พบผลลัพธ์ทั้งหมด 10 รายการ
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 3251/2516 เวอร์ชัน 2 คำพิพากษาฎีกานี้ มีเนื้อหาจากเว็บทางการหลายรูปแบบ
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
การปรับบทลงโทษอาญาและการยืนยันสถานะผู้เสียหาย แม้มีคดีอื่นที่เกี่ยวข้อง ศาลฎีกาห้ามฎีกาในปัญหาข้อเท็จจริง
โจทก์ฟ้องขอให้ลงโทษจำเลยตามพระราชบัญญัติแก้ไขเพิ่มเติมประมวลกฎหมายอาญา มาตรา 13 ศาลปรับบทลงโทษตามประมวลกฎหมายอาญา มาตรา 157 พระราชบัญญัติแก้ไขเพิ่มเติมประมวลกฎหมายอาญา พ.ศ.2502 มาตรา 13 ได้ไม่เป็นการพิพากษาเกินคำขอ
โจทก์ฟ้องว่า โจทก์ถูกจำเลย 3 คนในอีกคดีหนึ่งทำร้ายร่างกาย แล้วโจทก์ได้แจ้งความต่อจำเลยซึ่งเป็นผู้ใหญ่บ้านให้จับกุมจำเลย 3 คนนั้น จำเลยไม่จับ กลับรายงานเท็จว่าโจทก์กับจำเลย 3 คนนั้นทะเลาะวิวาทกัน แม้ในคดีอีกเรื่องหนึ่งนั้นโจทก์ถูกฟ้องว่าสมัครใจวิวาทกับจำเลย 3 คนนั้น โจทก์รับสารภาพศาลชั้นต้นพิพากษาลงโทษไปแล้วหลังจากพิพากษาคดีนี้ แต่เมื่อคดีนี้ศาลล่างฟังข้อเท็จจริงต้องกันมาว่าโจทก์ถูกทำร้ายฝ่ายเดียวโจทก์เป็นผู้เสียหาย จำเลยจะฎีกาว่าโจทก์ไม่ใช่ผู้เสียหายเพราะโจทก์สมัครใจวิวาทกับอีกฝ่ายหนึ่งหาได้ไม่ เพราะเป็นฎีกาในปัญหาข้อเท็จจริงซึ่งต้องห้ามฎีกาตามประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความอาญา มาตรา 218
โจทก์ฟ้องว่า โจทก์ถูกจำเลย 3 คนในอีกคดีหนึ่งทำร้ายร่างกาย แล้วโจทก์ได้แจ้งความต่อจำเลยซึ่งเป็นผู้ใหญ่บ้านให้จับกุมจำเลย 3 คนนั้น จำเลยไม่จับ กลับรายงานเท็จว่าโจทก์กับจำเลย 3 คนนั้นทะเลาะวิวาทกัน แม้ในคดีอีกเรื่องหนึ่งนั้นโจทก์ถูกฟ้องว่าสมัครใจวิวาทกับจำเลย 3 คนนั้น โจทก์รับสารภาพศาลชั้นต้นพิพากษาลงโทษไปแล้วหลังจากพิพากษาคดีนี้ แต่เมื่อคดีนี้ศาลล่างฟังข้อเท็จจริงต้องกันมาว่าโจทก์ถูกทำร้ายฝ่ายเดียวโจทก์เป็นผู้เสียหาย จำเลยจะฎีกาว่าโจทก์ไม่ใช่ผู้เสียหายเพราะโจทก์สมัครใจวิวาทกับอีกฝ่ายหนึ่งหาได้ไม่ เพราะเป็นฎีกาในปัญหาข้อเท็จจริงซึ่งต้องห้ามฎีกาตามประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความอาญา มาตรา 218
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 3251/2516
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
ขอบเขตการปรับบทลงโทษและการพิสูจน์ข้อเท็จจริงเรื่องผู้เสียหายในคดีอาญา
