พบผลลัพธ์ทั้งหมด 274 รายการ
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 474/2517 เวอร์ชัน 2 คำพิพากษาฎีกานี้ มีเนื้อหาจากเว็บทางการหลายรูปแบบ
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
ข้อจำกัดการฎีกาในคดีค่าเช่าต่ำ และการฟ้องแย้งที่ไม่เกี่ยวข้องกับฟ้องเดิม
คดีฟ้องขับไล่ผู้เช่าออกจากอสังหาริมทรัพย์อันมีค่าเช่าในขณะยื่นฟ้องไม่เกินเดือนละสองพันบาท ซึ่งต้องห้ามมิให้อุทธรณ์ในข้อเท็จจริงนั้น แม้ศาลอุทธรณ์จะรับวินิจฉัยข้อเท็จจริงมา ก็ถือว่าข้อเท็จจริงนั้นมิได้ว่ากันมาแล้วโดยชอบในชั้นอุทธรณ์ จึงต้องห้ามมิให้ฎีกาในข้อเท็จจริงนั้น ตามประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความแพ่งมาตรา 249
โจทก์บรรยายฟ้อง เป็นใจความว่า เดิมบ้านพิพาทเป็นของนางตุงกูสะราห์ บินตำมะหงงให้จำเลยเช่าประกอบการค้า เมื่อเดือนธันวาคม 2512 โจทก์ได้รับโอนกรรมสิทธิ์บ้านดังกล่าวจากนางตุงกูสะราห์ได้แจ้งให้จำเลยทราบและให้โอกาสจำเลยอยู่ชั่วคราวจำเลยไม่ตกลง โจทก์จึงให้ทนายบอกกล่าวให้จำเลยออกไปจำเลยทราบแล้วก็ยังคงอยู่โดยละเมิดเสียหายเท่าค่าเช่าอย่างต่ำเดือนละ 350 บาท ขอให้ขับไล่จำเลยและบริวาร กับใช้ค่าเสียหายดังนี้ ไม่เป็นฟ้องเคลือบคลุมเพราะโจทก์ได้บรรยายโดยชัดแจ้งซึ่งสภาพแห่งข้อหาและคำขอบังคับ ทั้งข้ออ้างที่อาศัยเป็นหลักแห่งข้อหาไว้ครบบริบูรณ์แล้ว โจทก์หาจำเป็นต้องส่งเอกสารซื้อขายบ้านพิพาทพร้อมกับฟ้องไม่
ฟ้องแย้งของจำเลยที่ว่า หากโจทก์ซื้อและรับโอนกรรมสิทธิ์ที่ดินและบ้านพิพาทมาจริงขอให้เพิกถอนนิติกรรมซื้อขายนั้นเสียเพื่อจำเลยจะได้ใช้สิทธิเป็นผู้ซื้อได้ก่อนเป็นคนแรกตามสิทธิที่มีอยู่ในสัญญาเช่าระหว่างจำเลยกับสามีนางตุงกูสะราห์ บินตำมะหงงนั้นเป็นเรื่องระหว่างโจทก์กับบุคคลภายนอก จำเลยไม่มีส่วนได้เสียถึงกับจะขอให้ศาลสั่งเพิกถอนนิติกรรมซื้อขายนั้น ฟ้องแย้งของจำเลยจึงไม่เกี่ยวกับฟ้องเดิม
โจทก์บรรยายฟ้อง เป็นใจความว่า เดิมบ้านพิพาทเป็นของนางตุงกูสะราห์ บินตำมะหงงให้จำเลยเช่าประกอบการค้า เมื่อเดือนธันวาคม 2512 โจทก์ได้รับโอนกรรมสิทธิ์บ้านดังกล่าวจากนางตุงกูสะราห์ได้แจ้งให้จำเลยทราบและให้โอกาสจำเลยอยู่ชั่วคราวจำเลยไม่ตกลง โจทก์จึงให้ทนายบอกกล่าวให้จำเลยออกไปจำเลยทราบแล้วก็ยังคงอยู่โดยละเมิดเสียหายเท่าค่าเช่าอย่างต่ำเดือนละ 350 บาท ขอให้ขับไล่จำเลยและบริวาร กับใช้ค่าเสียหายดังนี้ ไม่เป็นฟ้องเคลือบคลุมเพราะโจทก์ได้บรรยายโดยชัดแจ้งซึ่งสภาพแห่งข้อหาและคำขอบังคับ ทั้งข้ออ้างที่อาศัยเป็นหลักแห่งข้อหาไว้ครบบริบูรณ์แล้ว โจทก์หาจำเป็นต้องส่งเอกสารซื้อขายบ้านพิพาทพร้อมกับฟ้องไม่
