พบผลลัพธ์ทั้งหมด 83 รายการ
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 1826/2511 เวอร์ชัน 2 คำพิพากษาฎีกานี้ มีเนื้อหาจากเว็บทางการหลายรูปแบบ
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
มูลหนี้ภาษีการค้าเกิดขึ้นเมื่อนำเข้าสินค้า แม้ยังมิได้ยื่นแบบฯ กรมสรรพากรมีสิทธิรับชำระหนี้ในฐานะเจ้าหนี้บุริมสิทธิ
จำเลยนำสินค้าเข้ามาในราชอาณาจักรตั้งแต่ปี 2507-2508 โดยมิได้ยื่นแบบแสดงรายการการค้าและชำระภาษีการค้า ตามประกาศของอธิบดีกรมสรรพากรโดยอนุมัติรัฐมนตรี ถือว่าผู้ประกอบการค้าที่เป็นผู้นำเข้าซึ่งสินค้าทุกชนิดได้ขายสินค้านั้นในวันนำเข้าในราชอาณาจักร จำเลยย่อมมีรายรับตามมูลค่าของสินค้าในวันนำเข้าในราชอาณาจักร และมีหน้าที่ต้องชำระเงินค่าภาษีการค้าทุกเดือนภาษี ภายในวันที่ 15 ของเดือนถัดไป มูลหนี้ค่าภาษีการค้าจึงเกิดขึ้นตั้งแต่เดือนภาษีที่จำเลยผู้ประกอบการค้ามีรายรับ
การที่เจ้าพนักงานประเมินทำการประเมินในภายหลัง เนื่องจากจำเลยมิได้ยื่นแบบแสดงรายการการค้า แล้วมีหนังสือแจ้งยอดเงินภาษีไปให้จำเลยชำระเงินดังกล่าวไม่ทำให้มูลหนี้ค่าภาษีการค้าเพิ่งเกิด แม้หนังสือแจ้งยอดเงินภาษีที่ประเมินจะเพิ่งมีไปยังจำเลยภายหลังจากจำเลยถูกศาลสั่งพิทักษ์ทรัพย์แล้ว กรมสรรพากรก็ยังมีสิทธิยื่นคำขอรับชำระหนี้ค่าภาษีการค้า ซึ่งมีมูลหนี้เกิดขึ้นก่อนได้
เบี้ยปรับและเงินเพิ่มซึ่งผู้ประกอบการค้าต้องเสียตามประมวลรัษฎากรถือว่าเป็นเงินภาษีด้วย
สิทธิเรียกร้องของรัฐบาลเพื่อเอาค่าภาษีอากรมีกำหนดอายุความ 10 ปี
คำขอรับชำระหนี้ของกรมสรรพากรซึ่งระบุว่าขอรับชำระหนี้ค่าภาษีอากร (ภาษีการค้า) ถือได้ว่าขอรับชำระหนี้ในฐานะเป็นเจ้าหนี้บุริมสิทธิ เพราะค่าภาษีอากรเป็นหนี้บุริมสิทธิสามัญตามประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ มาตรา 253(3) อยู่แล้ว
การที่เจ้าพนักงานประเมินทำการประเมินในภายหลัง เนื่องจากจำเลยมิได้ยื่นแบบแสดงรายการการค้า แล้วมีหนังสือแจ้งยอดเงินภาษีไปให้จำเลยชำระเงินดังกล่าวไม่ทำให้มูลหนี้ค่าภาษีการค้าเพิ่งเกิด แม้หนังสือแจ้งยอดเงินภาษีที่ประเมินจะเพิ่งมีไปยังจำเลยภายหลังจากจำเลยถูกศาลสั่งพิทักษ์ทรัพย์แล้ว กรมสรรพากรก็ยังมีสิทธิยื่นคำขอรับชำระหนี้ค่าภาษีการค้า ซึ่งมีมูลหนี้เกิดขึ้นก่อนได้
เบี้ยปรับและเงินเพิ่มซึ่งผู้ประกอบการค้าต้องเสียตามประมวลรัษฎากรถือว่าเป็นเงินภาษีด้วย
สิทธิเรียกร้องของรัฐบาลเพื่อเอาค่าภาษีอากรมีกำหนดอายุความ 10 ปี