โจทก์ฟ้องขอให้ลงโทษจำเลยตามพระราชบัญญัติแก้ไขเพิ่มเติมประมวลกฎหมายอาญา มาตรา 13 ศาลปรับบทลงโทษตามประมวลกฎหมายอาญา มาตรา 157 พระราชบัญญัติแก้ไขเพิ่มเติมประมวลกฎหมายอาญา พ.ศ.2502 มาตรา 13 ได้ไม่เป็นการพิพากษาเกินคำขอ
โจทก์ฟ้องว่า โจทก์ถูกจำเลย 3 คนในอีกคดีหนึ่งทำร้ายร่างกาย แล้วโจทก์ได้แจ้งความต่อจำเลยซึ่งเป็นผู้ใหญ่บ้านให้จับกุมจำเลย 3 คนนั้น จำเลยไม่จับกลับรายงานเท็จว่าโจทก์กับจำเลย 3 คนนั้นทะเลาะวิวาทกัน แม้ในคดีอีกเรื่องหนึ่งนั้น โจทก์ถูกฟ้องว่าสมัครใจวิวาทกับจำเลย 3 คนนั้น โจทก์รับสารภาพ ศาลชั้นต้นพิพากษาลงโทษไปแล้วหลังจากพิพากษาคดีนี้ แต่เมื่อคดีนี้ศาลล่างฟังข้อเท็จจริงต้องกันมาว่าโจทก์ถูกทำร้ายฝ่ายเดียวโจทก์เป็นผู้เสียหาย จำเลยจะฎีกาว่าโจทก์ไม่ใช่ผู้เสียหายเพราะโจทก์สมัครใจวิวาทกับอีกฝ่ายหนึ่งหาได้ไม่ เพราะเป็นฎีกาในปัญหาข้อเท็จจริงซึ่งต้องห้ามฎีกาตามประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความอาญา มาตรา 218
โจทก์ฟ้องว่า โจทก์ถูกจำเลย 3 คนในอีกคดีหนึ่งทำร้ายร่างกาย แล้วโจทก์ได้แจ้งความต่อจำเลยซึ่งเป็นผู้ใหญ่บ้านให้จับกุมจำเลย 3 คนนั้น จำเลยไม่จับกลับรายงานเท็จว่าโจทก์กับจำเลย 3 คนนั้นทะเลาะวิวาทกัน แม้ในคดีอีกเรื่องหนึ่งนั้น โจทก์ถูกฟ้องว่าสมัครใจวิวาทกับจำเลย 3 คนนั้น โจทก์รับสารภาพ ศาลชั้นต้นพิพากษาลงโทษไปแล้วหลังจากพิพากษาคดีนี้ แต่เมื่อคดีนี้ศาลล่างฟังข้อเท็จจริงต้องกันมาว่าโจทก์ถูกทำร้ายฝ่ายเดียวโจทก์เป็นผู้เสียหาย จำเลยจะฎีกาว่าโจทก์ไม่ใช่ผู้เสียหายเพราะโจทก์สมัครใจวิวาทกับอีกฝ่ายหนึ่งหาได้ไม่ เพราะเป็นฎีกาในปัญหาข้อเท็จจริงซึ่งต้องห้ามฎีกาตามประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความอาญา มาตรา 218
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 1096/2513
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
อำนาจเจ้าอาวาสในการสั่งออกจากวัดและการสอบสวนที่ไม่เป็นธรรม
โจทก์เป็นพระภิกษุในวัดที่จำเลยเป็นเจ้าอาวาส โจทก์ถูกกล่าวหาว่าได้เสพเมถุนธรรมกับหญิง จำเลยได้ตั้งกรรมการทำการสอบสวนโดยจำเลยเป็นประธานกรรมการ แม้ในการสอบสวนจำเลยจะทำการสอบสวนผู้กล่าวหาซึ่งเป็นพระภิกษุสามเณรพร้อม ๆกันลับหลังโจทก์โดยอนุญาตให้พระภิกษุบางองค์ตอบแทนกัน และไม่เรียกพยานของโจทก์มาทำการสอบสวนอันเป็นการไม่ต้องด้วยพระธรรมวินัย ระเบียบบังคับ และกฎของมหาเถรสมาคมและในที่สุดจำเลยได้มีคำสั่งให้โจทก์ออกจากวัดโดยที่การสอบสวนไม่ได้ความชัดว่า โจทก์ได้กระทำผิดตามที่ถูกกล่าวหาก็ตาม การกระทำของจำเลยก็เป็นเรื่องผิดระเบียบการสอบสวนเท่านั้น และการที่จำเลยมีคำสั่งให้โจทก์ออกจากวัด โดยอาศัยอำนาจตามพระราชบัญญัติคณะสงฆ์ พ.ศ. 2505 ก็เพื่อให้มีความสงบสุขในวัด มิใช่จำเลยกลั่นแกล้งโจทก์จำเลยย่อมไม่มีความผิดตามประมวลกฎหมายอาญา มาตรา 157