ฟ้องแย้งของจำเลยที่ว่า หากโจทก์ซื้อและรับโอนกรรมสิทธิ์ที่ดินและบ้านพิพาทมาจริงขอให้เพิกถอนนิติกรรมซื้อขายนั้นเสียเพื่อจำเลยจะได้ใช้สิทธิเป็นผู้ซื้อได้ก่อนเป็นคนแรกตามสิทธิที่มีอยู่ในสัญญาเช่าระหว่างจำเลยกับสามีนางตุงกูสะราห์ บินตำมะหงงนั้นเป็นเรื่องระหว่างโจทก์กับบุคคลภายนอก จำเลยไม่มีส่วนได้เสียถึงกับจะขอให้ศาลสั่งเพิกถอนนิติกรรมซื้อขายนั้น ฟ้องแย้งของจำเลยจึงไม่เกี่ยวกับฟ้องเดิม
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 474/2517
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
คดีฟ้องขับไล่ค่าเช่าต่ำกว่าสองพันบาท ต้องห้ามฎีกาในข้อเท็จจริง แม้ศาลอุทธรณ์จะวินิจฉัยแล้ว
คดีฟ้องขับไล่ผู้เช่าออกจากอสังหาริมทรัพย์อันมีค่าเช่าในขณะยื่นฟ้องไม่เกินเดือนละสองพันบาท ซึ่งต้องห้ามมิให้อุทธรณ์ในข้อเท็จจริงนั้น แม้ศาลอุทธรณ์จะรับวินิจฉัยข้อเท็จจริงมาก็ถือว่าข้อเท็จจริงนั้นมิได้ว่ากันมาแล้วโดยชอบในชั้นอุทธรณ์ จึงต้องห้ามมิให้ฎีกาในข้อเท็จจริงนั้น ตามประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความแพ่ง มาตรา 249
โจทก์บรรยายฟ้องเป็นใจความว่า เดิมบ้านพิพาทเป็นของนางตุงกูสะราห์บินตำมะหงงให้จำเลยเช่าประกอบการค้า เมื่อเดือนธันวาคม 2512 โจทก์ได้รับโอนกรรมสิทธิ์บ้านดังกล่าวจากนางตุงกูสะราห์ได้แจ้งให้จำเลยทราบและให้โอกาสจำเลยอยู่ชั่วคราวจำเลยไม่ตกลง โจทก์จึงให้ทนายบอกกล่าวให้จำเลยออกไป จำเลยทราบแล้วก็ยังคงอยู่โดยละเมิดเสียหายเท่าค่าเช่าอย่างต่ำเดือนละ 350 บาท ขอให้ขับไล่จำเลยและบริวารกับใช้ค่าเสียหายดังนี้ ไม่เป็นฟ้องเคลือบคลุมเพราะโจทก์ได้บรรยายโดยชัดแจ้งซึ่งสภาพแห่งข้อหาและคำขอบังคับ ทั้งข้ออ้างที่อาศัยเป็นหลักแห่งข้อหาไว้ครบบริบูรณ์แล้ว โจทก์หาจำเป็นต้องส่งเอกสารซื้อขายบ้านพิพาทพร้อมกับฟ้องไม่
ฟ้องแย้งของจำเลยที่ว่า หากโจทก์ซื้อและรับโอนกรรมสิทธิ์ที่ดินและบ้านพิพาทมาจริงขอให้เพิกถอนนิติกรรมซื้อขายนั้นเสียเพื่อจำเลยจะได้ใช้สิทธิเป็นผู้ซื้อได้ก่อนเป็นคนแรกตามสิทธิที่มีอยู่ในสัญญาเช่าระหว่างจำเลยกับสามีนางตุงกูสะราห์บินตำมะหงงนั้นเป็นเรื่องระหว่างโจทก์กับบุคคลภายนอก จำเลยไม่มีส่วนได้เสียถึงกับจะขอให้ศาลสั่งเพิกถอนนิติกรรมซื้อขายนั้น ฟ้องแย้งของจำเลยจึงไม่เกี่ยวกับฟ้องเดิม
โจทก์บรรยายฟ้องเป็นใจความว่า เดิมบ้านพิพาทเป็นของนางตุงกูสะราห์บินตำมะหงงให้จำเลยเช่าประกอบการค้า เมื่อเดือนธันวาคม 2512 โจทก์ได้รับโอนกรรมสิทธิ์บ้านดังกล่าวจากนางตุงกูสะราห์ได้แจ้งให้จำเลยทราบและให้โอกาสจำเลยอยู่ชั่วคราวจำเลยไม่ตกลง โจทก์จึงให้ทนายบอกกล่าวให้จำเลยออกไป จำเลยทราบแล้วก็ยังคงอยู่โดยละเมิดเสียหายเท่าค่าเช่าอย่างต่ำเดือนละ 350 บาท ขอให้ขับไล่จำเลยและบริวารกับใช้ค่าเสียหายดังนี้ ไม่เป็นฟ้องเคลือบคลุมเพราะโจทก์ได้บรรยายโดยชัดแจ้งซึ่งสภาพแห่งข้อหาและคำขอบังคับ ทั้งข้ออ้างที่อาศัยเป็นหลักแห่งข้อหาไว้ครบบริบูรณ์แล้ว โจทก์หาจำเป็นต้องส่งเอกสารซื้อขายบ้านพิพาทพร้อมกับฟ้องไม่