คำขอรับชำระหนี้ของกรมสรรพากรซึ่งระบุว่าขอรับชำระหนี้ค่าภาษีอากร (ภาษีการค้า) ถือได้ว่าขอรับชำระหนี้ในฐานะเป็นเจ้าหนี้บุริมสิทธิ เพราะค่าภาษีอากรเป็นหนี้บุริมสิทธิสามัญตามประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ มาตรา 253(3) อยู่แล้ว
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 1826/2511
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
ภาษีการค้าเกิดขึ้นเมื่อนำเข้าสินค้า แม้ยังมิได้ยื่นแบบแสดงรายการ กรมสรรพากรมีสิทธิรับชำระหนี้ในฐานะเจ้าหนี้บุริมสิทธิ
89ตรี จำเลยนำสินค้าเข้ามาในราชอาณาจักรตั้งแต่ปี 2507-2508. โดยมิได้ยื่นแบบแสดงรายการการค้าและชำระภาษีการค้า. ตามประกาศของอธิบดีกรมสรรพากรโดยอนุมัติรัฐมนตรี. ถือว่าผู้ประกอบการค้าที่เป็นผู้นำเข้าซึ่งสินค้าทุกชนิดได้ขายสินค้านั้นในวันนำเข้าในราชอาณาจักร. จำเลยย่อมมีรายรับตามมูลค่าของสินค้าในวันนำเข้าในราชอาณาจักร. และมีหน้าที่ต้องชำระเงินค่าภาษีการค้าทุกเดือนภาษี ภายในวันที่ 15 ของเดือนถัดไป. มูลหนี้ค่าภาษีการค้าจึงเกิดขึ้นตั้งแต่เดือนภาษีที่จำเลยผู้ประกอบการค้ามีรายรับ.
การที่เจ้าพนักงานประเมินทำการประเมินในภายหลัง. เนื่องจากจำเลยมิได้ยื่นแบบแสดงรายการการค้า. แล้วมีหนังสือแจ้งยอดเงินภาษีไปให้จำเลยชำระเงินดังกล่าวไม่ทำให้มูลหนี้ค่าภาษีการค้าเพิ่งเกิด. แม้หนังสือแจ้งยอดเงินภาษีที่ประเมินจะเพิ่งมีไปยังจำเลยภายหลังจากจำเลยถูกศาลสั่งพิทักษ์ทรัพย์แล้ว. กรมสรรพากรก็ยังมีสิทธิยื่นคำขอรับชำระหนี้ค่าภาษีการค้า ซึ่งมีมูลหนี้เกิดขึ้นก่อนได้.
เบี้ยปรับและเงินเพิ่มซึ่งผู้ประกอบการค้าต้องเสียตามประมวลรัษฎากรถือว่าเป็นเงินภาษีด้วย.
สิทธิเรียกร้องของรัฐบาลเพื่อเอาค่าภาษีอากรมีกำหนดอายุความ 10 ปี.
คำขอรับชำระหนี้ของกรมสรรพากรซึ่งระบุว่าขอรับชำระหนี้ค่าภาษีอากร (ภาษีการค้า) ถือได้ว่าขอรับชำระหนี้ในฐานะเป็นเจ้าหนี้บุริมสิทธิ. เพราะค่าภาษีอากรเป็นหนี้บุริมสิทธิสามัญตามประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ มาตรา 253(3) อยู่แล้ว.
การที่เจ้าพนักงานประเมินทำการประเมินในภายหลัง. เนื่องจากจำเลยมิได้ยื่นแบบแสดงรายการการค้า. แล้วมีหนังสือแจ้งยอดเงินภาษีไปให้จำเลยชำระเงินดังกล่าวไม่ทำให้มูลหนี้ค่าภาษีการค้าเพิ่งเกิด. แม้หนังสือแจ้งยอดเงินภาษีที่ประเมินจะเพิ่งมีไปยังจำเลยภายหลังจากจำเลยถูกศาลสั่งพิทักษ์ทรัพย์แล้ว. กรมสรรพากรก็ยังมีสิทธิยื่นคำขอรับชำระหนี้ค่าภาษีการค้า ซึ่งมีมูลหนี้เกิดขึ้นก่อนได้.
