโจทก์กำลังจะฟ้องจำเลยที่ 1 ที่ 2 แต่ได้ความว่า จำเลยที่ 1 ที่ 2 เป็นผู้มีทรัพย์สินมากพอที่จะชำระหนี้ค่าเสียหายให้โจทก์ได้ แม้หนี้สินอื่นที่จำเลยที่ 1 ที่ 2 เป็นหนี้โจทก์อยู่เป็นจำนวนมาก จำเลยก็ชำระให้โดยไม่บิดพลิ้ว การที่จำเลยทั้งสองไม่ยอมโอนที่ดินดังกล่าวให้โจทก์นั้น เป็นเพราะโจทก์กับจำเลยแปลความในสัญญากันคนละทาง มิใช่เพราะมีเจตนาที่จะไม่ชำระหนี้ให้โจทก์ จึงเป็นเรื่องผิดสัญญาในทางแพ่ง ไม่เป็นความผิดทางอาญาฐานโกงเจ้าหนี้ และจำเลยที่ 3 ผู้รับซื้อที่ดินนั้นไว้ก็ย่อมไม่มีความผิดทางอาญาดุจกัน
(ประชุมใหญ่ครั้งที่ 13/2517 และครั้งที่ 2/2518)
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 755/2518
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
การเปลี่ยนชื่อผู้ถือกรรมสิทธิ์ในที่ดินที่เป็นทรัพย์สินของพระมหากษัตริย์ ผู้ร้องมีสิทธิขอคำสั่งศาลเพื่อดำเนินการจัดการทรัพย์สิน
คำว่า 'หนี้' ที่บัญญัติไว้ในตอนต้นของมาตรา 350 แห่งประมวลกฎหมายอาญา มิได้หมายถึงเฉพาะหนี้เงินเท่านั้นแต่ยังรวมถึงหนี้อื่นๆ ด้วย
จำเลยที่ 1 ที่ 2 ทำสัญญาขายที่ดินมีโฉนดให้แก่โจทก์โจทก์เข้าครอบครองที่ดินนั้นและชำระราคาครบถ้วนแล้ว เหลือแต่การโอนโฉนด โจทก์ย่อมได้ชื่อว่าอยู่ในฐานะอันจะจดทะเบียนสิทธิได้ก่อน โจทก์จึงเป็นเจ้าหนี้แน่นอนของจำเลยที่ 1 ที่ 2 ซึ่งจำเลยทั้งสองมีหนี้ที่จะต้องโอนที่ดินให้โจทก์ จำเลยที่ 1 ที่ 2 กลับโอนขายที่ดินนั้นให้จำเลยที่ 3 ไปเสีย โดยจำเลยทั้งสามทราบอยู่แล้วว่า โจทก์กำลังจะฟ้องจำเลยที่ 1 ที่ 2 แต่ได้ความว่า จำเลยที่ 1 ที่ 2 เป็นผู้มีทรัพย์สินมากพอที่จะชำระหนี้ค่าเสียหายให้โจทก์ได้ แม้หนี้สินอื่นที่จำเลยที่ 1 ที่ 2 เป็นหนี้โจทก์อยู่เป็นจำนวนมาก จำเลยก็ชำระให้โดยไม่บิดพลิ้ว การที่จำเลยทั้งสองไม่ยอมโอนที่ดินดังกล่าวให้โจทก์นั้น เป็นเพราะโจทก์กับจำเลยแปลความในสัญญากันคนละทาง มิใช่เพราะมีเจตนาที่จะไม่ชำระหนี้ให้โจทก์ จึงเป็นเรื่องผิดสัญญาในทางแพ่ง ไม่เป็นความผิดทางอาญาฐานโกงเจ้าหนี้ และจำเลยที่ 3 ผู้รับซื้อที่ดินนั้นไว้ ก็ย่อมไม่มีความผิดทางอาญาดุจกัน (ประชุมใหญ่ครั้งที่ 13/2517 และครั้งที่ 2/2518)