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 1096/2513 เวอร์ชัน 2 คำพิพากษาฎีกานี้ มีเนื้อหาจากเว็บทางการหลายรูปแบบ
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
การสอบสวนอธิกรณ์พระสงฆ์และการสั่งให้พระภิกษุออกจากวัด ศาลฎีกาตัดสินว่าเป็นการใช้อำนาจตามกฎหมายเพื่อความสงบสุขในวัด ไม่เป็นความผิดอาญา
โจทก์เป็นพระภิกษุในวัดที่จำเลยเป็นเจ้าอาวาส โจทก์ถูกกล่าวหาว่าได้เสพเมถุนธรรมกับหญิง จำเลยได้ตั้งกรรมการทำการสอบสวนโดยจำเลยเป็นประธานกรรมการ แม้ในการสอบสวนจำเลยจะทำการสอบสวนผู้กล่าวหาซึ่งเป็นพระภิกษุสามเณรพร้อม ๆ กัน ลับหลังโจทก์ โดยอนุญาตให้พระภิกษุบางองค์ตอบแทนกัน และไม่เรียกพยานของโจทก์มาทำการสอบสวน อันเป็นการไม่ต้องด้วยพระธรรมวินัย ระเบียบบังคับ และกฎของมหาเถรสมาคม และในที่สุดจำเลยได้มีคำสั่งให้โจทก์ออกจากวัดโดยที่การสอบสวนไม่ได้ความชัดว่าโจทก์ได้กระทำผิดตามที่ถูกกล่าวหาก็ตาม การกระทำของจำเลยก็เป็นเรื่องผิดระเบียบการสอบสวนเท่านั้น และการที่จำเลยมีคำสั่งให้โจทก์ออกจากวัด โดยอาศัยอำนาจตามพระราชบัญญัติคณะสงฆ์ พ.ศ. 2505 ก็เพื่อให้มีความสงบสุขในวัด มิใช่จำเลยกลั่นแกล้งโจทก์ จำเลยย่อมไม่มีความผิดตามประมวลกฎหมายอาญา มาตรา 157
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 1670/2509 เวอร์ชัน 2 คำพิพากษาฎีกานี้ มีเนื้อหาจากเว็บทางการหลายรูปแบบ
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
อำนาจหน้าที่ตำรวจดับเพลิงในการสืบสวนคดีอาญาและการเรียกรับเงินเพื่อละเว้นการจับกุม
จำเลยเป็นตำรวจประจำกองบังคับการตำรวจดับเพลิง ได้สมคบกับจำเลยอื่นแสดงตัวกับผู้เสียหายว่าเป็นตำรวจ จะจับตัวผู้เสียหายฐานขายยาผิดประเภท แต่จำเลยกลับเรียกเอาเงินจากผู้เสียหาย เพื่อไม่จับกุมดำเนินคดีดังกล่าว จำเลยจึงต้องมีความผิดฐานทุจริตต่อหน้าที่ จำเลยจะอ้างว่าเป็นตำรวจดับเพลิง มีหน้าที่ดับเพลิงเท่านั้น ไม่มีอำนาจสอบสวนสืบสวนเพื่อจับกุมผู้กระทำผิดอาญาหาได้ไม่ เพราะหน้าที่การดับเพลิงนั้นเป็นหน้าที่เฉพาะตามที่ทางราชการแต่งตั้งให้ปฏิบัติ แต่โดยทั่วไปแล้ว จำเลยย่อมมีอำนาจทำการสืบสวนคดีอาญาได้ตามประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความอาญา เมื่อจำเลยได้เรียกและรับเอาเงินจากผู้เสียหาย เพื่อไม่จับกุมดำเนินคดีอาญาฐานขายยาผิดประเภท จำเลยย่อมมีความผิดฐานทุจริตต่อหน้าที่