เบี้ยปรับและเงินเพิ่มซึ่งผู้ประกอบการค้าต้องเสียตามประมวลรัษฎากรถือว่าเป็นเงินภาษีด้วย.
สิทธิเรียกร้องของรัฐบาลเพื่อเอาค่าภาษีอากรมีกำหนดอายุความ 10 ปี.
คำขอรับชำระหนี้ของกรมสรรพากรซึ่งระบุว่าขอรับชำระหนี้ค่าภาษีอากร (ภาษีการค้า) ถือได้ว่าขอรับชำระหนี้ในฐานะเป็นเจ้าหนี้บุริมสิทธิ. เพราะค่าภาษีอากรเป็นหนี้บุริมสิทธิสามัญตามประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ มาตรา 253(3) อยู่แล้ว.
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 1071/2510
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
ฟ้องยักยอกทรัพย์ไม่ชัดเจน ขาดรายละเอียดทรัพย์สินที่ถูกยักยอก และโจทก์มีส่วนรับผิดชอบในการเสียภาษี
ฟ้องคดีอาญาที่มิได้บรรยายให้ได้ความชัดว่าจำเลยยักยอกเงินที่พวกโจทก์มอบให้จำเลยไปเสียภาษีเท่าใด คงกล่าวไว้มีใจความสำคัญแต่เพียงจำนวนเงินที่มอบให้จำเลยไป จำนวนที่ต้องเสียภาษีรายเดือน จำนวนเงินเหลือรายเดือน จำนวนที่เหลือนี้ได้ตกลงให้จำเลยเก็บรักษาไว้เสียภาษีปลายปี เมื่อโจทก์ถูกสรรพากรเรียกไปพบหาว่าเสียภาษีไม่ครบจึงทราบว่าจำเลยยักยอกเงินที่มอบไป โดยเสียภาษีไม่ครบเท่านั้นฟ้องของโจทก์จึงขาดข้อเท็จจริงและรายละเอียดที่เกี่ยวกับทรัพย์หรือสิ่งของที่เกี่ยวข้องกับข้อหาว่าจำเลยเบียดบังยักยอกไปอันเป็นสารสำคัญฟ้องของโจทก์ จึงไม่ชอบด้วยประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความอาญา มาตรา158
โจทก์ได้เห็นและทราบรายการที่ได้กรอกไว้ในแบบ ภ.ค.4เพื่อชำระภาษีการค้าที่จำเลยนำมาให้โจทก์เซ็นชื่อเป็นผู้ยื่น โจทก์ได้เซ็นชื่อลงไป จึงต้องรับผิดชอบในความถูกต้องแท้จริงของข้อความตลอดจนจำนวนเงินที่ต้องเสียภาษี เพราะเป็นการกระทำของโจทก์เอง
โจทก์ได้เห็นและทราบรายการที่ได้กรอกไว้ในแบบ ภ.ค.4เพื่อชำระภาษีการค้าที่จำเลยนำมาให้โจทก์เซ็นชื่อเป็นผู้ยื่น โจทก์ได้เซ็นชื่อลงไป จึงต้องรับผิดชอบในความถูกต้องแท้จริงของข้อความตลอดจนจำนวนเงินที่ต้องเสียภาษี เพราะเป็นการกระทำของโจทก์เอง
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 1071/2510 เวอร์ชัน 2 คำพิพากษาฎีกานี้ มีเนื้อหาจากเว็บทางการหลายรูปแบบ
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
ฟ้องยักยอกเงินภาษีไม่ชัดเจน ขาดรายละเอียดทรัพย์สิน และความรับผิดของโจทก์จากการลงชื่อรับรองเอกสาร
