พบผลลัพธ์ทั้งหมด 4 รายการ
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 2191/2521
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
ความรับผิดตามสัญญาประกันภัยและการพิสูจน์ใบอนุญาตขับขี่ที่ถูกต้องตามกฎหมาย
โจทก์บรรยายฟ้องถึงสภาพความเสียหายของรถโจทก์ว่าได้เกิดชนกันรถยนต์บรรทุกน้ำมันจนพลิกคว่ำตกจากถนนลงไปในคูน้ำข้างทางด้วยกันทั้งคู่ โจทก์ต้องเสียค่าจ้างยกรถขึ้นจากคู ค่าลากรถไปเข้าอู่ซ่อม และค่าซ่อมไปเป็นเงินเท่าใด ในแต่ละรายการพอที่วิญญูชนจะเข้าใจได้ถึงสภาพแห่งความเสียหายโดยแจ้งชัดพอสมควรตามประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความแพ่ง มาตรา 172 แล้วส่วนรายละเอียดแห่งการซ่อม การเปลี่ยนแปลงอะไหล่ชิ้นส่วนใดบ้างนั้น เป็นเรื่องที่จะนำสืบให้ปรากฏในชั้นพิจารณาหาจำต้องบรรยายรายละเอียดมาในฟ้องทั้งหมดไม่
จำเลยรับประกันภัยค้ำจุนรถยนต์ของโจทก์ คนขับรถของโจทก์ขับชนกับรถอื่น ความรับผิดของโจทก์ที่มีต่อเจ้าของรถที่ถูกชนนั้นได้เกิดขึ้นตั้งแต่วันละเมิดสัญญาประกันภัยค้ำจุนดังกล่าวก็คลุมถึงค่าทดแทนแก่บุคคลภายนอกอันเกิดจากการใช้รถที่เอาประกันภัยอยู่แล้ว โจทก์จึงมีสิทธิฟ้องให้จำเลยรับผิดในค่าทดแทนเท่าที่โจทก์จะต้องชดใช้ให้แก่เจ้าของรถที่ถูกชนได้ โดยที่โจทก์ยังไม่ได้ใช้ค่าเสียหายแก่รถอีกคันหนึ่งนั้น
ตามกฎกระทรวงฉบับที่ 7(พ.ศ.2497) ออกตามความในพระราชบัญญัติการขนส่ง พ.ศ.2497 ผู้ที่จะได้รับใบอนุญาตขับขี่ตามพระราชบัญญัติการขนส่ง พ.ศ.2497 มาตรา 34 อาจเป็นผู้ได้สำเร็จการศึกษาจากโรงเรียนการขนส่งก็ได้หาจำเป็นจะต้องได้รับใบอนุญาตขับรถยนต์ประเภทสาธารณะตามกฎหมายว่าด้วยรถยนต์มาก่อนแล้วแต่เพียงประการเดียวไม่ เมื่อคนขับรถของโจทก์มีใบอนุญาตขับรถของกรมการขนส่ง แม้ใบอนุญาตของกรมตำรวจถูกยึดไป ก็ไม่ถือว่าผิดเงื่อนไขในกรมธรรม์ที่ยกเว้นความรับผิดในกรณีที่คนขับรถของโจทก์ไม่มีใบอนุญาตขับรถ
คนขับรถของโจทก์ประมาทฝ่าฝืนกฎจราจรจึงเกิดเหตุขึ้นเป็นข้อที่จำเลยต้องรับผิดตามเงื่อนไขในกรมธรรม์นั้นเอง จึงไม่เป็นเหตุยกเว้นความรับผิดเพราะฝ่าฝืนกฎจราจร
จำเลยรับประกันภัยค้ำจุนรถยนต์ของโจทก์ คนขับรถของโจทก์ขับชนกับรถอื่น ความรับผิดของโจทก์ที่มีต่อเจ้าของรถที่ถูกชนนั้นได้เกิดขึ้นตั้งแต่วันละเมิดสัญญาประกันภัยค้ำจุนดังกล่าวก็คลุมถึงค่าทดแทนแก่บุคคลภายนอกอันเกิดจากการใช้รถที่เอาประกันภัยอยู่แล้ว โจทก์จึงมีสิทธิฟ้องให้จำเลยรับผิดในค่าทดแทนเท่าที่โจทก์จะต้องชดใช้ให้แก่เจ้าของรถที่ถูกชนได้ โดยที่โจทก์ยังไม่ได้ใช้ค่าเสียหายแก่รถอีกคันหนึ่งนั้น