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 1670/2509
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
ตำรวจดับเพลิงมีอำนาจสืบสวนคดีอาญาได้ การเรียกรับเงินเพื่อไม่ดำเนินคดีเป็นทุจริตต่อหน้าที่
จำเลยเป็นตำรวจประจำกองบังคับการตำรวจดับเพลิง ได้สมคบกับจำเลยอื่นแสดงตัวกับผู้เสียหายว่าเป็นตำรวจ จะจับตัวผู้เสียหายฐานขายยาผิดประเภท แต่จำเลยกลับเรียกเอาเงินจากผู้เสียหาย เพื่อไม่จับกุมดำเนินคดีดังกล่าว จำเลยจึงต้องมีความผิดฐานทุจริตต่อหน้าที่ จำเลยจะอ้างว่าเป็นตำรวจดับเพลิง มีหน้าที่ดับเพลิงเท่านั้นไม่มีอำนาจสอบสวนสืบสวนเพื่อจับกุมผู้กระทำผิดอาญาหาได้ไม่เพราะหน้าที่การดับเพลิงนั้นเป็นหน้าที่เฉพาะตามที่ทางราชการแต่งตั้งให้ปฏิบัติ แต่โดยทั่วไปแล้ว จำเลยย่อมมีอำนาจทำการสืบสวนคดีอาญาได้ตามประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความอาญา เมื่อจำเลยได้เรียกและรับเอาเงินจากผู้เสียหาย เพื่อไม่จับกุมดำเนินคดีอาญาฐานขายยาผิดประเภท จำเลยย่อมมีความผิดฐานทุจริตต่อหน้าที่
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 1099/2509 เวอร์ชัน 2 คำพิพากษาฎีกานี้ มีเนื้อหาจากเว็บทางการหลายรูปแบบ
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
อำนาจสั่งดำเนินคดีอาญาต่อข้าราชการทุจริต: ผู้ว่าราชการจังหวัดและนายอำเภอในฐานะประธานกรรมการสุขาภิบาล
จำเลยฎีกาว่า การดำเนินคดีอาญากับจำเลยนายอำเภอสั่งในตำแหน่งนายอำเภอไม่ได้ เพราะสุขาภิบาลเป็นนิติบุคคล ต้องสั่งในนามประธานกรรมการสุขาภิบาล ดังนี้ เป็นฎีกาปัญหาข้อกฎหมายจำเลยย่อมฎีกาได้
ข้อเท็จจริงได้ความว่าจำเลยเป็นข้าราชการพลเรือนชั้นจัตวา ดำรงตำแหน่งเสมียนตราอำเภอและโดยคำสั่งทางราชการให้ดำรงตำแหน่งและหน้าที่กรรมการสุขาภิบาลอีกด้วย หากฟังได้ว่าจำเลยได้รับเงินไว้ แล้วไม่ลงบัญชี เป็นเหตุให้เงินขาดหายไปจากบัญชี ซึ่งถือว่าทุจริตต่อหน้าที่ เบียดบังเอาทรัพย์ไปเมื่อจำเลยไม่ใช้เงินที่ขาดหายไป อันอยู่ในความรับผิดชอบของจำเลย ผู้ว่าราชการจังหวัดจึงสั่งให้นายอำเภอดำเนินคดีกับจำเลย นายอำเภอได้สั่งให้ปลัดอำเภอไปแจ้งความดำเนินคดีก็ย่อมกระทำได้เพราะพระราชบัญญัติสุขาภิบาล พ.ศ. 2495 นายอำเภอเป็นประธานกรรมการสุขาภิบาลโดยตำแหน่ง ที่นายอำเภอสั่งให้ปลัดอำเภอไปแจ้งความดำเนินคดีกับจำเลย จะถือว่านายอำเภอไม่ใช่สั่งในตำแหน่งประธานกรรมการสุขาภิบาลด้วยหาได้ไม่