ฟ้องแย้งของจำเลยที่ว่า หากโจทก์ซื้อและรับโอนกรรมสิทธิ์ที่ดินและบ้านพิพาทมาจริงขอให้เพิกถอนนิติกรรมซื้อขายนั้นเสียเพื่อจำเลยจะได้ใช้สิทธิเป็นผู้ซื้อได้ก่อนเป็นคนแรกตามสิทธิที่มีอยู่ในสัญญาเช่าระหว่างจำเลยกับสามีนางตุงกูสะราห์บินตำมะหงงนั้นเป็นเรื่องระหว่างโจทก์กับบุคคลภายนอก จำเลยไม่มีส่วนได้เสียถึงกับจะขอให้ศาลสั่งเพิกถอนนิติกรรมซื้อขายนั้น ฟ้องแย้งของจำเลยจึงไม่เกี่ยวกับฟ้องเดิม
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 448/2517
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
รวมพิจารณาคดีอาญาเด็กและวิธีการลงโทษแบบไม่ลงโทษ (ส่งสถานพินิจ) การรวมโทษและอำนาจศาล
จำเลยกระทำความผิด 2 กรรม โจทก์ฟ้องเป็น 2 สำนวนเมื่อจะเป็นการสะดวกหากพิจารณารวมกัน ศาลชั้นต้นย่อมสั่งให้พิจารณารวมกันได้ ตามประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความอาญามาตรา 15 และประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความแพ่ง มาตรา 28การพิพากษาความผิดของจำเลยจะต้องพิพากษาทุกกรรม ส่วนวิธีการลงโทษต้องปฏิบัติตามประมวลกฎหมายอาญา มาตรา 91 แต่จำเลยมีอายุไม่เกิน 17 ปี และศาลชั้นต้นเห็นว่าไม่สมควรพิพากษาลงโทษ จึงพิพากษาให้ส่งตัวไปรับการฝึกอบรมยังสถานพินิจฯ ดังนี้ ไม่อยู่ในบังคับแห่งมาตรา 91 เพราะไม่ใช่การลงโทษ จึงรวมกำหนดระยะเวลาการส่งตัวไปรับการฝึกอบรมทั้งสองสำนวนเข้าด้วยกันได้ ไม่จำต้องกำหนดว่าสำนวนละเท่าใด
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 448/2517 เวอร์ชัน 2 คำพิพากษาฎีกานี้ มีเนื้อหาจากเว็บทางการหลายรูปแบบ
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
รวมการพิจารณาคดีลักทรัพย์เด็ก - การส่งตัวไปฝึกอบรมไม่ใช่การลงโทษ - รวมโทษได้
จำเลยกระทำความผิด 2 กรรม โจทก์ฟ้องเป็น 2 สำนวนเมื่อจะเป็นการสะดวกหากพิจารณารวมกัน ศาลชั้นต้นย่อมสั่งให้พิจารณารวมกันได้ ตามประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความอาญามาตรา 15 และประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความแพ่ง มาตรา 28การพิพากษาความผิดของจำเลยจะต้องพิพากษาทุกกรรมส่วนวิธีการลงโทษต้องปฏิบัติตามประมวลกฎหมายอาญา มาตรา 91แต่จำเลยมีอายุไม่เกิน 17 ปี และศาลชั้นต้นเห็นว่าไม่สมควรพิพากษาลงโทษ จึงพิพากษาให้ส่งตัวไปรับการฝึกอบรมยังสถานพินิจฯ ดังนี้ ไม่อยู่ในบังคับแห่งมาตรา 91 เพราะไม่ใช่การลงโทษ จึงรวมกำหนดระยะเวลาการส่งตัวไปรับการฝึกอบรมทั้งสองสำนวนเข้าด้วยกันได้ ไม่จำต้องกำหนดว่าสำนวนละเท่าใด
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 235-241/2517
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
การพิจารณาคดีใหม่, ค่าอ้างเอกสาร, และการรับฟังพยานบุคคล: หลักเกณฑ์และขอบเขต