จำเลยที่ 1 ที่ 2 ทำสัญญาขายที่ดินมีโฉนดให้แก่โจทก์โจทก์เข้าครอบครองที่ดินนั้นและชำระราคาครบถ้วนแล้ว เหลือแต่การโอนโฉนด โจทก์ย่อมได้ชื่อว่าอยู่ในฐานะอันจะจดทะเบียนสิทธิได้ก่อน โจทก์จึงเป็นเจ้าหนี้แน่นอนของจำเลยที่ 1 ที่ 2 ซึ่งจำเลยทั้งสองมีหนี้ที่จะต้องโอนที่ดินให้โจทก์ จำเลยที่ 1 ที่ 2 กลับโอนขายที่ดินนั้นให้จำเลยที่ 3 ไปเสีย โดยจำเลยทั้งสามทราบอยู่แล้วว่า โจทก์กำลังจะฟ้องจำเลยที่ 1 ที่ 2 แต่ได้ความว่า จำเลยที่ 1 ที่ 2 เป็นผู้มีทรัพย์สินมากพอที่จะชำระหนี้ค่าเสียหายให้โจทก์ได้ แม้หนี้สินอื่นที่จำเลยที่ 1 ที่ 2 เป็นหนี้โจทก์อยู่เป็นจำนวนมาก จำเลยก็ชำระให้โดยไม่บิดพลิ้ว การที่จำเลยทั้งสองไม่ยอมโอนที่ดินดังกล่าวให้โจทก์นั้น เป็นเพราะโจทก์กับจำเลยแปลความในสัญญากันคนละทาง มิใช่เพราะมีเจตนาที่จะไม่ชำระหนี้ให้โจทก์ จึงเป็นเรื่องผิดสัญญาในทางแพ่ง ไม่เป็นความผิดทางอาญาฐานโกงเจ้าหนี้ และจำเลยที่ 3 ผู้รับซื้อที่ดินนั้นไว้ ก็ย่อมไม่มีความผิดทางอาญาดุจกัน (ประชุมใหญ่ครั้งที่ 13/2517 และครั้งที่ 2/2518)
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 651/2518
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
การบังคับคดีตามคำพิพากษา แม้มีการทำยอมนอกศาล แต่จำเลยไม่ปฏิบัติตาม ศาลยังคงบังคับคดีได้
ศาลพิพากษาให้จำเลยคืนรถยนต์กับใช้ค่าเสียหาย 3,000 บาทระหว่างอุทธรณ์โจทก์จำเลยร้องขอให้ศาลอุทธรณ์พิพากษาตามยอมที่โจทก์จำเลยนำมายื่นต่อศาลชั้นต้นเพื่อส่งไปศาลอุทธรณ์ทำยอมแต่จำเลยไม่ไปศาลและโจทก์ไม่ประสงค์ทำยอมตามที่ขอไว้ศาลอุทธรณ์พิพากษาคดีถึงที่สุดแล้วจำเลยต้องทำตามคำบังคับ เรื่องสัญญายอมความเป็นเรื่องนอกศาลจำเลยอ้างให้งดบังคับคดีไม่ได้ โจทก์รับต่อศาลว่าได้รับรถคืนแล้ว หนี้ประการนี้จึงระงับไป แต่หนี้ใช้ค่าเสียหายตามคำพิพากษายังต้องบังคับต่อไป
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 620/2518
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
การริบโต๊ะบิลเลียดไฟฟ้าที่เป็นอุปกรณ์ใช้ในการเล่นพนันสล๊อทแมชีน
จำเลยให้การรับสารภาพตลอดข้อหา ซึ่งบรรยายว่าของกลางคือโต๊ะเครื่องเล่นไฟฟ้าจักรกลสปริง (บิลเลียดไฟฟ้า) อันเป็นอุปกรณ์ใช้ในการเล่นพนันสล๊อทแมชีน จับได้ในขณะเล่นพนันจึงต้องริบของกลางนี้
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 590/2518
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
สัญญาประนีประนอมยอมความ: สิทธิเรียกร้องค่าเสียหายขาดไร้อุปการะ
นายจ้างของผู้ทำละเมิดตกลงกับโจทก์ซึ่งเป็นบิดาของผู้ถูกละเมิดยอมใช้ค่าเสียหาย 3,000 บาท โจทก์ยอมรับว่าจะไม่เรียกร้องค่าเสียหายใดๆ อีก ดังนี้ เป็นสัญญาประนีประนอมยอมความ โจทก์เรียกค่าขาดไร้อุปการะอีกไม่ได้