ข้อเท็จจริงได้ความว่าจำเลยเป็นข้าราชการพลเรือนชั้นจัตวา ดำรงตำแหน่งเสมียนตราอำเภอและโดยคำสั่งทางราชการให้ดำรงตำแหน่งและหน้าที่กรรมการสุขาภิบาลอีกด้วย หากฟังได้ว่าจำเลยได้รับเงินไว้ แล้วไม่ลงบัญชี เป็นเหตุให้เงินขาดหายไปจากบัญชี ซึ่งถือว่าทุจริตต่อหน้าที่ เบียดบังเอาทรัพย์ไปเมื่อจำเลยไม่ใช้เงินที่ขาดหายไป อันอยู่ในความรับผิดชอบของจำเลย ผู้ว่าราชการจังหวัดจึงสั่งให้นายอำเภอดำเนินคดีกับจำเลย นายอำเภอได้สั่งให้ปลัดอำเภอไปแจ้งความดำเนินคดีก็ย่อมกระทำได้เพราะพระราชบัญญัติสุขาภิบาล พ.ศ. 2495 นายอำเภอเป็นประธานกรรมการสุขาภิบาลโดยตำแหน่ง ที่นายอำเภอสั่งให้ปลัดอำเภอไปแจ้งความดำเนินคดีกับจำเลย จะถือว่านายอำเภอไม่ใช่สั่งในตำแหน่งประธานกรรมการสุขาภิบาลด้วยหาได้ไม่
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 1099/2509
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
อำนาจสั่งดำเนินคดีอาญาของนายอำเภอในฐานะกรรมการสุขาภิบาล: ผู้ว่าราชการจังหวัดและนายอำเภอมีอำนาจสั่งดำเนินคดีได้
จำเลยฎีกาว่า การดำเนินคดีอาญากับจำเลย นายอำเภอสั่งในตำแหน่งนายอำเภอไม่ได้ เพราะสุขาภิบาลเป็นนิติบุคคล ต้องสั่งในนามประธานกรรมการสุขาภิบาล ดังนี้ เป็นฎีกาปัญหาข้อกฎหมาย จำเลยย่อมฎีกาได้
ข้อเท็จจริงได้ความว่าจำเลยเป็นข้าราชการพลเรือนชั้นจัตวาดำรงตำแหน่งเสมียนตราอำเภอ และโดยคำสั่งทางราชการให้ดำรงตำแหน่งและหน้าที่กรรมการสุขาภิบาลอีกด้วย หากฟังได้ว่าจำเลยได้รับเงินไว้แล้วไม่ลงบัญชี เป็นเหตุให้เงินขาดหายไปจากบัญชีซึ่งถือว่าทุจริตต่อหน้าที่ เบียดบังเอาทรัพย์ไป เมื่อจำเลยไม่ใช้เงินที่ขาดหายไป อันอยู่ในความรับผิดชอบของจำเลย ผู้ว่าราชการจังหวัดจึงสั่งให้นายอำเภอดำเนินคดีกับจำเลย นายอำเภอได้สั่งให้ปลัดอำเภอไปแจ้งความดำเนินคดีก็ย่อมกระทำได้เพราะพระราชบัญญัติสุขาภิบาล พ.ศ.2495 นายอำเภอเป็นประธานกรรมการสุขาภิบาลโดยตำแหน่ง ที่นายอำเภอสั่งให้ปลัดอำเภอไปแจ้งความดำเนินคดีกับจำเลย จะถือว่านายอำเภอไม่ใช่สั่งในตำแหน่งประธานกรรมการสุขาภิบาลด้วยหาได้ไม่
