พบผลลัพธ์ทั้งหมด 7 รายการ
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 1546/2511 เวอร์ชัน 2 คำพิพากษาฎีกานี้ มีเนื้อหาจากเว็บทางการหลายรูปแบบ
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
เจ้าพนักงานเรียกรับเงินจากผู้ต้องหาเพื่อแลกกับการปล่อยตัว ความผิดตาม ม.149 และความแตกต่างจากความผิดฐานกรรโชก
ศาลชั้นต้นและศาลอุทธรณ์พิพากษายืนให้ลงโทษจำคุกจำเลยไม่เกิน 5 ปี แม้ศาลอุทธรณ์จะพิพากษาแก้ให้ยกคำขอของโจทก์ในข้อที่ขอให้ใช้ทรัพย์มิใช่เป็นการแก้ไขมาก จึงต้องห้ามมิให้คู่ความฎีกาในปัญหาข้อเท็จจริงตามประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความอาญา มาตรา 218
จำเลยเป็นเจ้าพนักงาน มีหน้าที่ ได้เรียกเงินจากผู้ที่จำเลยจับกุมตัวมาแล้วปล่อยผู้ต้องหาไป อันเป็นการเรียกหรือยอมจะรับทรัพย์สินหรือประโยชน์อย่างอื่นสำหรับตนเองหรือผู้อื่นโดยมิชอบ เพื่อละเว้นไม่จับกุมผู้เสียหาย อันเป็นการมิชอบด้วยหน้าที่ของจำเลย จำเลยจึงมีผิดตามประมวลกฎหมายอาญา มาตรา 149 และพระราชบัญญัติแก้ไขเพิ่มเติมประมวลกฎหมายอาญา พ.ศ.2502 มาตรา 5 หามีความผิดฐานกรรโชกตามประมวลกฎหมายอาญา มาตรา 337 อีกบทหนึ่งด้วยไม่ และเมื่อการกระทำของจำเลยมิได้เป็นผิดตามมาตรา 337 แล้ว โจทก์ก็ไม่มีอำนาจขอให้จำเลยใช้ทรัพย์หรือคืนทรัพย์ตามประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความอาญา มาตรา 43
จำเลยเป็นเจ้าพนักงาน มีหน้าที่ ได้เรียกเงินจากผู้ที่จำเลยจับกุมตัวมาแล้วปล่อยผู้ต้องหาไป อันเป็นการเรียกหรือยอมจะรับทรัพย์สินหรือประโยชน์อย่างอื่นสำหรับตนเองหรือผู้อื่นโดยมิชอบ เพื่อละเว้นไม่จับกุมผู้เสียหาย อันเป็นการมิชอบด้วยหน้าที่ของจำเลย จำเลยจึงมีผิดตามประมวลกฎหมายอาญา มาตรา 149 และพระราชบัญญัติแก้ไขเพิ่มเติมประมวลกฎหมายอาญา พ.ศ.2502 มาตรา 5 หามีความผิดฐานกรรโชกตามประมวลกฎหมายอาญา มาตรา 337 อีกบทหนึ่งด้วยไม่ และเมื่อการกระทำของจำเลยมิได้เป็นผิดตามมาตรา 337 แล้ว โจทก์ก็ไม่มีอำนาจขอให้จำเลยใช้ทรัพย์หรือคืนทรัพย์ตามประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความอาญา มาตรา 43
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 1546/2511
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
เจ้าพนักงานเรียกรับเงินเพื่อละเว้นการจับกุม มีความผิดฐานเจ้าพนักงานปฏิบัติหน้าที่โดยมิชอบ ไม่ใช่กรรโชก
ศาลชั้นต้นและศาลอุทธรณ์พิพากษายืนให้ลงโทษจำคุกจำเลยไม่เกิน 5 ปี. แม้ศาลอุทธรณ์จะพิพากษาแก้ให้ยกคำขอของโจทก์ในข้อที่ขอให้ใช้ทรัพย์มิใช่เป็นการแก้ไขมาก.จึงต้องห้ามมิให้คู่ความฎีกาในปัญหาข้อเท็จจริงตามประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความอาญา มาตรา 218.