ฟ้องคดีอาญาที่มิได้บรรยายให้ได้ความชัดว่าจำเลยยักยอกเงินที่พวกโจทก์มอบให้จำเลยไปเสียภาษีเท่าใด คงกล่าวไว้มีใจความสำคัญแต่เพียงจำนวนเงินที่มอบให้จำเลยไป จำนวนที่ต้องเสียภาษีรายเดือน จำนวนเงินเหลือรายเดือน จำนวนที่เหลือนี้ได้ตกลงให้จำเลยเก็บรักษาไว้เสียภาษีปลายปี เมื่อโจทก์ถูกสรรพากรเรียกไปพบหาว่าเสียภาษีไม่ครบจึงทราบว่าจำเลยยักยอกเงินที่มอบไป โดยเสียภาษีไม่ครบเท่านั้น ฟ้องของโจทก์จึงขาดข้อเท็จจริงและรายละเอียดที่เกียวกับทรัพย์หรือสิ่งของที่เกี่ยวข้องกับข้อหาว่าจำเลยเบียดบังยักยอกไปอันเป็นสารสำคัญ ฟ้องของโจทก์จึงไม่ชอบด้วยประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความอาญา มาตรา 158
โจทก์ได้เห็นและทราบรายการที่ได้กรอกไว้ในแบบ ภ.ค.4 เพื่อชำระภาษีการค้าที่จำเลยนำมาให้โจทก์เซ็นชื่อเป็นผู้ยื่น โจทก์ได้เซ็นชื่อลงไป จึงต้องรับผิดชอบในความถูกต้องแท้จริงของข้อความตลอดจนจำนวนเงินที่ต้องเสียภาษี เพราะเป็นการกระทำของโจทก์เอง
โจทก์ได้เห็นและทราบรายการที่ได้กรอกไว้ในแบบ ภ.ค.4 เพื่อชำระภาษีการค้าที่จำเลยนำมาให้โจทก์เซ็นชื่อเป็นผู้ยื่น โจทก์ได้เซ็นชื่อลงไป จึงต้องรับผิดชอบในความถูกต้องแท้จริงของข้อความตลอดจนจำนวนเงินที่ต้องเสียภาษี เพราะเป็นการกระทำของโจทก์เอง
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 1027/2510 เวอร์ชัน 2 คำพิพากษาฎีกานี้ มีเนื้อหาจากเว็บทางการหลายรูปแบบ
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
ภาษีการค้านำเข้าฝาจุกสำเร็จรูป: พิจารณาเป็นสินค้าสำเร็จรูปเสียภาษีอัตรา 5% ของรายรับ
ฝาจุกจีบที่โจทก์สั่งมาจากต่างประเทศเข้ามาในประเทศไทยเพื่อใช้ปิดปากขวดเครื่องดื่มน้ำอัดลมที่โจทก์ผลิดออกจำหน่าย ไม่ใช่วัตถุดิบที่จะนำมาใช้เพื่อผลิตขายต่อไป แต่มีลักษณะเป็นจุกขวดหรือฝาจุกที่สำเร็จรูป โดยไม่จำต้องเปลี่ยนหรือดัดแปลงหรือนำไปผสมกับสิ่งอื่น ส่วนการที่โจทก์นำขวดและฝาจุกไปบรรจุน้ำอัดลมจำหน่ายย่อมเป็นการค้าสำเร็จรูปอีกชนิดหนึ่ง และเมื่อฝาจุกจีบรายพิพาทเป็นฝาจุกที่สำเร็จรูปมาแล้ว โจทก์ผู้นำเข้าก็ต้องมีหน้าที่เสียภาษีในอัตราร้อยละ 5 ของรายรับโดยไม่ต้องคำนึงว่าโจทก์นำจุกขวดน้ำอัดลมแล้วจะต้องเสียภาษีการค้าอีกหรือไม่
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 1027/2510
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
การนำเข้าฝาจุกสำเร็จรูป ต้องเสียภาษีในอัตราร้อยละ 5 ของรายรับ แม้จะนำไปใช้ผลิตสินค้าสำเร็จรูปอื่นอีก