ข้อเท็จจริงได้ความว่าจำเลยเป็นข้าราชการพลเรือนชั้นจัตวาดำรงตำแหน่งเสมียนตราอำเภอ และโดยคำสั่งทางราชการให้ดำรงตำแหน่งและหน้าที่กรรมการสุขาภิบาลอีกด้วย หากฟังได้ว่าจำเลยได้รับเงินไว้แล้วไม่ลงบัญชี เป็นเหตุให้เงินขาดหายไปจากบัญชีซึ่งถือว่าทุจริตต่อหน้าที่ เบียดบังเอาทรัพย์ไป เมื่อจำเลยไม่ใช้เงินที่ขาดหายไป อันอยู่ในความรับผิดชอบของจำเลย ผู้ว่าราชการจังหวัดจึงสั่งให้นายอำเภอดำเนินคดีกับจำเลย นายอำเภอได้สั่งให้ปลัดอำเภอไปแจ้งความดำเนินคดีก็ย่อมกระทำได้เพราะพระราชบัญญัติสุขาภิบาล พ.ศ.2495 นายอำเภอเป็นประธานกรรมการสุขาภิบาลโดยตำแหน่ง ที่นายอำเภอสั่งให้ปลัดอำเภอไปแจ้งความดำเนินคดีกับจำเลย จะถือว่านายอำเภอไม่ใช่สั่งในตำแหน่งประธานกรรมการสุขาภิบาลด้วยหาได้ไม่
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 1138/2505
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
เจ้าพนักงานทุจริตเรียกรับเงินแล้วปล่อยตัวผู้ต้องหา ความผิดตามประมวลกฎหมายอาญา มาตรา 149
เป็นเจ้าพนักงานทำการจับกุมเขาโดยชอบแล้ว แต่กลับทุจริตเรียกและรับเงินแล้วปล่อยตัวไปไม่ส่งตัวเพื่อดำเนินคดี ความผิดย่อมเข้าประมวลกฎหมายอาญา มาตรา 149 แก้ไขเพิ่มเติมพ.ศ.2502 มาตรา 5 แต่ไม่ผิดมาตรา 148 เพราะมาตรา148 เป็นเรื่องเริ่มต้นด้วยการใช้อำนาจในตำแหน่งโดยมิชอบ แต่มาตรา 149 นั้น เป็นเรื่องเริ่มต้นโดยใช้อำนาจในตำแหน่งโดยชอบแล้วกลับทุจริต
อนึ่ง เมื่อผิดมาตรา 149 อันเป็นบทเฉพาะแล้วย่อมไม่ผิดมาตรา 157 ซึ่งเป็นบททั่วไปอีก
อนึ่ง เมื่อผิดมาตรา 149 อันเป็นบทเฉพาะแล้วย่อมไม่ผิดมาตรา 157 ซึ่งเป็นบททั่วไปอีก
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 1138/2505 เวอร์ชัน 2 คำพิพากษาฎีกานี้ มีเนื้อหาจากเว็บทางการหลายรูปแบบ
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
เจ้าพนักงานทุจริตเรียกรับเงินปล่อยตัวผู้ต้องหา ความผิดตามมาตรา 149 ย่อมไม่ผิดมาตรา 157
เป็นเจ้าพนักงานทำการจับกุมเขาโดยชอบแล้ว แต่กลับทุจริตเรียกและรับเงินแล้วปล่อยไปไม่ส่งตัวเพื่อดำเนินคดี ความผิดย่อมเข้าประมวลกฎหมายอาญามาตรา 149 แก้ไขเพิ่มเติม พ.ศ. 2502 มาตรา 5 แต่ไม่ผิดมาตรา 148 เพราะมาตรา 148 เป็นเรื่องเริ่มต้นด้วยการใช้อำนาจในตำแหน่งโดยมิชอบแต่มาตรา 149 นั้น เป็นเรื่องเริ่มต้นโดยใช้อำนาจในตำแหน่งโดยชอบแล้วกลับทุจริต
อนึ่ง เมื่อผิดมาตรา 149 อันเป็นบทเฉพาะแล้วย่อมไม่ผิดมาตรา 157 ซึ่งเป็นบททั่วไปอีก
อนึ่ง เมื่อผิดมาตรา 149 อันเป็นบทเฉพาะแล้วย่อมไม่ผิดมาตรา 157 ซึ่งเป็นบททั่วไปอีก