คำสั่งของศาลชั้นต้นที่ให้พิจารณาคดีใหม่ตามประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความแพ่ง มาตรา 205 วรรคสองนั้นเป็นคำสั่งในระหว่างพิจารณา ต้องมีการโต้แย้งไว้ภายหลังมีคำสั่งนั้นแล้ว คู่ความที่โต้แย้งจึงจะยกขึ้นอุทธรณ์คัดค้านได้ตามประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความแพ่ง มาตรา 226(2)
การที่โจทก์เสียค่าอ้างเอกสารไม่ครบ ไม่ปรากฏว่าโจทก์จงใจฝ่าฝืนไม่เสียเมื่อศาลอุทธรณ์มีคำสั่งให้โจทก์เสียให้ครบและโจทก์เสียครบแล้ว ก็รับฟังเอกสารทั้งหมดเป็นพยานได้
ตัวโจทก์มิได้มาเบิกความเป็นพยาน แต่บุตรโจทก์มาเบิกความในฐานะเป็นพยานโจทก์โดยเป็นผู้รู้เห็นเรื่องราวที่เบิกความเอง ดังนี้ บุตรโจทก์หาใช่เบิกความเป็นพยานแทนตัวโจทก์ไม่ คำของบุตรโจทก์จึงรับฟังเป็นพยานได้ตามกฎหมายว่าด้วยพยานหลักฐาน
การที่โจทก์เสียค่าอ้างเอกสารไม่ครบ ไม่ปรากฏว่าโจทก์จงใจฝ่าฝืนไม่เสียเมื่อศาลอุทธรณ์มีคำสั่งให้โจทก์เสียให้ครบและโจทก์เสียครบแล้ว ก็รับฟังเอกสารทั้งหมดเป็นพยานได้
ตัวโจทก์มิได้มาเบิกความเป็นพยาน แต่บุตรโจทก์มาเบิกความในฐานะเป็นพยานโจทก์โดยเป็นผู้รู้เห็นเรื่องราวที่เบิกความเอง ดังนี้ บุตรโจทก์หาใช่เบิกความเป็นพยานแทนตัวโจทก์ไม่ คำของบุตรโจทก์จึงรับฟังเป็นพยานได้ตามกฎหมายว่าด้วยพยานหลักฐาน
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 235-241/2517 เวอร์ชัน 2 คำพิพากษาฎีกานี้ มีเนื้อหาจากเว็บทางการหลายรูปแบบ
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
คำสั่งศาลระหว่างพิจารณา, ค่าอ้างเอกสาร, พยานบุคคล: หลักเกณฑ์การอุทธรณ์และการรับฟังพยานหลักฐาน
คำสั่งของศาลชั้นต้นที่ให้พิจารณาคดีใหม่ตามประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความแพ่ง มาตรา 205 วรรคสองนั้นเป็นคำสั่งในระหว่างพิจารณา ต้องมีการโต้แย้งไว้ภายหลังมีคำสั่งนั้นแล้ว คู่ความที่โต้แย้งจึงจะยกขึ้นอุทธรณ์คัดค้านได้ตามประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความแพ่ง มาตรา 226(2)
การที่โจทก์เสียค่าอ้างเอกสารไม่ครบ ไม่ปรากฏว่าโจทก์จงใจฝ่าฝืนไม่เสียเมื่อศาลอุทธรณ์มีคำสั่งให้โจทก์เสียให้ครบและโจทก์เสียครบแล้ว ก็รับฟังเอกสารทั้งหมดเป็นพยานได้
ตัวโจทก์มิได้มาเบิกความเป็นพยาน แต่บุตรโจทก์มาเบิกความในฐานะเป็นพยานโจทก์โดยเป็นผู้รู้เห็นเรื่องราวที่เบิกความเอง ดังนี้ บุตรโจทก์หาใช่เบิกความเป็นพยานแทนตัวโจทก์ไม่ คำของบุตรโจทก์จึงรับฟังเป็นพยานได้ตามกฎหมายว่าด้วยพยานหลักฐาน
การที่โจทก์เสียค่าอ้างเอกสารไม่ครบ ไม่ปรากฏว่าโจทก์จงใจฝ่าฝืนไม่เสียเมื่อศาลอุทธรณ์มีคำสั่งให้โจทก์เสียให้ครบและโจทก์เสียครบแล้ว ก็รับฟังเอกสารทั้งหมดเป็นพยานได้