ฝาจุกจีบที่โจทก์สั่งมาจากต่างประเทศเข้ามา ในประเทศไทยเพื่อใช้ปิดปากขวดเครื่องดื่มน้ำอัดลมที่โจทก์ผลิตออกจำหน่ายไม่ใช่วัตถุดิบที่จะนำมาใช้เพื่อผลิตขายต่อไป แต่มีลักษณะเป็นจุกขวดหรือฝาจุกที่สำเร็จรูป โดยไม่จำต้องเปลี่ยนหรือดัดแปลงหรือนำไปผสมกับสิ่งอื่น ส่วนการที่โจทก์นำขวดและฝาจุกไปบรรจุน้ำอัดลมจำหน่ายย่อมเป็นการค้าสำเร็จรูปอีกชนิดหนึ่ง และเมื่อฝาจุกจีบรายพิพาทเป็นฝาจุกที่สำเร็จรูปมาแล้ว โจทก์ผู้นำเข้าก็ต้องมีหน้าที่เสียภาษีในอัตราร้อยละ 5 ของรายรับ โดยไม่ต้องคำนึงว่าโจทก์นำจุกขวดน้ำอัดลมแล้วจะต้องเสียภาษีการค้าอีกหรือไม่
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 969/2510 เวอร์ชัน 2 คำพิพากษาฎีกานี้ มีเนื้อหาจากเว็บทางการหลายรูปแบบ
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
การขายที่ดินเพื่อหากำไรถือเป็นการค้าต้องเสียภาษี หากมีพฤติการณ์เป็นการจัดสรรขายและใช้สถานที่ของบริษัทในการดำเนินการ
การขายที่ดินในกรณีใดจะถือว่าเป็นทางค้าหากำไร ต้องพิจารณาจากกิจการเป็นราย ๆ ไปว่ามีพฤติการณ์เช่นนั้นหรือไม่
พฤติการณ์ที่แสดงว่าได้ดำเนินกิจการในลักษณะเป็น "การค้า" ตามประมวลรัษฎากร
บทบัญญัติแห่งประมวลรัษฎากรซึ่งกำหนดให้ผู้ประกอบการค้าที่มีสถานการค้า ฯลฯ มีหน้าที่เสียภาษีการค้านั้น ไม่ได้หมายความว่าผู้ประกอบการค้าจะต้องเป็นเจ้าของสถานการค้าเอง เมื่อปรากฏว่าผู้ประกอบการค้าได้ใช้สถานการค้าใดดำเนินการค้าของ+ได้ ประมวลรัษฎากรก็ถือว่าผู้ประกอบการค้านั้นมีสถานการค้า และมีหน้าที่ต้องเสียภาษีการค้า
พฤติการณ์ที่แสดงว่าได้ดำเนินกิจการในลักษณะเป็น "การค้า" ตามประมวลรัษฎากร
บทบัญญัติแห่งประมวลรัษฎากรซึ่งกำหนดให้ผู้ประกอบการค้าที่มีสถานการค้า ฯลฯ มีหน้าที่เสียภาษีการค้านั้น ไม่ได้หมายความว่าผู้ประกอบการค้าจะต้องเป็นเจ้าของสถานการค้าเอง เมื่อปรากฏว่าผู้ประกอบการค้าได้ใช้สถานการค้าใดดำเนินการค้าของ+ได้ ประมวลรัษฎากรก็ถือว่าผู้ประกอบการค้านั้นมีสถานการค้า และมีหน้าที่ต้องเสียภาษีการค้า
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 969/2510
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
การขายที่ดินเข้าข่ายค้าหากำไร ต้องพิจารณาพฤติการณ์รายกิจการ การมีสถานการค้าทำให้ต้องเสียภาษี
การขายที่ดินในกรณีใดจะถือว่าเป็นทางค้าหากำไร ต้องพิจารณาจากกิจการเป็นรายๆไปว่ามีพฤติการณ์เช่นนั้นหรือไม่
พฤติการณ์ที่แสดงว่าได้ดำเนินกิจการในลักษณะเป็น "การค้า"ตามประมวลรัษฎากร