ตามกฎกระทรวงฉบับที่ 7(พ.ศ.2497) ออกตามความในพระราชบัญญัติการขนส่ง พ.ศ.2497 ผู้ที่จะได้รับใบอนุญาตขับขี่ตามพระราชบัญญัติการขนส่ง พ.ศ.2497 มาตรา 34 อาจเป็นผู้ได้สำเร็จการศึกษาจากโรงเรียนการขนส่งก็ได้หาจำเป็นจะต้องได้รับใบอนุญาตขับรถยนต์ประเภทสาธารณะตามกฎหมายว่าด้วยรถยนต์มาก่อนแล้วแต่เพียงประการเดียวไม่ เมื่อคนขับรถของโจทก์มีใบอนุญาตขับรถของกรมการขนส่ง แม้ใบอนุญาตของกรมตำรวจถูกยึดไป ก็ไม่ถือว่าผิดเงื่อนไขในกรมธรรม์ที่ยกเว้นความรับผิดในกรณีที่คนขับรถของโจทก์ไม่มีใบอนุญาตขับรถ
คนขับรถของโจทก์ประมาทฝ่าฝืนกฎจราจรจึงเกิดเหตุขึ้นเป็นข้อที่จำเลยต้องรับผิดตามเงื่อนไขในกรมธรรม์นั้นเอง จึงไม่เป็นเหตุยกเว้นความรับผิดเพราะฝ่าฝืนกฎจราจร
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 2191/2521 เวอร์ชัน 2 คำพิพากษาฎีกานี้ มีเนื้อหาจากเว็บทางการหลายรูปแบบ
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
การประกันภัยรถยนต์: การประเมินความเสียหาย, ใบอนุญาตขับขี่, และความรับผิดจากความประมาท
โจทก์บรรยายฟ้องถึงสภาพความเสียหายของรถโจทก์ว่าได้เกิดชนกับรถยนต์บรรทุกน้ำมันจนพลิกคว่ำตกจากถนนลงไปในคูน้ำข้างทางด้วยกันทั้งคู่ โจทก์ต้องเสียค่าจ้างยกรถขึ้นจากคู ค่าลากรถไปเข้าอู่ซ่อม และค่าซ่อมไปเป็นเงินเท่าใด ในแต่ละรายการพอที่วิญญูชนจะเข้าใจได้ถึงสภาพแห่งความเสียหายโดยแจ้งชัดพอสมควรตามประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความแพ่ง มาตรา 172 แล้ว ส่วนรายละเอียดแห่งการซ่อม การเปลี่ยนแปลงอะไหล่ชิ้นส่วนใดบ้างนั้น เป็นเรื่องที่จะนำสืบให้ปรากฏในชั้นพิจารณา หาจำต้องบรรยายรายละเอียดมาในฟ้องทั้งหมดไม่
จำเลยรับประกันภัยค้ำจุนรถยนต์ของโจทก์ คนขับรถของโจทก์ขับชนกับรถอื่นความรับผิดของโจทก์ที่มีต่อเจ้าของรถที่ถูกชนนั้นได้เกิดขึ้นตั้งแต่วันละเมิดสัญญาประกันภัยค้ำจุนดังกล่าวก็คลุมถึงค่าทดแทนแก่บุคคลภายนอกอันเกิดจากการใช้รถที่เอาประกันอยู่แล้ว โจทก์จึงมีสิทธิฟ้องให้จำเลยรับผิดในค่าทดแทนเท่าที่โจทก์ยังไม่ได้ใช้ค่าเสียหายแก่รถอีกคันหนึ่งนั้น
ตามกฎกระทรวงฉบับที่ 7 (พ.ศ.2497) ออกตามความในพระราชบัญญัติการขนส่ง พ.ศ.2497 ผู้ที่จะได้รับใบอนุญาตขับขี่ตามพระราชบัญญัติการขนส่ง พ.ศ. 2497มาตรา 34 อาจเป็นผู้ได้สำเร็จการศึกษาจากโรงเรียนการขนส่งก็ได้ หาจำเป็นจะต้องได้รับใบอนุญาตขับรถยนต์ประเภทสาธารณะตามกฎหมายว่าด้วยรถยนต์มาก่อนแล้วแต่เพียงประการเดียวไม่เมื่อคนขับรถของโจทก์มีใบอนุญาตขับรถของกรมการขนส่ง แม้ใบอนุญาตของกรมตำรวจถูกยึดไปก็ไม่ถือว่าผิดเงื่อนไขในกรมธรรม์ที่ยกเว้นความรับผิดในกรณีที่คนขับรถของโจทก์ไม่มีใบอนุญาตขับรถ
คนขับรถของโจทก์ประมาทฝ่าฝืนกฎจราจรจึงเกิดเหตุขึ้น เป็นข้อที่จำเลยต้องรับผิดตามเงื่อนไขในกรมธรรม์นั้นเอง จึงไม่เป็นเหตุยกเงินความรับผิดเพราะฝ่าฝืนกฎจราจร.