ตัวโจทก์มิได้มาเบิกความเป็นพยาน แต่บุตรโจทก์มาเบิกความในฐานะเป็นพยานโจทก์โดยเป็นผู้รู้เห็นเรื่องราวที่เบิกความเอง ดังนี้ บุตรโจทก์หาใช่เบิกความเป็นพยานแทนตัวโจทก์ไม่ คำของบุตรโจทก์จึงรับฟังเป็นพยานได้ตามกฎหมายว่าด้วยพยานหลักฐาน
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 215/2517
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
อำนาจกระทรวงมหาดไทยกำหนดจ่ายเงินชดเชยจากการเลิกจ้างตามประกาศคณะปฏิวัติและบทนิยามค่าจ้าง
กรมแรงงานจำเลยที่ 1 เป็นกรมในรัฐบาลเป็นนิติบุคคลตามกฎหมาย อันความประสงค์ของจำเลยที่ 1 ย่อมแสดงปรากฏจากผู้แทนคืออธิบดีกรมแรงงานซึ่งเป็นผู้แทนโดยตำแหน่ง เมื่ออธิบดีกรมแรงงานซึ่งเป็นพนักงานเจ้าหน้าที่ตามประกาศของคณะปฏิวัติ ฉบับที่ 19 พิจารณาชี้ขาดข้อพิพาทระหว่างโจทก์กับลูกจ้างเกี่ยวด้วยเงินชดเชยซึ่งเป็นการปฏิบัติราชการตามตำแหน่งหน้าที่ โจทก์ย่อมมีอำนาจฟ้องจำเลยที่ 1 ได้ หาจำต้องฟ้องอธิบดีกรมแรงงานในฐานะบุคคลผู้ดำรงตำแหน่งหน้าที่ไม่ จำเลยที่ 1 และจำเลยที่ 2 เจ้าหน้าที่ซึ่งกระทรวงมหาดไทยแต่งตั้งตามประกาศของคณะปฏิวัติ ฉบับที่ 19ได้ออกคำสั่งให้โจทก์จ่ายเงินชดเชยแก่ลูกจ้างนับว่าเกิดมีข้อโต้แย้งเกี่ยวกับสิทธิและหน้าที่ของบุคคลขึ้นแล้ว โจทก์จึงมีอำนาจฟ้องและโจทก์ฟ้องขอให้ศาลพิพากษาว่าคำสั่งที่จำเลยทั้งสองออกมาบังคับแก่โจทก์ตกเป็นโมฆะ มิได้ฟ้องให้จำเลยที่ 1 ต้องรับผิดในการกระทำของจำเลยที่ 2 และไม่ใช่กรณีละเมิด จึงไม่ต้องบรรยายฟ้องว่าจำเลยที่ 2 ได้กระทำไปในทางการที่จ้าง
ตามประกาศกระทรวงมหาดไทยเรื่องกำหนดเวลาทำงานฯลฯ ข้อ 27 เป็นเรื่องที่กระทรวงมหาดไทยออกโดยอาศัยอำนาจตามประกาศของคณะปฏิวัติ ฉบับที่ 19 ข้อ 2 ที่กำหนดให้นายจ้างต้องจ่ายเงินชดเชยให้แก่ลูกจ้างประจำเมื่อเลิกจ้างเท่ากับค่าจ้างไม่น้อยกว่าสามสิบวัน ในเมื่อได้จ้างติดต่อกันมาไม่น้อยกว่าหนึ่งร้อยยี่สิบวัน ซึ่งคำว่า 'เลิกจ้าง' มีบทนิยามไว้ในประกาศกระทรวงมหาดไทยฯ ข้อ 3 หมายความถึงให้ลูกจ้างออกจากงานด้วยการให้ออกปลดออก หรือไล่ออกและรวมถึงการที่นายจ้างไม่ยินยอมให้ลูกจ้างปฏิบัติงานและไม่จ่ายค่าจ้างให้ฯลฯ ตามคำสั่งของจำเลยที่ให้โจทก์จ่ายเงินชดเชยแก่ลูกจ้างนั้นระบุว่าเป็นเรื่องโจทก์นายจ้างเลิกจ้างลูกจ้าง กรณีจึงไม่ต้องด้วยประกาศของคณะปฏิวัติ ฉบับที่ 19 ข้อ 4 ที่ถูกยกเลิกโดยพระราชบัญญัติกำหนดวิธีระงับข้อพิพาทแรงงาน พ.ศ. 2514 มาตรา 3 ซึ่งว่าด้วยวิธีการในเรื่องข้อพิพาทที่เกิดขึ้นระหว่างนายจ้างกับลูกจ้างเกี่ยวกับการทำงาน ค่าจ้าง และการงดจ้างเท่านั้น หาเกี่ยวกับเงินชดเชยซึ่งลูกจ้างจะพึงได้รับอันเนื่องมาจากนายจ้างเลิกจ้างตามประกาศกระทรวงมหาดไทยฯ ข้อ 27 ซึ่งออกโดยอาศัยอำนาจตามประกาศของคณะปฏิวัติ ฉบับที่ 19 ข้อ 2 ไม่