บทบัญญัติแห่งประมวลรัษฎากรซึ่งกำหนดให้ผู้ประกอบการค้าที่มีสถานการค้า ฯลฯ มีหน้าที่เสียภาษีการค้านั้น ไม่ได้หมายความว่าผู้ประกอบการค้าจะต้องเป็นเจ้าของสถานการค้าเอง เมื่อปรากฏว่าผู้ประกอบการค้าได้ใช้สถานการค้าใดดำเนินการค้าของตนได้ ประมวลรัษฎากรก็ถือว่าผู้ประกอบการค้านั้นมีสถานการค้า และมีหน้าที่ต้องเสียภาษีการค้า
พฤติการณ์ที่แสดงว่าได้ดำเนินกิจการในลักษณะเป็น "การค้า"ตามประมวลรัษฎากร
บทบัญญัติแห่งประมวลรัษฎากรซึ่งกำหนดให้ผู้ประกอบการค้าที่มีสถานการค้า ฯลฯ มีหน้าที่เสียภาษีการค้านั้น ไม่ได้หมายความว่าผู้ประกอบการค้าจะต้องเป็นเจ้าของสถานการค้าเอง เมื่อปรากฏว่าผู้ประกอบการค้าได้ใช้สถานการค้าใดดำเนินการค้าของตนได้ ประมวลรัษฎากรก็ถือว่าผู้ประกอบการค้านั้นมีสถานการค้า และมีหน้าที่ต้องเสียภาษีการค้า
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 439/2508
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
การเสียภาษีการค้าสำหรับค่าตอบแทนจากการจัดซื้อและผสมข้าว กรณีลูกจ้างไม่มีสถานการค้า
เมื่อบริษัทได้รับใบสั่งซื้อข้าวจากต่างประเทศบริษัทก็ให้โจทก์ทำการปนข้าวหรือผสมข้าวให้ได้ชั้นของข้าวตามมาตรฐาน โดยคิดค่าจ้างได้มาดังกล่าวนี้ โจทก์ไม่ต้องเสียภาษีการค้า
ตามประมวลรัษฎากร พ.ศ.2481 แก้ไขเพิ่มเติมโดยพระราชบัญญัติแก้ไขเพิ่มเติมประมวลรัษฎากร(ฉบับที่ 10) พ.ศ.2496 ในเรื่องภาษีการค้า มาตรา 78, 79 นั้น ผู้ที่จะต้องเสียภาษีการค้า คือ (1) จะต้องเป็นผู้ประกอบการค้า (2) จะต้องมีสถานการค้าด้วย เมื่อข้อเท็จจริงได้ความว่า โจทก์มีหน้าที่หาซื้อข้าวมาให้บริษัทที่ตนทำงานแห่งเดียวจะไปเที่ยวซื้อข้าวให้ผู้อื่นไม่ได้ ต้องทำงานอย่างลูกจ้างทุกประการ ไม่ใช่เป็นการประกอบการค้าเป็นส่วนของตนเอง รายได้ของโจทก์บริษัทไม่ได้จ่ายให้เป็นเงินเดือน หากจ่ายให้ตามจำนวนงานการที่ทำให้บริษัทได้มากหรือน้อย โดยเป็นประเพณีที่ผู้ขายจ่ายให้ผู้ซื้อกระสอบละ 1.09 บาท แล้วบริษัทเป็นผู้รับเงินประเภทซื้อจากผู้ขายแล้ว โจทก์ไม่สถานการค้า ดังนี้ โจทก์จึงมิใช่เป็นผู้ประกอบการค้าเป็นนายหน้าหรือตัวแทนบริษัทอันมีหน้าที่จะต้องจดทะเบียนการค้าหรือเสียภาษีการค้าตามมาตรา 81 และ 79 แต่อย่างใดไม่
อย่างไรก็ดี เงินที่โจทก์ได้รับ + ก็เป็นเงินได้พึงประเมินตามประมวลรัษฎากร มาตรา 40(1) (2) แก้ไขโดยพระราชบัญญัติแก้ไขเพิ่มเติมประมวลรัษฎากร(ฉบับที่ 10) พ.ศ.2496 มาตรา 15