จำเลยเป็นเจ้าพนักงาน มีหน้าที่ ได้เรียกเงินจากผู้ที่จำเลยจับกุมตัวมาแล้วปล่อยผู้ต้องหาไป. อันเป็นการเรียกหรือยอมจะรับทรัพย์สินหรือประโยชน์อย่างอื่นสำหรับตนเองหรือผู้อื่นโดยมิชอบ. เพื่อละเว้นไม่จับกุมผู้เสียหาย. อันเป็นการมิชอบด้วยหน้าที่ของจำเลย. จำเลยจึงมีผิดตามประมวลกฎหมายอาญา มาตรา 149. และพระราชบัญญัติแก้ไขเพิ่มเติมประมวลกฎหมายอาญา พ.ศ.2502 มาตรา 5. หามีความผิดฐานกรรโชกตามประมวลกฎหมายอาญา มาตรา 337 อีกบทหนึ่งด้วยไม่. และเมื่อการกระทำของจำเลยมิได้เป็นผิดตามมาตรา 337 แล้ว. โจทก์ก็ไม่มีอำนาจขอให้จำเลยใช้ทรัพย์หรือคืนทรัพย์ตามประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความอาญามาตรา 43.
จำเลยเป็นเจ้าพนักงาน มีหน้าที่ ได้เรียกเงินจากผู้ที่จำเลยจับกุมตัวมาแล้วปล่อยผู้ต้องหาไป. อันเป็นการเรียกหรือยอมจะรับทรัพย์สินหรือประโยชน์อย่างอื่นสำหรับตนเองหรือผู้อื่นโดยมิชอบ. เพื่อละเว้นไม่จับกุมผู้เสียหาย. อันเป็นการมิชอบด้วยหน้าที่ของจำเลย. จำเลยจึงมีผิดตามประมวลกฎหมายอาญา มาตรา 149. และพระราชบัญญัติแก้ไขเพิ่มเติมประมวลกฎหมายอาญา พ.ศ.2502 มาตรา 5. หามีความผิดฐานกรรโชกตามประมวลกฎหมายอาญา มาตรา 337 อีกบทหนึ่งด้วยไม่. และเมื่อการกระทำของจำเลยมิได้เป็นผิดตามมาตรา 337 แล้ว. โจทก์ก็ไม่มีอำนาจขอให้จำเลยใช้ทรัพย์หรือคืนทรัพย์ตามประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความอาญามาตรา 43.
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 1546/2511 เวอร์ชัน 3 คำพิพากษาฎีกานี้ มีเนื้อหาจากเว็บทางการหลายรูปแบบ
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
เจ้าพนักงานเรียกรับเงินเพื่อละเว้นการจับกุม ไม่เป็นความผิดฐานกรรโชก แต่ผิดฐานเรียกรับทรัพย์สินโดยมิชอบ
ศาลชั้นต้นและศาลอุทธรณ์พิพากษายืนให้ลงโทษจำคุกจำเลยไม่เกิน 5 ปี แม้ศาลอุทธรณ์จะพิพากษาแก้ให้ยกคำขอของโจทก์ในข้อที่ขอให้ใช้ทรัพย์มิใช่เป็นการแก้ไขมาก จึงต้องห้ามมิให้คู่ความฎีกาในปัญหาข้อเท็จจริงตามประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความอาญา มาตรา 218
จำเลยเป็นเจ้าพนักงาน มีหน้าที่ ได้เรียกเงินจากผู้ที่จำเลยจับกุมตัวมาแล้วปล่อยผู้ต้องหาไป อันเป็นการเรียกหรือยอมจะรับทรัพย์สินหรือประโยชน์อย่างอื่นสำหรับตนเองหรือผู้อื่นโดยมิชอบ เพื่อละเว้นไม่จับกุมผู้เสียหาย อันเป็นการมิชอบด้วยหน้าที่ของจำเลย จำเลยจึงมีผิดตามประมวลกฎหมายอาญา มาตรา 149 และพระราชบัญญัติแก้ไขเพิ่มเติมประมวลกฎหมายอาญา พ.ศ.2502 มาตรา 5 หามีความผิดฐานกรรโชกตามประมวลกฎหมายอาญา มาตรา 337 อีกบทหนึ่งด้วยไม่ และเมื่อการกระทำของจำเลยมิได้เป็นผิดตามมาตรา 337 แล้ว โจทก์ก็ไม่มีอำนาจขอให้จำเลยใช้ทรัพย์หรือคืนทรัพย์ตามประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความอาญามาตรา 43