ตามบทนิยามในประกาศกระทรวงมหาดไทยฯ เงินชดเชยนั้นเนื้อแท้ก็เป็น 'ค่าจ้าง' ซึ่งนายจ้างต้องจ่ายให้แก่ลูกจ้างเป็นพิเศษตามความมุ่งหมายในประกาศของคณะปฏิวัติ ฉบับที่ 19 ข้อ 2 นั่นเอง แม้ประกาศของคณะปฏิวัติ ฉบับที่ 19 ข้อ 2 จะมิได้กล่าวถึงเงินชดเชยไว้ กระทรวงมหาดไทยก็มีอำนาจที่จะกำหนดการปฏิบัติในเรื่องนี้ได้ ประกาศกระทรวงมหาดไทย ข้อ 27 ซึ่งออกโดยอาศัยอำนาจตามประกาศของคณะปฏิวัติ ฉบับที่ 19 ข้อ 2 เกี่ยวด้วยเงินชดเชยจึงมีผลบังคับ
ตามประกาศกระทรวงมหาดไทยเรื่องกำหนดเวลาทำงานฯลฯ ข้อ 27 เป็นเรื่องที่กระทรวงมหาดไทยออกโดยอาศัยอำนาจตามประกาศของคณะปฏิวัติ ฉบับที่ 19 ข้อ 2 ที่กำหนดให้นายจ้างต้องจ่ายเงินชดเชยให้แก่ลูกจ้างประจำเมื่อเลิกจ้างเท่ากับค่าจ้างไม่น้อยกว่าสามสิบวัน ในเมื่อได้จ้างติดต่อกันมาไม่น้อยกว่าหนึ่งร้อยยี่สิบวัน ซึ่งคำว่า 'เลิกจ้าง' มีบทนิยามไว้ในประกาศกระทรวงมหาดไทยฯ ข้อ 3 หมายความถึงให้ลูกจ้างออกจากงานด้วยการให้ออกปลดออก หรือไล่ออกและรวมถึงการที่นายจ้างไม่ยินยอมให้ลูกจ้างปฏิบัติงานและไม่จ่ายค่าจ้างให้ฯลฯ ตามคำสั่งของจำเลยที่ให้โจทก์จ่ายเงินชดเชยแก่ลูกจ้างนั้นระบุว่าเป็นเรื่องโจทก์นายจ้างเลิกจ้างลูกจ้าง กรณีจึงไม่ต้องด้วยประกาศของคณะปฏิวัติ ฉบับที่ 19 ข้อ 4 ที่ถูกยกเลิกโดยพระราชบัญญัติกำหนดวิธีระงับข้อพิพาทแรงงาน พ.ศ. 2514 มาตรา 3 ซึ่งว่าด้วยวิธีการในเรื่องข้อพิพาทที่เกิดขึ้นระหว่างนายจ้างกับลูกจ้างเกี่ยวกับการทำงาน ค่าจ้าง และการงดจ้างเท่านั้น หาเกี่ยวกับเงินชดเชยซึ่งลูกจ้างจะพึงได้รับอันเนื่องมาจากนายจ้างเลิกจ้างตามประกาศกระทรวงมหาดไทยฯ ข้อ 27 ซึ่งออกโดยอาศัยอำนาจตามประกาศของคณะปฏิวัติ ฉบับที่ 19 ข้อ 2 ไม่
ตามบทนิยามในประกาศกระทรวงมหาดไทยฯ เงินชดเชยนั้นเนื้อแท้ก็เป็น 'ค่าจ้าง' ซึ่งนายจ้างต้องจ่ายให้แก่ลูกจ้างเป็นพิเศษตามความมุ่งหมายในประกาศของคณะปฏิวัติ ฉบับที่ 19 ข้อ 2 นั่นเอง แม้ประกาศของคณะปฏิวัติ ฉบับที่ 19 ข้อ 2 จะมิได้กล่าวถึงเงินชดเชยไว้ กระทรวงมหาดไทยก็มีอำนาจที่จะกำหนดการปฏิบัติในเรื่องนี้ได้ ประกาศกระทรวงมหาดไทย ข้อ 27 ซึ่งออกโดยอาศัยอำนาจตามประกาศของคณะปฏิวัติ ฉบับที่ 19 ข้อ 2 เกี่ยวด้วยเงินชดเชยจึงมีผลบังคับ
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 215/2517 เวอร์ชัน 2 คำพิพากษาฎีกานี้ มีเนื้อหาจากเว็บทางการหลายรูปแบบ
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
เงินชดเชยจากการเลิกจ้าง: อำนาจของกระทรวงมหาดไทยในการกำหนดตามประกาศคณะปฏิวัติ และการบังคับใช้ตามกฎหมายแรงงาน