ตามประมวลรัษฎากร พ.ศ.2481 แก้ไขเพิ่มเติมโดยพระราชบัญญัติแก้ไขเพิ่มเติมประมวลรัษฎากร(ฉบับที่ 10) พ.ศ.2496 ในเรื่องภาษีการค้า มาตรา 78, 79 นั้น ผู้ที่จะต้องเสียภาษีการค้า คือ (1) จะต้องเป็นผู้ประกอบการค้า (2) จะต้องมีสถานการค้าด้วย เมื่อข้อเท็จจริงได้ความว่า โจทก์มีหน้าที่หาซื้อข้าวมาให้บริษัทที่ตนทำงานแห่งเดียวจะไปเที่ยวซื้อข้าวให้ผู้อื่นไม่ได้ ต้องทำงานอย่างลูกจ้างทุกประการ ไม่ใช่เป็นการประกอบการค้าเป็นส่วนของตนเอง รายได้ของโจทก์บริษัทไม่ได้จ่ายให้เป็นเงินเดือน หากจ่ายให้ตามจำนวนงานการที่ทำให้บริษัทได้มากหรือน้อย โดยเป็นประเพณีที่ผู้ขายจ่ายให้ผู้ซื้อกระสอบละ 1.09 บาท แล้วบริษัทเป็นผู้รับเงินประเภทซื้อจากผู้ขายแล้ว โจทก์ไม่สถานการค้า ดังนี้ โจทก์จึงมิใช่เป็นผู้ประกอบการค้าเป็นนายหน้าหรือตัวแทนบริษัทอันมีหน้าที่จะต้องจดทะเบียนการค้าหรือเสียภาษีการค้าตามมาตรา 81 และ 79 แต่อย่างใดไม่
อย่างไรก็ดี เงินที่โจทก์ได้รับ + ก็เป็นเงินได้พึงประเมินตามประมวลรัษฎากร มาตรา 40(1) (2) แก้ไขโดยพระราชบัญญัติแก้ไขเพิ่มเติมประมวลรัษฎากร(ฉบับที่ 10) พ.ศ.2496 มาตรา 15
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 1800/2506
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
การขายที่ดินมรดก ไม่ถือเป็นการค้าหากำไร จึงไม่ต้องเสียภาษีการค้า
โจทก์รับมรดกที่ดิน 16 ไร่เศษ ราคาไม่เกินไร่ละ 800 บาทจากสามีผู้วายชนม์ตั้งแต่ พ.ศ.2488 ต่อมาระหว่าง พ.ศ.2499-2501 โจทก์จัดทำถนนผ่ากลางที่ดินแล้วแบ่งเป็นแปลงเล็กๆ 27 แปลง ขายได้ราคาไร่ละ80,000 บาท ถึง 100,000 บาท นั้น เห็นได้ว่าโจทก์ขายที่ดินโดยมุ่งให้ได้ราคาสูงที่สุดเท่านั้น มิใช่ขายเป็นทางค้าหากำไร โจทก์จึงมิใช่บุคคลผู้ประกอบการค้าอันจะต้องเสียภาษีการค้าประเภทการขายอสังหาริมทรัพย์แต่อย่างใด
ศาลอุทธรณ์วินิจฉัยว่า โจทก์แก้อุทธรณ์เกินระยะเวลาที่กฎหมายกำหนดไว้จึงให้ค่าทนายความเป็นพับไปนั้นโจทก์จะฎีกาว่าโจทก์ยื่นคำแก้อุทธรณ์ไม่เกินระยะเวลาจึงควรได้รับค่าทนายตามกฎหมายไม่ได้ เพราะเป็นฎีกาในปัญหาเรื่องค่าฤชาธรรมเนียมแต่อย่างเดียว โดยมิได้ยกเหตุว่าค่าฤชาธรรมเนียมนั้นมิได้กำหนดหรือคำนวณให้ถูกต้องตามกฎหมาย
ศาลอุทธรณ์วินิจฉัยว่า โจทก์แก้อุทธรณ์เกินระยะเวลาที่กฎหมายกำหนดไว้จึงให้ค่าทนายความเป็นพับไปนั้นโจทก์จะฎีกาว่าโจทก์ยื่นคำแก้อุทธรณ์ไม่เกินระยะเวลาจึงควรได้รับค่าทนายตามกฎหมายไม่ได้ เพราะเป็นฎีกาในปัญหาเรื่องค่าฤชาธรรมเนียมแต่อย่างเดียว โดยมิได้ยกเหตุว่าค่าฤชาธรรมเนียมนั้นมิได้กำหนดหรือคำนวณให้ถูกต้องตามกฎหมาย