จำเลยรับประกันภัยค้ำจุนรถยนต์ของโจทก์ คนขับรถของโจทก์ขับชนกับรถอื่นความรับผิดของโจทก์ที่มีต่อเจ้าของรถที่ถูกชนนั้นได้เกิดขึ้นตั้งแต่วันละเมิดสัญญาประกันภัยค้ำจุนดังกล่าวก็คลุมถึงค่าทดแทนแก่บุคคลภายนอกอันเกิดจากการใช้รถที่เอาประกันอยู่แล้ว โจทก์จึงมีสิทธิฟ้องให้จำเลยรับผิดในค่าทดแทนเท่าที่โจทก์ยังไม่ได้ใช้ค่าเสียหายแก่รถอีกคันหนึ่งนั้น
ตามกฎกระทรวงฉบับที่ 7 (พ.ศ.2497) ออกตามความในพระราชบัญญัติการขนส่ง พ.ศ.2497 ผู้ที่จะได้รับใบอนุญาตขับขี่ตามพระราชบัญญัติการขนส่ง พ.ศ. 2497มาตรา 34 อาจเป็นผู้ได้สำเร็จการศึกษาจากโรงเรียนการขนส่งก็ได้ หาจำเป็นจะต้องได้รับใบอนุญาตขับรถยนต์ประเภทสาธารณะตามกฎหมายว่าด้วยรถยนต์มาก่อนแล้วแต่เพียงประการเดียวไม่เมื่อคนขับรถของโจทก์มีใบอนุญาตขับรถของกรมการขนส่ง แม้ใบอนุญาตของกรมตำรวจถูกยึดไปก็ไม่ถือว่าผิดเงื่อนไขในกรมธรรม์ที่ยกเว้นความรับผิดในกรณีที่คนขับรถของโจทก์ไม่มีใบอนุญาตขับรถ
คนขับรถของโจทก์ประมาทฝ่าฝืนกฎจราจรจึงเกิดเหตุขึ้น เป็นข้อที่จำเลยต้องรับผิดตามเงื่อนไขในกรมธรรม์นั้นเอง จึงไม่เป็นเหตุยกเงินความรับผิดเพราะฝ่าฝืนกฎจราจร.
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 1270/2506
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
ลูกจ้างขับรถไม่ถือเป็นผู้ประกอบการขนส่งตามกฎหมาย
จำเลยเป็นแต่เพียงลูกจ้างขับรถยนต์ซึ่งรับจ้างบรรทุกคนโดยสารและบรรทุกของเพื่อสินจ้าง ย่อมจะถือว่าจำเลยเป็นผู้ประกอบการขนส่งตามมาตรา 10 แห่งพระราชบัญญัติการขนส่ง พ.ศ.2497 ไม่ได้(ประชุมใหญ่ ครั้งที่12/2506)
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 1270/2506 เวอร์ชัน 2 คำพิพากษาฎีกานี้ มีเนื้อหาจากเว็บทางการหลายรูปแบบ
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
การจำกัดความรับผิดของผู้ขับรถ: ไม่ถือเป็นผู้ประกอบการขนส่งตามกฎหมาย
จำเลยเป็นแต่เพียงลูกจ้างขับรถยนต์ ซึ่งรับจ้างบรรทุกคนโดยสารและบรรทุกของเพื่อสินจ้าง ย่อมจะถือว่าจำเลยเป็นผู้ประกอบการขนส่งตามมาตรา 10 แห่งพระราชบัญญัติการขนส่ง พ.ศ.2497 ไม่ได้
(ประชุมใหญ่ ครั้งที่ 12/2506)
(ประชุมใหญ่ ครั้งที่ 12/2506)