กรมแรงงานจำเลยที่ 1 เป็นกรมในรัฐบาลเป็นนิติบุคคลตามกฎหมายอันความประสงค์ของจำเลยที่ 1 ย่อมแสดงปรากฏจากผู้แทนคืออธิบดีกรมแรงงานซึ่งเป็นผู้แทนโดยตำแหน่ง เมื่ออธิบดีกรมแรงงานซึ่งเป็นพนักงานเจ้าหน้าที่ตามประกาศของคณะปฏิวัติ ฉบับที่ 19พิจารณาชี้ขาดข้อพิพาทระหว่างโจทก์กับลูกจ้างเกี่ยวด้วยเงินชดเชยซึ่งเป็นการปฏิบัติราชการตามตำแหน่งหน้าที่ โจทก์ย่อมมีอำนาจฟ้องจำเลยที่ 1 ได้ หาจำต้องฟ้องอธิบดีกรมแรงงานในฐานะบุคคลผู้ดำรงตำแหน่งหน้าที่ไม่ จำเลยที่ 1 และจำเลยที่ 2 เจ้าหน้าที่ซึ่งกระทรวงมหาดไทยแต่งตั้งตามประกาศของคณะปฏิวัติ ฉบับที่ 19ได้ออกคำสั่งให้โจทก์จ่ายเงินชดเชยแก่ลูกจ้างนับว่าเกิดมีข้อโต้แย้งเกี่ยวกับสิทธิและหน้าที่ของบุคคลขึ้นแล้ว โจทก์จึงมีอำนาจฟ้องและโจทก์ฟ้องขอให้ศาลพิพากษาว่าคำสั่งที่จำเลยทั้งสองออกมาบังคับแก่โจทก์ตกเป็นโมฆะ มิได้ฟ้องให้จำเลยที่ 1 ต้องรับผิดในการกระทำของจำเลยที่ 2 และไม่ใช่กรณีละเมิด จึงไม่ต้องบรรยายฟ้องว่าจำเลยที่ 2 ได้กระทำไปในทางการที่จ้าง
ตามประกาศกระทรวงมหาดไทยเรื่องกำหนดเวลาทำงานฯลฯข้อ 27 เป็นเรื่องที่กระทรวงมหาดไทยออกโดยอาศัยอำนาจตามประกาศของคณะปฏิวัติ ฉบับที่ 19 ข้อ 2 ที่กำหนดให้นายจ้างต้องจ่ายเงินชดเชยให้แก่ลูกจ้างประจำเมื่อเลิกจ้างเท่ากับค่าจ้างไม่น้อยกว่าสามสิบวัน ในเมื่อได้จ้างติดต่อกันมาไม่น้อยกว่าหนึ่งร้อยยี่สิบวัน ซึ่งคำว่า 'เลิกจ้าง' มีบทนิยามไว้ในประกาศกระทรวงมหาดไทยฯ ข้อ 3 หมายความถึงให้ลูกจ้างออกจากงานด้วยการให้ออกปลดออก หรือไล่ออกและรวมถึงการที่นายจ้างไม่ยินยอมให้ลูกจ้างปฏิบัติงานและไม่จ่ายค่าจ้างให้ฯลฯ ตามคำสั่งของจำเลยที่ให้โจทก์จ่ายเงินชดเชยแก่ลูกจ้างนั้นระบุว่าเป็นเรื่องโจทก์นายจ้างเลิกจ้างลูกจ้าง กรณีจึงไม่ต้องด้วยประกาศของคณะปฏิวัติ ฉบับที่ 19 ข้อ 4 ที่ถูกยกเลิกโดยพระราชบัญญัติกำหนดวิธีระงับข้อพิพาทแรงงาน พ.ศ. 2514มาตรา 3 ซึ่งว่าด้วยวิธีการในเรื่องข้อพิพาทที่เกิดขึ้นระหว่างนายจ้างกับลูกจ้างเกี่ยวกับการทำงาน ค่าจ้าง และการงดจ้างเท่านั้น หาเกี่ยวกับเงินชดเชยซึ่งลูกจ้างจะพึงได้รับอันเนื่องมาจากนายจ้างเลิกจ้างตามประกาศกระทรวงมหาดไทยฯ ข้อ 27 ซึ่งออกโดยอาศัยอำนาจตามประกาศของคณะปฏิวัติ ฉบับที่ 19 ข้อ 2 ไม่
ตามบทนิยามในประกาศกระทรวงมหาดไทยฯ เงินชดเชยนั้นเนื้อแท้ก็เป็น "ค่าจ้าง" ซึ่งนายจ้างต้องจ่ายให้แก่ลูกจ้างเป็นพิเศษตามความมุ่งหมายในประกาศของคณะปฏิวัติ ฉบับที่ 19 ข้อ 2นั่นเอง แม้ประกาศของคณะปฏิวัติ ฉบับที่ 19 ข้อ 2 จะมิได้กล่าวถึงเงินชดเชยไว้ กระทรวงมหาดไทยก็มีอำนาจที่จะกำหนดการปฏิบัติในเรื่องนี้ได้ ประกาศกระทรวงมหาดไทย ข้อ 27 ซึ่งออกโดยอาศัยอำนาจตามประกาศของคณะปฏิวัติ ฉบับที่ 19 ข้อ 2 เกี่ยวด้วยเงินชดเชยจึงมีผลบังคับ