จำเลยเป็นเจ้าพนักงาน มีหน้าที่ ได้เรียกเงินจากผู้ที่จำเลยจับกุมตัวมาแล้วปล่อยผู้ต้องหาไป อันเป็นการเรียกหรือยอมจะรับทรัพย์สินหรือประโยชน์อย่างอื่นสำหรับตนเองหรือผู้อื่นโดยมิชอบ เพื่อละเว้นไม่จับกุมผู้เสียหาย อันเป็นการมิชอบด้วยหน้าที่ของจำเลย จำเลยจึงมีผิดตามประมวลกฎหมายอาญา มาตรา 149 และพระราชบัญญัติแก้ไขเพิ่มเติมประมวลกฎหมายอาญา พ.ศ.2502 มาตรา 5 หามีความผิดฐานกรรโชกตามประมวลกฎหมายอาญา มาตรา 337 อีกบทหนึ่งด้วยไม่ และเมื่อการกระทำของจำเลยมิได้เป็นผิดตามมาตรา 337 แล้ว โจทก์ก็ไม่มีอำนาจขอให้จำเลยใช้ทรัพย์หรือคืนทรัพย์ตามประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความอาญามาตรา 43
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 1670/2509 เวอร์ชัน 2 คำพิพากษาฎีกานี้ มีเนื้อหาจากเว็บทางการหลายรูปแบบ
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
อำนาจหน้าที่ตำรวจดับเพลิงในการสืบสวนคดีอาญาและการเรียกรับเงินเพื่อละเว้นการจับกุม
จำเลยเป็นตำรวจประจำกองบังคับการตำรวจดับเพลิง ได้สมคบกับจำเลยอื่นแสดงตัวกับผู้เสียหายว่าเป็นตำรวจ จะจับตัวผู้เสียหายฐานขายยาผิดประเภท แต่จำเลยกลับเรียกเอาเงินจากผู้เสียหาย เพื่อไม่จับกุมดำเนินคดีดังกล่าว จำเลยจึงต้องมีความผิดฐานทุจริตต่อหน้าที่ จำเลยจะอ้างว่าเป็นตำรวจดับเพลิง มีหน้าที่ดับเพลิงเท่านั้น ไม่มีอำนาจสอบสวนสืบสวนเพื่อจับกุมผู้กระทำผิดอาญาหาได้ไม่ เพราะหน้าที่การดับเพลิงนั้นเป็นหน้าที่เฉพาะตามที่ทางราชการแต่งตั้งให้ปฏิบัติ แต่โดยทั่วไปแล้ว จำเลยย่อมมีอำนาจทำการสืบสวนคดีอาญาได้ตามประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความอาญา เมื่อจำเลยได้เรียกและรับเอาเงินจากผู้เสียหาย เพื่อไม่จับกุมดำเนินคดีอาญาฐานขายยาผิดประเภท จำเลยย่อมมีความผิดฐานทุจริตต่อหน้าที่
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 1670/2509
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
ตำรวจดับเพลิงมีอำนาจสืบสวนคดีอาญาได้ การเรียกรับเงินเพื่อไม่ดำเนินคดีเป็นทุจริตต่อหน้าที่
จำเลยเป็นตำรวจประจำกองบังคับการตำรวจดับเพลิง ได้สมคบกับจำเลยอื่นแสดงตัวกับผู้เสียหายว่าเป็นตำรวจ จะจับตัวผู้เสียหายฐานขายยาผิดประเภท แต่จำเลยกลับเรียกเอาเงินจากผู้เสียหาย เพื่อไม่จับกุมดำเนินคดีดังกล่าว จำเลยจึงต้องมีความผิดฐานทุจริตต่อหน้าที่ จำเลยจะอ้างว่าเป็นตำรวจดับเพลิง มีหน้าที่ดับเพลิงเท่านั้นไม่มีอำนาจสอบสวนสืบสวนเพื่อจับกุมผู้กระทำผิดอาญาหาได้ไม่เพราะหน้าที่การดับเพลิงนั้นเป็นหน้าที่เฉพาะตามที่ทางราชการแต่งตั้งให้ปฏิบัติ แต่โดยทั่วไปแล้ว จำเลยย่อมมีอำนาจทำการสืบสวนคดีอาญาได้ตามประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความอาญา เมื่อจำเลยได้เรียกและรับเอาเงินจากผู้เสียหาย เพื่อไม่จับกุมดำเนินคดีอาญาฐานขายยาผิดประเภท จำเลยย่อมมีความผิดฐานทุจริตต่อหน้าที่
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 1138/2505
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
เจ้าพนักงานทุจริตเรียกรับเงินแล้วปล่อยตัวผู้ต้องหา ความผิดตามประมวลกฎหมายอาญา มาตรา 149
เป็นเจ้าพนักงานทำการจับกุมเขาโดยชอบแล้ว แต่กลับทุจริตเรียกและรับเงินแล้วปล่อยตัวไปไม่ส่งตัวเพื่อดำเนินคดี ความผิดย่อมเข้าประมวลกฎหมายอาญา มาตรา 149 แก้ไขเพิ่มเติมพ.ศ.2502 มาตรา 5 แต่ไม่ผิดมาตรา 148 เพราะมาตรา148 เป็นเรื่องเริ่มต้นด้วยการใช้อำนาจในตำแหน่งโดยมิชอบ แต่มาตรา 149 นั้น เป็นเรื่องเริ่มต้นโดยใช้อำนาจในตำแหน่งโดยชอบแล้วกลับทุจริต
อนึ่ง เมื่อผิดมาตรา 149 อันเป็นบทเฉพาะแล้วย่อมไม่ผิดมาตรา 157 ซึ่งเป็นบททั่วไปอีก
อนึ่ง เมื่อผิดมาตรา 149 อันเป็นบทเฉพาะแล้วย่อมไม่ผิดมาตรา 157 ซึ่งเป็นบททั่วไปอีก
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 1138/2505 เวอร์ชัน 2 คำพิพากษาฎีกานี้ มีเนื้อหาจากเว็บทางการหลายรูปแบบ
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
เจ้าพนักงานทุจริตเรียกรับเงินปล่อยตัวผู้ต้องหา ความผิดตามมาตรา 149 ย่อมไม่ผิดมาตรา 157
เป็นเจ้าพนักงานทำการจับกุมเขาโดยชอบแล้ว แต่กลับทุจริตเรียกและรับเงินแล้วปล่อยไปไม่ส่งตัวเพื่อดำเนินคดี ความผิดย่อมเข้าประมวลกฎหมายอาญามาตรา 149 แก้ไขเพิ่มเติม พ.ศ. 2502 มาตรา 5 แต่ไม่ผิดมาตรา 148 เพราะมาตรา 148 เป็นเรื่องเริ่มต้นด้วยการใช้อำนาจในตำแหน่งโดยมิชอบแต่มาตรา 149 นั้น เป็นเรื่องเริ่มต้นโดยใช้อำนาจในตำแหน่งโดยชอบแล้วกลับทุจริต
อนึ่ง เมื่อผิดมาตรา 149 อันเป็นบทเฉพาะแล้วย่อมไม่ผิดมาตรา 157 ซึ่งเป็นบททั่วไปอีก
อนึ่ง เมื่อผิดมาตรา 149 อันเป็นบทเฉพาะแล้วย่อมไม่ผิดมาตรา 157 ซึ่งเป็นบททั่วไปอีก