ตามประกาศกระทรวงมหาดไทยเรื่องกำหนดเวลาทำงานฯลฯข้อ 27 เป็นเรื่องที่กระทรวงมหาดไทยออกโดยอาศัยอำนาจตามประกาศของคณะปฏิวัติ ฉบับที่ 19 ข้อ 2 ที่กำหนดให้นายจ้างต้องจ่ายเงินชดเชยให้แก่ลูกจ้างประจำเมื่อเลิกจ้างเท่ากับค่าจ้างไม่น้อยกว่าสามสิบวัน ในเมื่อได้จ้างติดต่อกันมาไม่น้อยกว่าหนึ่งร้อยยี่สิบวัน ซึ่งคำว่า 'เลิกจ้าง' มีบทนิยามไว้ในประกาศกระทรวงมหาดไทยฯ ข้อ 3 หมายความถึงให้ลูกจ้างออกจากงานด้วยการให้ออกปลดออก หรือไล่ออกและรวมถึงการที่นายจ้างไม่ยินยอมให้ลูกจ้างปฏิบัติงานและไม่จ่ายค่าจ้างให้ฯลฯ ตามคำสั่งของจำเลยที่ให้โจทก์จ่ายเงินชดเชยแก่ลูกจ้างนั้นระบุว่าเป็นเรื่องโจทก์นายจ้างเลิกจ้างลูกจ้าง กรณีจึงไม่ต้องด้วยประกาศของคณะปฏิวัติ ฉบับที่ 19 ข้อ 4 ที่ถูกยกเลิกโดยพระราชบัญญัติกำหนดวิธีระงับข้อพิพาทแรงงาน พ.ศ. 2514มาตรา 3 ซึ่งว่าด้วยวิธีการในเรื่องข้อพิพาทที่เกิดขึ้นระหว่างนายจ้างกับลูกจ้างเกี่ยวกับการทำงาน ค่าจ้าง และการงดจ้างเท่านั้น หาเกี่ยวกับเงินชดเชยซึ่งลูกจ้างจะพึงได้รับอันเนื่องมาจากนายจ้างเลิกจ้างตามประกาศกระทรวงมหาดไทยฯ ข้อ 27 ซึ่งออกโดยอาศัยอำนาจตามประกาศของคณะปฏิวัติ ฉบับที่ 19 ข้อ 2 ไม่
ตามบทนิยามในประกาศกระทรวงมหาดไทยฯ เงินชดเชยนั้นเนื้อแท้ก็เป็น "ค่าจ้าง" ซึ่งนายจ้างต้องจ่ายให้แก่ลูกจ้างเป็นพิเศษตามความมุ่งหมายในประกาศของคณะปฏิวัติ ฉบับที่ 19 ข้อ 2นั่นเอง แม้ประกาศของคณะปฏิวัติ ฉบับที่ 19 ข้อ 2 จะมิได้กล่าวถึงเงินชดเชยไว้ กระทรวงมหาดไทยก็มีอำนาจที่จะกำหนดการปฏิบัติในเรื่องนี้ได้ ประกาศกระทรวงมหาดไทย ข้อ 27 ซึ่งออกโดยอาศัยอำนาจตามประกาศของคณะปฏิวัติ ฉบับที่ 19 ข้อ 2 เกี่ยวด้วยเงินชดเชยจึงมีผลบังคับ
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 199/2517
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
การทำร้ายร่างกายด้วยอาวุธอันตราย: ศาลฎีกาตัดสินว่าจำเลยไม่มีเจตนาฆ่า แต่ทำร้ายร่างกายจนเป็นอันตราย
จำเลยกับผู้เสียหายต่างเมาสุราเดินมาด้วยกัน และพูดผิดใจกันด้วยเรื่องเล็กน้อย จำเลยได้ใช้สันขวานหนา 1.85 เซนติเมตร กว้าง 4 เซนติเมตร ตีหน้าผากผู้เสียหายจนสลบไปชั่วครู่ กะโหลกศีรษะเพียงแต่ยุบนิด ๆ รักษาประมาณ 15 วันหาย แสดงว่าจำเลยตีไม่แรงนัก ตีแล้วก็หนีไปมิได้ตีซ้ำเติมอีก ยังไม่พอฟังว่าจำเลยมีเจตนาฆ่า คงมีความผิดฐานทำร้ายร่างกายเท่านั้น
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 167/2517 เวอร์ชัน 2 คำพิพากษาฎีกานี้ มีเนื้อหาจากเว็บทางการหลายรูปแบบ
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
การปลอมแปลงเอกสารสิทธิเพื่อหลอกลวงเอาเงินกู้ และการใช้เอกสารปลอมนั้น
จำเลยกู้เงินผู้เสียหายแล้วทำหนังสือสัญญากู้ลงลายมือชื่อผู้อื่นในช่องผู้กู้ ทำให้ผู้เสียหายหลงเชื่อว่าจำเลยเองเป็นผู้กู้ การกระทำของจำเลยเป็นการทุจริตเพื่อจะให้ได้เงินที่กู้ไป แต่มิให้ผู้เสียหายใช้สัญญากู้นั้นเป็นหลักฐานฟ้องร้องเรียกเงินคืนจากจำเลย ผู้เสียหายได้รับความเสียหายจำเลยจึงมีความผิดฐานปลอมเอกสารสิทธิเมื่อจำเลยได้มอบสัญญากู้ให้ผู้เสียหายยึดถือไว้ จำเลยจึงมีความผิดฐานใช้เอกสารสิทธิปลอมอีกกระทงหนึ่ง